แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านสะลวงนอก


“ โรงเรียนบ้านสะลวงนอก ”

ม.3 ตำบลสะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

หัวหน้าโครงการ
นายกำธร จันทร์สุวรรณ์

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านสะลวงนอก

ที่อยู่ ม.3 ตำบลสะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัด เชียงใหม่

รหัสโครงการ ศรร.1112-005 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.05

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านสะลวงนอก จังหวัดเชียงใหม่" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.3 ตำบลสะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านสะลวงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านสะลวงนอก



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านสะลวงนอก " ดำเนินการในพื้นที่ ม.3 ตำบลสะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ รหัสโครงการ ศรร.1112-005 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านสะลวงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 261 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านสะลวงนอกจึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านสะลวงนอกมีสุขภาพและพัฒนาด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
  2. เพื่อให้โรงเรียนบ้านสะลวงนอกได้บริโภคอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
  3. เพื่อให้นักเรียนได้ทำการเกษตรตามหลักทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านสะลวงนอกมีสุขภาพและพัฒนาด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
    2. โรงเรียนบ้านสะลวงนอกได้นวัตกรรมใหม่ ที่ช่วยลดปัญหาทางโภชนาการและสุขภาพของนักเรียน
    3. พ่อแม่ ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีความตระหนัก ตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน และมีส่วนร่วมในกิจกรรมโครงการเด็กไทยแก้มใส

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. บันทึกสุขภาพนักเรียนรายบุคคล

    วันที่ 29 เมษายน 2544 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. วัดสรรถภาพทางกายนักเรียนทุกคน ภาคเรียนละ 1 ครั้ง
    2. ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง รอบเอว นักเรียนทุกคน
    3. สำรวจความคิดเห็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นัดเรียนทุกคนได้วัดสมรรถภาพทางกาย 100%
    2. นักเรียนทุกคนได้ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง รอบเอว 100%
    3. นักเรียนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินไปในทางที่ดีขึ้น ร้อยละ 80

     

    152 152

    2. ระดมสมาชิก

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 12:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมนักเรียนทุกคนเพื่อชี้แจงรายละเอียดของกิจกรรมสหกรณ์
    2. ระดมสมาชิก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต ได้ระดมสมาชิกและให้ความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์นักเรียนจำนวน 165 คน ผลลัพธ์ 1. สมาชิกได้รับความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์นักเรียน 2. ได้รับสมัครสมาชิกของสหกรณ์นักเรียน

     

    165 165

    3. แปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวัน

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 12:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นักเรียนแปรงฟันหลังทานอาหารกลางวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนแปรงฟันหลังทานอาหารกลางวัน 100%

     

    153 150

    4. รักษาความสะอาดห้องน้ำ

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นักเรียนทุกคนช่วยกันรักษาความสะอาดของห้องน้ำ จำนวน 6 หลัง โดยทางโรงเรียนสนับสนุนทางด้านอุปกรณ์ทำความสะอาด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีห้องน้ำที่สะอาด น่าใช้ 100%

     

    152 152

    5. เตรียมดิน เตรียมสถานที่สำหรับปลูกผัก

    วันที่ 27 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. นักเรียนชั้นอนุบาล ประถมศึกษาปีที่ 1 - 3 ได้เตรียมดินสำหรับปลูกผักในกระถางของตัวเอง
    2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 ได้เตรียมดินสำหรับปลูกผักในกระถางของตัวเองและแปลงผัก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิค 1. นักเรียน และคณะครูเตรียมดินสำหรับการปลูกพืชทั้งบนดินและแบบไร้ดิน ( Hydroponics) ผลลัพธ์ 1. นักเรียนระดับชั้นอนุบาลและประถมศึกษาปีที่ 1-3 ได้ปฏิบัติกิจกรรมการเตรียมดินในกระถางของตนเอง ร้อยละ 95 2. นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 ได้ปฏิบัติกิจกรรมการเตรียมดินในกระถางของตนเอง ร้อยละ 100

      ซึ่งกิจกรรมในการเตรียมดินปลูกพืชแบบบนดินและไร้ดิน ทำให้นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ซึ่งสามารถนำความรู้และทักษะในการทำการเกษตรจากที่บ้านมาใช้ในโรงเรียน

     

    165 166

    6. จัดทำบัตรสมาชิก

    วันที่ 31 พฤษภาคม 2559 เวลา 15:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมนักเรียนทุกคนเพื่อชี้แจงรายละเอียดของกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน
    2. ระดมสมาชิก ทำบัญชีสมาชิก บัญชีการซื้อ การจำหน่ายผลผลิต
    3. ทำบัตรสมาชิกทุกคน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การติดตามประเมินผลของโครงการสหกรณ์นักเรียน     1. ผลที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ปรากฏว่า นักเรียนทุกคนให้ความสนใจในกิจกรรม มีการจำหน่าย สินค้า อย่างมีระบบ มีการลงหมายเลขสมาชิกหลักจากเลือกสินค้าและจ่ายเงิน มีการเข้าแถวตามลำดับก่อนหลังในการซื่้อสินค้า ซึ่งทำให้นักเรียนมีระเบียบวินัยและเข้าใจสิทธิประโยชน์ของตนเอง มีความซื่้อสัตย์สุจริต     2. ผลผลิตจากการเกษตรในโรงเรียนสหกรณ์นักเรียนเป็นผู้รับซื้อแล้่วนำไปขายให้แก่โครงกา่รอาหารกลางวันของโรงเรียน และอาหารนักเรียนพักนอน โดยมีคณะกรรมการสหกรณ์เป็นผู้ดำเนินงาน

     

    165 135

    7. การปลูกพืช ผักและผลไม้

    วันที่ 4 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้ความรู้ ให้คำแนะนำ สนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์ร่วมวางแผน สนับสนุนเมล็ดพันธ์และร่วมกันทำกิจกรรมทำน้ำหมัก ปุ๋ยหมักเพื่อนำไปใช้ในการปลูกพืชผัก ผลไม้และเพื่อลดการใช้สารเคมี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการปลูกพืช ผักปลอดสารพิษ
    2. นักเรียนวางแผนการปลูกผักเพื่อผลผลิตส่งสหกรณ์เพื่อนำไปใช้ทำอาหารกลางวันและได้ผักที่ปลอดสารพิษ
    3. นักเรียนนำองค์ความรู้และวิธีการำปจัดนิทรรศการและเผยแพร่ได้
    4. เป็นแหล่งเรียนรู้ของนักเรียนและชุมชน

     

    65 86

    8. การวัดน้ำหนัก ส่วนสูง รอบเอว

    วันที่ 1 กรกฎาคม 2559 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดเตรียม เครื่องชั่งน้ำหนักที่วัด, ส่วนสูง และสายวัด
    2. จัดให้นักเรียนในแต่ล่ะชั้นไปชั่งน้ำหนัก วัดส่ววนสูง และรอบเอว
    3. เมื่อวัดเรียบร้อยแล้ว ผู้รับผิดชอบนำไปกรอกลงในคอมพิวเตอร์เพื่อประมวลผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1. ใช้เครื่องชั่งน้ำหนักที่วัด, ส่วนสูง และสายวัด 2. นักเรียนในแต่ล่ะชั้นไปชั่งน้ำหนัก วัดส่ววนสูง และรอบเอว 3. ผู้รับผิดชอบนำไปกรอกลงในคอมพิวเตอร์เพื่อประมวลผล

    ผลลัพธ์ 1. มีเครื่องชั่งน้ำหนักที่วัด, ส่วนสูง และสายวัด 2. นักเรียนในแต่ล่ะชั้นไปชั่งน้ำหนัก วัดส่ววนสูง และรอบเอว ร้อยละ 100 3. ผู้รับผิดชอบนำไปกรอกลงในคอมพิวเตอร์เพื่อประมวลผล ร้อยละ 100

     

    152 152

    9. จัดทำบัตรสมาชิก

    วันที่ 12 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำบัตรให้สมาชิกสหกรณ์นักเรียนตามที่ได้สมัครสมาชิก ให้ครบทุกคน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้จำนวนสมาชิกของสหกรณ์นักเรียนตามจำนวนนักเรียน และครู ร้อยละ 100

     

    160 160

    10. การดูแลรักษา

    วันที่ 12 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. นักเรียนได้จัดตารางการดูแล รักษา รดน้ำ ใส่ปุ๋ย กำจัดวัชพืชประจำวัน
    2. หากมีปัญหาเกี่ยวกับพืชที่นักเรียนดูแล ได้นำปัญหานั้นไปปรึกษาคุณครูผู้ดูแล หมอดินอาสา หน่วยงานที่เข้ามาให้ความรู้คือ สถานีพัฒนาที่ดินเชียงใหม่ ศูนย์วิจัยระบบทรัพยากรเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่     และยังนำปัญหาที่เกิดขึ้นกลับไปขอคำปรึกษาจากผู้ปกครองนักเรียนหรือผู้รู้ในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต     1. นักเรียนจัดตารางการดูแล รักษา รดน้ำ ใส่ปุ๋ย กำจัดวัชพืชประจำวัน     2. นักเรียนแก้ปัญหาเกี่ยวกับการปลูกพืช

    ผลลัพธ์     1. นักเรียนได้จัดตารางการดูแล รักษา รดน้ำ ใส่ปุ๋ย กำจัดวัชพืชประจำวันร้อยละ 100     2. นักเรียนได้แนวทางการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการปลูกพืชอินทรีย์ และไฮโดรโปนิกส์ ร้อยละ 95    

     

    62 81

    11. การอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใสและงานเกษตร การดูงาน

    วันที่ 22 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วันที่ 22 กันยายน 2559  มีการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใส ภาวะโรคอ้วน และการบริโภคให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ วันที่ 23 กันยายน 2559  มีการนำแกนนำนักเรียน คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา ตัวแทนผู้ปกครอง ไปศึกษาดูงานที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหนองหอย เกี่ยวกับ การปลูกพืชไร้ดิน หรือ hydroponic และศูนย์การเรียนรู้ฯ
    ภาคเหนือ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต
    1. นักเรียน ตัวแทนผู้ปกครอง ได้รับความรู้เกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใส และการปลูกพืชไร้ดิน 2. ตัวแทนนักเรียนและตัวแทนผู้ปกครอง ได้รับความรู้และได้ทัศนศึกษา แหล่งที่ไปศึกษาดูงาน

    ผลลัพธ์ 1. นักเรียน ตัวแทนผู้ปกครอง ได้รับความรู้เกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใส และการปลูกพืชไร้ดิน ร้อยละ 95 2. ตัวแทนนักเรียนและตัวแทนผู้ปกครอง ได้รับความรู้และได้ทัศนศึกษา แหล่งที่ไปศึกษาดูงาน ร้อยละ 95     การอบรมนักเรียนและตัวแทนผู้ปกครองได้ทราบถึงภาวะโรคอ้วน วิธีการทำอย่างไรไม่ให้ตนเองเผชิญกับภาวะโรคอ้วน วิธีหนึ่งนั้นคือ การบริโภคอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ นอกจากนี้ ความรู้ที่ได้รับประสบการณ์ตรง จากการศึกษาดูงาน ก็ทำให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ วิธีการปลูกพืช อันเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินการปลูกผักทีั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน

     

    53 95

    12. นัดตรวจโครงการฯ ทำรายงานการเงินและรายงานกิจกรรม งวดที่ 1

    วันที่ 17 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. นำหลักฐานการใช้เงินในโครงการฯ ไปให้เจ้าหน้าที่โครงการตรวจ
    2. จัดทำเอกสารการใช้เงินให้ถูกต้องตามที่ได้รับการแนะนำ
    3. ส่งรายงานการใช้เงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทำเอกสารการใช้เงินได้ถูกต้องตามคำแนะนำ

     

    4 4

    13. จัดเตรียมน้ำดื่มที่สะอาด แก้วน้ำดื่ม

    วันที่ 19 ตุลาคม 2559 เวลา 07:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. สำรวจจำนวนนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน
    2. ผู้รับผิดชอบกิจกรรมดำเนินการจัดซื้อแก้วน้ำสำหรับดื่มน้ำของนักเรียนรายบุคคล
    3. จัดนักเรียนเป็นผู้รับผิดชอบการดูแลรักษาและการทำความสะอาดที่กรองน้ำสำหรับน้ำดื่ม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1. จำนวนนักเรียนทั้งหมด  152 คน 2. ดำเนินการจัดซื้อแก้วน้ำสำหรับดื่มน้ำของนักเรียนรายบุคคล 3. นักเรียนเป็นผู้รับผิดชอบการดูแลรักษาและการทำความสะอาดที่กรองน้ำสำหรับน้ำดื่ม

    ผลลัพธ์ 1. จำนวนนักเรียนทั้งหมด  152 คน คิดเป็นร้อยละ 100 2. ได้แก้วน้ำสำหรับดื่มน้ำของนักเรียน จำนวน 152 ใบ คิดเป็นร้อยละ 100 3. นักเรียนรับผิดชอบการดูแลรักษาและกาะรทำความสะอาดที่กรองน้ำสำหรับน้ำดื่ม ร้อยละ 95

     

    152 152

    14. จัดเตรียมเมนูอาหาร

    วันที่ 26 ตุลาคม 2559 เวลา 07:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ครูร่วมและตัวแทนนักเรียนกันพิจารณาเมนูอาหารกลางวันจากโปรแกรม Thai School Lunch, การเกษตรในโรงเรียนและผลผลิตทางการเกษตรในท้องถิ่น ว่าแต่ล่ะช่วงเวลามีผลผลิตอะไรบ้าน เช่น ผักกาด แตงกวา ผักคะน้า
      ถั่วฝักยาว มะเขือ เพื่อกำหนดเมนูอาหารประจำวัน ในระยะเวลา ภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2
    2. กำหนดว่าแต่ละเมนูใช้วัสดุอะไรบ้าง จำนวนเท่าไหร่ ให้เพียงพอต่อจำนวนนักเรียน ครู ที่รับประทานอาหารกลางวัน
    3. ใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำเมนูอาหารประจำ 2 ภาคเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1. ครูและนักเรียนที่เข้าร่วมกันพิจารณาเมนูอาหารกลางวัน จำนวน 10 คน 2. เมนูอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunch จำนวน 2 ภาคเรียน

    ผลลัพธ์ 1. ครูและนักเรียนเข้าร่วมกันพิจารณาเมนูอาหารกลางวัน จำนวน 10 คน 2. ได้รับเมนูอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunch จำนวน 2 ภาคเรียน

     

    152 5

    15. จัดเตรียมโรงอาหาร

    วันที่ 31 ตุลาคม 2559 เวลา 15:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. คณะครูและนักเรียนร่วมกันทำความสะอาดโรงอาหาร
    2. จัดทำป้ายไวนิลเกี่ยวกับอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1. คณะครูและนักเรียนร่วมกันทำความสะอาดโรงอาหาร 2. จัดทำป้ายไวนิลเกี่ยวกับอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ

    ผลลัพธ์ 1. คณะครูและนักเรียนร่วมกันทำความสะอาดโรงอาหาร ร้อยละ 100 2. จัดทำป้ายไวนิลเกี่ยวกับอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ ร้อยละ 100

     

    56 56

    16. บันทึกการติดตามดูแลปริมาณและสัดส่วนของมาตรฐานโภชนาการ

    วันที่ 31 ตุลาคม 2559 เวลา 15:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. สำรวจวัสดุที่นำมาจัดทำอาหารกลางในแต่ละวันตรงตามเมนูที่วางไว้หรือไม่ ซึ่งจาการสำรวจส่วนมากตรงตามเมนู ยกเว้นบางรายการที่หาวัสดุไม่ได้ก๋มีการปรับเปลี่ยน
    2. อาหารที่ทางโรงเรียนจัดทำมีปริมาณที่ถูกต้องตามมาตรฐานโภชนาการ
    3. นักเรียนได้รับอาหารได้มาตรฐานโภชนาการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต     นักเรียนจำนวน 146 คน รับประทานอาหารกลางวันปริมาณและสัดส่วนตามมาตรฐานโภชนาการ

    ผลลัพธ์     นักเรียนจำนวน 146 คน ได้รับประทานอาหารกลางวันปริมาณและสัดส่วนตามมาตรฐานโภชนาการ ร้อยละ 100

     

    152 180

    17. ดูแลนักเรียนเมื่อเจ็บป่วย

    วันที่ 31 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการปฐมพยาบาลและดูแลช่วยเหลือนักเรียนเบื้องต้น เมื่อเจ็บป่วยหรือไดรับบาดเจ็บ หากมีอาการรุนแรง จึงส่งต่อรพสต.ประจำตำบลเพื่อดำเนินการช่วยเหลือต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้รับบริการเมื่อเจ็บป่วย 100%

     

    152 160

    18. จัดป้ายนิเทศและแผ่นพับความรู้

    วันที่ 16 พฤศจิกายน 2559 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วางแผนการจัดกิจกรรม ดำเนินงานตามแผน ประเมินผล รายงานผล กระบวนการระดมงานจัดวางแผนภายใต้หลักการบ฿รณาการกับกิจกรรมอื่นๆที่สถานศึกษาจัดขึ้น กำนดผู้รับผิดชอบคณะทำงานแต่ละกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต
    สามารถประชาสัมพันธ์ นำเสนอกิจกรรมที่ดำเนินงานภายใต้โครงการเด็กไทยแก้มใสให้ผู้เรียน ครูและบุคคลภายนอกได้รับรู้และมองเห็นความสำคัญ มีสถานศึกษาต่างๆมาศึกษาดูงานตลอดปี ผลลัพธ์ ได้ประชาสัมพันธ์ นำเสนอกิจกรรมที่ดำเนินงานภายใต้โครงการเด็กไทยแก้มใสให้ผู้เรียน ครูและบุคคลภายนอกได้รับรู้และมองเห็นความสำคัญ มีสถานศึกษาต่างๆมาศึกษาดูงานตลอดปี

     

    165 165

    19. การวัดสมรรถภาพทางกาย

    วันที่ 24 พฤศจิกายน 2559 เวลา 15:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ชี้แจงวัตถุประสงค์
    2. ดำเนินการทดสอบสมรรถภาพนักเรียนทุกชั้น
    3. สรุปผลและรายงานผล
    4. นำผลการทดสอบสมรรถภาพไปวางแผนปรับปรุงสมรรถภาพของนักเรียนให้มีสมรรถภาพดียิ่งขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนทราบถึงระดับสมรรถภาพของตนเองและสามารถนำผลการทดสอบไปใช้ปรับปรุงสมรรถภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม
    2. นักเรียนสามารถรวมกลุ่มกันออกกำลังกายหรือเล่นกีฬาตามความถนัดและความสนใจเพื่อให้มีสมรรถภาพทางกายที่สมบูรณ์แข็งแรงและมีสุขภาพจิตที่ดี
    3. นักเรียนสามารถนำทักษะไปใช้ในการเล่นกีฬาและเข้าร่วมการแข่งขันในระดับโรงเรียน ในชุมชนและการแข่งขันกีฬาในระดับต่างๆได้อย่างสม่ำเสมอ

     

    152 152

    20. กำจัดขยะ แมลง สัตว์นำโรค

    วันที่ 25 พฤศจิกายน 2559 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนสามารถนำวิธีการคัดแยกขยะไปปฏิบัติในบ้านหรือชุมชนและสามารถสร้างรายได้ให้แก่ครอบครัวได้

     

    165 165

    21. ตรวจสุขภาพกายและฟัน

    วันที่ 25 พฤศจิกายน 2559 เวลา 15:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ชี้แจงรายละเอียดการตรวจสุขภาพ และการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
    2. มีการตรวจสุขภาพ และการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงประจำทุกเดือนโดยมีการปฏิบัติในสัปดาห์แรกของเดือน
    3. มีสนับสนุนและส่งเสริมให้นักเรียนแปรงฟันหลังทานอาหารกลางวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต           1. มีการพัฒนาสุขภาพนักเรียนในด้านความสะอาด และการเจิรญเติบโตทุกคน           2. นักเรียนทุกคนได้รับสนับสนุนและส่งเสริมให้นักเรียนแปรงฟันหลังทานอาหารกลางวัน ผลลัพธ์           1. พัฒนาสุขภาพนักเรียนในด้านความสะอาด และการเจิรญเติบโต           2. นักเรียนแปรงฟันหลังทานอาหารกลางวันทุกวัน

     

    152 160

    22. การสำรวจความคิดเห็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน

    วันที่ 30 พฤศจิกายน 2559 เวลา 15:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. สร้างแบบสำรวจเกี่ยวกับการความคิดเห็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน
    2. ให้นักเรียนทำแบบสำรวจความคิดเห็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน
    3. นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ข้อมูล
    4. จัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต   1. นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน   2. นักเรียนแสดงพฤติกรรมการกินที่ดีขึ้นเหมาะสมกับวัย

    ผลลัพธ์   1. นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน ร้อยละ 100   2. นักเรียนมีพฤติกรรมการกินที่ดีขึ้นเหมาะสมกับวัย ร้อยละ 95

     

    152 146

    23. จัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการจากภูมิปัญญาท้องถิ่น

    วันที่ 12 มกราคม 2560 เวลา 15:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. สำรวจภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชน
    2. วเิคราะห์ความสัมพันธ์ของหลักสูตรกับภูมปัญญาท้องถิ่น
    3. คัดเลือกภูมปัญญาท้องถิ่น
    4. จัดทำกำหนดการสอน
    5. เชิญวิทยากรภูมิปัญญาท้องถิ่นมาให้ความรู้
    6. ประเมินผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต  นักเรียนได้ความรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น ผลลัพธ์  นักเรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันตลอดจนประกอบอาชีพในอนาคตได้

     

    165 175

    24. จัดทำสื่อการเรียนรู้บูรณาการ

    วันที่ 12 มกราคม 2560 เวลา 15:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สื่อการเรียนรู้บูรณาการที่จัดทำนั้น สามารถนำไปประกอบการสอนได้ตามแผนที่กำหนดไว้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ ครูผู้สอนสามารถนำไปใช้ได้หลายกิจกรรม

     

    165 165

    25. ออกกำลังกายสำหรับนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน

    วันที่ 19 มกราคม 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. สำรวจนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน
    2. นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินออกกำลังกายเป็นประจำทุกๆเช้าก่อนเข้าห้องเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินมีน้ำหนักลดลง 

     

    63 63

    26. การเก็บเกี่ยวผลผลิต

    วันที่ 21 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ให้ความรู้กับนักเรียนเรื่องการปลูกผักไฮโดร์โปร์นิกส์
    2. นำนักเรียนไปฝึกปฏิบัติการปลูกผักไฮโดร์โปร์นิกส์ในแปลงที่จัดเตรียมไว้
    3. นำนักเรียนเรียนรุ้และสังเกตการพัฒนาการของผักที่ปลูกตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงการเก็บเกี่ยวผลผลิต

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักไฮโดร์โปร์นิกส์ในเบื้องต้นและสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติด้วยตนเองที่บ้านได้
    2. ทำให้เกิดการทำงานเป็นทีมหรือหมู่คณะได้ช่วยกันทำงานที่ได้รับมอบหมายและเอาใจใส่กิจกรรมตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งสิ้นสุดกิจกรรม
    3. นักเรียนมีความเข้าใจที่นำความรู้ไปต่อยอดกิจกรรมให้กว้างขวางและหลากหลายมากขึ้น

     

    165 43

    27. จัดทำบัญชีรายบุคคลและบัญชีการรับซื้อ จำหน่ายผลผลิตจากกิจกรรมเกษตรในโรงเรียน

    วันที่ 31 มกราคม 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดทำบัญชีรายบุคคล 2.จัดทำบัญชีการรับซื้อ จำหน่ายผลผลิตจากกิจกรรมเกษตรในโรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนทุกคนมีบัญชีรายบุคคล เจ้าหน้าที่สหกรณืมีบัญชีการรับซื้อ จำหน่ายผลผลิตจากกิจกรรมเกษตรในโรงเรียน

     

    165 165

    28. รักษาความสะอาดห้องน้ำ ครั้งที่2

    วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 146 คน รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม นักเรียนทุกคนช่วยกันรักษาความสะอาดของห้องน้ำ จำนวน 6 หลัง โดยทางโรงเรียนสนับสนุนทางด้านอุปกรณ์ทำความสะอาด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนทุกคนช่วยกันรักษาความสะอาดของห้องน้ำ จำนวน 6 หลัง โดยทางโรงเรียนสนับสนุนทางด้านอุปกรณ์ทำความสะอาด

    นักเรียนมีห้องน้ำที่สะอาด น่าใช้ 100%

     

    146 160

    29. ตลาดนัดเพื่อสุขภาพ

    วันที่ 3 มีนาคม 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. วิเคราะห์หลักสูตร
    2. จัดทำหลักสูตรบูรณาการเด็กไทยแก้มใส
    3. จัดการเรียนรู้บูรณาการเด็กไทยแก้มใส
    4. วัดและประเมินผล
    5. รายงานผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต     ผู้บริหาร ครูผู้รับผิดชอบโครงการเข้าร่วมอบรมเพื่อรับหลักการ ประชุมวางแผน ดำเนินงานตามโครงการ วิเคราะห์หลักสูตร จัดทำหลักสูตร

    ผลลัพธ์       แผนบูรณาการเด็กไทยแก้มใส

     

    237 231

    30. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ

    วันที่ 20 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ

     

    3 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านสะลวงนอกมีสุขภาพและพัฒนาด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
    ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนมีน้ำหนักตามเกณฑ์มาตรฐานของ สสส.ร้อยละ 90

     

    2 เพื่อให้โรงเรียนบ้านสะลวงนอกได้บริโภคอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
    ตัวชี้วัด : 2. โรงเรียนมีการใช้เมนูอาหารกลางวันหมุนเวียนตาม Thai School Lunch เด็กได้รับอาหารที่มีคุณค่า

     

    3 เพื่อให้นักเรียนได้ทำการเกษตรตามหลักทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง
    ตัวชี้วัด : 1.สามารถปลูกผักให้อาหารกลางวัน 30 กิโลกรัมต่อเดือน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านสะลวงนอกมีสุขภาพและพัฒนาด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง (2) เพื่อให้โรงเรียนบ้านสะลวงนอกได้บริโภคอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ (3) เพื่อให้นักเรียนได้ทำการเกษตรตามหลักทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านสะลวงนอก

    รหัสโครงการ ศรร.1112-005 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.05 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
    1. กิจกรรมเพาะถั่วงอกระบบน้ำหมุนเวียนอัตโนมัติ
    2. กิจกรรมปลูกผักไฮโดรโปนิกส์โดยปลูกในเรือนโรง ปลูกขนาด 250 ต้น
    1. การเพาะถั่วงอกโดยใช้ระบบสิ่งที่สำคัญที่สุดคือใช้ระบบน้ำหมุนเวียน โดยนำน้ำที่รดไปแล้ว นำกลับมาใช้ใหม่โดยไม่มีผลต่อการเจริญเติบโตของถั่วงอก จึงสามารถตั้งเครื่องไว้ที่ไหนก็ได้โดยไม่ต้องมีที่ระบายน้ำ และไม่ต้องเสียเวลาในการเฝ้ารดน้ำ อีกทั้งยังช่วยประหยัดน้ำอีกด้วย ขั้นตอนการเพาะถั่วงอก

      • คัดเมล็ดถั่วเขียวที่แตกและเสียออก ล้างน้ำให้สะอาด สองครั้ง(เมล็ดเสียจะลอยน้ำ) -นำน้ำร้อน 1 ส่วน น้ำธรรมดา 3 ส่วน ผสมกันแช่เมล็ดถั่วเขียว 8 ชม. เมล็ดถั่วเขียวจะพองขึ้นมาเท่าตัว ล้างน้ำ 1-2ครั้ง
      • นำกระสอบและตะแกรงซ้อนกันจำนวน 5 ชุด ซึ่งประกอบด้วย ตะแกรงขนาด 2 และ5 มิลลิเมตรต่อมาใส่เมล็ดถั่ว 1 ขีด (1 1/3 ถ้วยตวง) บนชั้นตะแกรง แล้วเกลี่ยให้ทั่วและนำชั้นตะแกรงลงตะกร้าแล้วปิดทับ ทำประมาณ4 – 5ชั้น
      • หลังจากนั้นใส่น้ำสะอาดลงในถังเพาะประมาณ 10-12 ลิตร หรือเสมอขอบรูลอดสายยาง แล้วนำตะกร้าใส่ลงในถังเพาะ ประกอบสายยางเข้ากับก้านฝักบัว ยกถังเพาะไปตั้งในสถานที่ ที่ต้องการ (ต้องมีปลั๊กไฟฟ้าและห้ามถูกแสงแดดส่อง)
      • ขั้นตอนสุดท้ายตั้งเวลาเครื่อง (Timer) ให้เครื่องทำการรดน้ำอัตโนมัติทุก 2 ชั่วโมง รดน้ำ15นาที นำสายไฟจากตัวปั๊มเสียบเข้ากับเครื่องควบคุม (Timer) และจะควบคุมจังหวะเวลาในการรดน้ำครั้งแรก จนถึงเวลาเก็บเกี่ยวรวมเวลาเพาะในถังประมาณ 60-64 ชั่วโมง (ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิภายนอก) การเพาะ 1 ถังจะใช้ถั่วครึ่งกิโลกรัม ได้ผลผลิต 2.5-3.5 กิโลกรัม
    2. ปลูกในรางจำนวน10 แถวแถวละ 25 หลุมปลูกและการปลูกผักในเศษวัสดุเหลือใช้(ปลูกในถ้วยพลาสติก) โดยนำถ้วยพลาสติก มารีไซเคิลในการปลูกเป็นถ้วย ๆในเรือนโรง ตามจำนวน
      รายละเอียด/หลักฐาน

      • มีการประชุมคณะครู เพื่อวางแผนการดำเนินงาน
      • จัดงบประมาณเพื่อจัดซื้อวัสดุ
      • เตรียมวัสดุโดย ดำเนินการสร้างเรือนโรงโดยใช้เศษวัสดุที่เหลือจากการก่อสร้าง ประกอบเรือนโรงเพื่อวางท่อ PVC ขนาด 2 นิ้ว
      • ติดตั้งโครงสร้างหลังคาและติดตั้งพลาสติกคลุมหลังคาเพื่อป้องกันฝน
      • ประกอบท่อพีวีซี ข้อต่อ วาวล์ควบคุมน้ำ ปั๊มน้ำท่อน้ำและระบบไฟฟ้า
      • เตรียมวัสดุ เพาะ โดยนักเรียนนำเมล็ด ผักชี ผักสลัด มาเพาะในฟองน้ำ
      • เมื่อเมล็ดผักชี ที่เพาะได้ อายุประมาณ 2 สัปดาห์
      • นักเรียนย้ายกล้าผัก ที่เพาะได้ ใส่ในรางปลูก -ดูแลให้น้ำ ปุ๋ย ไหลหมุนเวียน
      • เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิต อายุประมาณ 45 วัน
      • ชั่งน้ำหนักผลผลิตและจัดส่งสหกรณ์โรงเรียนเพื่อจัดจำหน่ายและนำไปสู่การประกอบอาหาร
    1. ทดลองเพาะเมล็ดถั่วหรือเมล็ดอื่นๆ
    2. คัดเลือกพันธ์ผักที่เหมาะสมกับสภาพอากาศของโรงเรียนเพื่อให้มีปริมาณที่พอเพียงและมีคุณภาพ
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โรงเรียนบ้านสะลวงนอก จังหวัด เชียงใหม่

    รหัสโครงการ ศรร.1112-005

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายกำธร จันทร์สุวรรณ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด