ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนบ้านสะลวงนอก |
สังกัด | ?? |
หน่วยงานต้นสังกัด | ?? |
ที่อยู่โรงเรียน | หมู่ที่ 3 ตำบลสะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ |
จำนวนนักเรียน | 147 คน |
ช่วงชั้น | อนุบาล,ประถม,มัธยมต้น |
ผู้อำนวยการ | นายกำธร จันทร์สุวรรณ์ |
ครูผู้รับผิดชอบ | นางสาวเกศรา ตุ่มคำ |
คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ
คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ
- วิเคราะห์หลักสูตร
- จัดทำหลักสูตรบูรณาการเด็กไทยแก้มใส
- จัดการเรียนรู้บูรณาการเด็กไทยแก้มใส
- วัดและประเมินผล
- รายงานผล
ผลผลิต ผู้บริหาร ครูผู้รับผิดชอบโครงการเข้าร่วมอบรมเพื่อรับหลักการ ประชุมวางแผน ดำเนินงานตามโครงการ วิเคราะห์หลักสูตร จัดทำหลักสูตร
ผลลัพธ์ แผนบูรณาการเด็กไทยแก้มใส
จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 146 คน รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม นักเรียนทุกคนช่วยกันรักษาความสะอาดของห้องน้ำ จำนวน 6 หลัง โดยทางโรงเรียนสนับสนุนทางด้านอุปกรณ์ทำความสะอาด
นักเรียนทุกคนช่วยกันรักษาความสะอาดของห้องน้ำ จำนวน 6 หลัง โดยทางโรงเรียนสนับสนุนทางด้านอุปกรณ์ทำความสะอาด
นักเรียนมีห้องน้ำที่สะอาด น่าใช้ 100%
1.จัดทำบัญชีรายบุคคล 2.จัดทำบัญชีการรับซื้อ จำหน่ายผลผลิตจากกิจกรรมเกษตรในโรงเรียน
นักเรียนทุกคนมีบัญชีรายบุคคล เจ้าหน้าที่สหกรณืมีบัญชีการรับซื้อ จำหน่ายผลผลิตจากกิจกรรมเกษตรในโรงเรียน
- ให้ความรู้กับนักเรียนเรื่องการปลูกผักไฮโดร์โปร์นิกส์
- นำนักเรียนไปฝึกปฏิบัติการปลูกผักไฮโดร์โปร์นิกส์ในแปลงที่จัดเตรียมไว้
- นำนักเรียนเรียนรุ้และสังเกตการพัฒนาการของผักที่ปลูกตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงการเก็บเกี่ยวผลผลิต
- นักเรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักไฮโดร์โปร์นิกส์ในเบื้องต้นและสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติด้วยตนเองที่บ้านได้
- ทำให้เกิดการทำงานเป็นทีมหรือหมู่คณะได้ช่วยกันทำงานที่ได้รับมอบหมายและเอาใจใส่กิจกรรมตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งสิ้นสุดกิจกรรม
- นักเรียนมีความเข้าใจที่นำความรู้ไปต่อยอดกิจกรรมให้กว้างขวางและหลากหลายมากขึ้น
- สำรวจนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน
- นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินออกกำลังกายเป็นประจำทุกๆเช้าก่อนเข้าห้องเรียน
นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินมีน้ำหนักลดลง
สื่อการเรียนรู้บูรณาการที่จัดทำนั้น สามารถนำไปประกอบการสอนได้ตามแผนที่กำหนดไว้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ ครูผู้สอนสามารถนำไปใช้ได้หลายกิจกรรม
นักเรียนสามารถนำวิธีการคัดแยกขยะไปปฏิบัติในบ้านหรือชุมชนและสามารถสร้างรายได้ให้แก่ครอบครัวได้
มีการปฐมพยาบาลและดูแลช่วยเหลือนักเรียนเบื้องต้น เมื่อเจ็บป่วยหรือไดรับบาดเจ็บ หากมีอาการรุนแรง จึงส่งต่อรพสต.ประจำตำบลเพื่อดำเนินการช่วยเหลือต่อไป
นักเรียนได้รับบริการเมื่อเจ็บป่วย 100%
- นำหลักฐานการใช้เงินในโครงการฯ ไปให้เจ้าหน้าที่โครงการตรวจ
- จัดทำเอกสารการใช้เงินให้ถูกต้องตามที่ได้รับการแนะนำ
- ส่งรายงานการใช้เงิน
จัดทำเอกสารการใช้เงินได้ถูกต้องตามคำแนะนำ
- สำรวจภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชน
- วเิคราะห์ความสัมพันธ์ของหลักสูตรกับภูมปัญญาท้องถิ่น
- คัดเลือกภูมปัญญาท้องถิ่น
- จัดทำกำหนดการสอน
- เชิญวิทยากรภูมิปัญญาท้องถิ่นมาให้ความรู้
- ประเมินผล
ผลผลิต นักเรียนได้ความรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น ผลลัพธ์ นักเรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันตลอดจนประกอบอาชีพในอนาคตได้
- สร้างแบบสำรวจเกี่ยวกับการความคิดเห็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน
- ให้นักเรียนทำแบบสำรวจความคิดเห็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน
- นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ข้อมูล
- จัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน
ผลผลิต 1. นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน 2. นักเรียนแสดงพฤติกรรมการกินที่ดีขึ้นเหมาะสมกับวัย
ผลลัพธ์ 1. นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน ร้อยละ 100 2. นักเรียนมีพฤติกรรมการกินที่ดีขึ้นเหมาะสมกับวัย ร้อยละ 95
- ชี้แจงรายละเอียดการตรวจสุขภาพ และการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
- มีการตรวจสุขภาพ และการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงประจำทุกเดือนโดยมีการปฏิบัติในสัปดาห์แรกของเดือน
- มีสนับสนุนและส่งเสริมให้นักเรียนแปรงฟันหลังทานอาหารกลางวัน
ผลผลิต 1. มีการพัฒนาสุขภาพนักเรียนในด้านความสะอาด และการเจิรญเติบโตทุกคน 2. นักเรียนทุกคนได้รับสนับสนุนและส่งเสริมให้นักเรียนแปรงฟันหลังทานอาหารกลางวัน ผลลัพธ์ 1. พัฒนาสุขภาพนักเรียนในด้านความสะอาด และการเจิรญเติบโต 2. นักเรียนแปรงฟันหลังทานอาหารกลางวันทุกวัน
- ชี้แจงวัตถุประสงค์
- ดำเนินการทดสอบสมรรถภาพนักเรียนทุกชั้น
- สรุปผลและรายงานผล
- นำผลการทดสอบสมรรถภาพไปวางแผนปรับปรุงสมรรถภาพของนักเรียนให้มีสมรรถภาพดียิ่งขึ้น
- นักเรียนทราบถึงระดับสมรรถภาพของตนเองและสามารถนำผลการทดสอบไปใช้ปรับปรุงสมรรถภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม
- นักเรียนสามารถรวมกลุ่มกันออกกำลังกายหรือเล่นกีฬาตามความถนัดและความสนใจเพื่อให้มีสมรรถภาพทางกายที่สมบูรณ์แข็งแรงและมีสุขภาพจิตที่ดี
- นักเรียนสามารถนำทักษะไปใช้ในการเล่นกีฬาและเข้าร่วมการแข่งขันในระดับโรงเรียน ในชุมชนและการแข่งขันกีฬาในระดับต่างๆได้อย่างสม่ำเสมอ
จัดทำบัตรให้สมาชิกสหกรณ์นักเรียนตามที่ได้สมัครสมาชิก ให้ครบทุกคน
ได้จำนวนสมาชิกของสหกรณ์นักเรียนตามจำนวนนักเรียน และครู ร้อยละ 100
นักเรียนทุกคนช่วยกันรักษาความสะอาดของห้องน้ำ จำนวน 6 หลัง โดยทางโรงเรียนสนับสนุนทางด้านอุปกรณ์ทำความสะอาด
นักเรียนมีห้องน้ำที่สะอาด น่าใช้ 100%
นักเรียนแปรงฟันหลังทานอาหารกลางวัน
นักเรียนแปรงฟันหลังทานอาหารกลางวัน 100%
- ประชุมนักเรียนทุกคนเพื่อชี้แจงรายละเอียดของกิจกรรมสหกรณ์
- ระดมสมาชิก
ผลผลิต ได้ระดมสมาชิกและให้ความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์นักเรียนจำนวน 165 คน ผลลัพธ์ 1. สมาชิกได้รับความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์นักเรียน 2. ได้รับสมัครสมาชิกของสหกรณ์นักเรียน
วางแผนการจัดกิจกรรม ดำเนินงานตามแผน ประเมินผล รายงานผล กระบวนการระดมงานจัดวางแผนภายใต้หลักการบ฿รณาการกับกิจกรรมอื่นๆที่สถานศึกษาจัดขึ้น กำนดผู้รับผิดชอบคณะทำงานแต่ละกิจกรรม
ผลผลิต
สามารถประชาสัมพันธ์ นำเสนอกิจกรรมที่ดำเนินงานภายใต้โครงการเด็กไทยแก้มใสให้ผู้เรียน ครูและบุคคลภายนอกได้รับรู้และมองเห็นความสำคัญ มีสถานศึกษาต่างๆมาศึกษาดูงานตลอดปี
ผลลัพธ์
ได้ประชาสัมพันธ์ นำเสนอกิจกรรมที่ดำเนินงานภายใต้โครงการเด็กไทยแก้มใสให้ผู้เรียน ครูและบุคคลภายนอกได้รับรู้และมองเห็นความสำคัญ มีสถานศึกษาต่างๆมาศึกษาดูงานตลอดปี
- สำรวจวัสดุที่นำมาจัดทำอาหารกลางในแต่ละวันตรงตามเมนูที่วางไว้หรือไม่ ซึ่งจาการสำรวจส่วนมากตรงตามเมนู ยกเว้นบางรายการที่หาวัสดุไม่ได้ก๋มีการปรับเปลี่ยน
- อาหารที่ทางโรงเรียนจัดทำมีปริมาณที่ถูกต้องตามมาตรฐานโภชนาการ
- นักเรียนได้รับอาหารได้มาตรฐานโภชนาการ
ผลผลิต นักเรียนจำนวน 146 คน รับประทานอาหารกลางวันปริมาณและสัดส่วนตามมาตรฐานโภชนาการ
ผลลัพธ์ นักเรียนจำนวน 146 คน ได้รับประทานอาหารกลางวันปริมาณและสัดส่วนตามมาตรฐานโภชนาการ ร้อยละ 100
- คณะครูและนักเรียนร่วมกันทำความสะอาดโรงอาหาร
- จัดทำป้ายไวนิลเกี่ยวกับอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ
ผลผลิต 1. คณะครูและนักเรียนร่วมกันทำความสะอาดโรงอาหาร 2. จัดทำป้ายไวนิลเกี่ยวกับอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ
ผลลัพธ์ 1. คณะครูและนักเรียนร่วมกันทำความสะอาดโรงอาหาร ร้อยละ 100 2. จัดทำป้ายไวนิลเกี่ยวกับอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ ร้อยละ 100
- ครูร่วมและตัวแทนนักเรียนกันพิจารณาเมนูอาหารกลางวันจากโปรแกรม Thai School Lunch, การเกษตรในโรงเรียนและผลผลิตทางการเกษตรในท้องถิ่น ว่าแต่ล่ะช่วงเวลามีผลผลิตอะไรบ้าน เช่น ผักกาด แตงกวา ผักคะน้า
ถั่วฝักยาว มะเขือ เพื่อกำหนดเมนูอาหารประจำวัน ในระยะเวลา ภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 - กำหนดว่าแต่ละเมนูใช้วัสดุอะไรบ้าง จำนวนเท่าไหร่ ให้เพียงพอต่อจำนวนนักเรียน ครู ที่รับประทานอาหารกลางวัน
- ใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำเมนูอาหารประจำ 2 ภาคเรียน
ผลผลิต 1. ครูและนักเรียนที่เข้าร่วมกันพิจารณาเมนูอาหารกลางวัน จำนวน 10 คน 2. เมนูอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunch จำนวน 2 ภาคเรียน
ผลลัพธ์ 1. ครูและนักเรียนเข้าร่วมกันพิจารณาเมนูอาหารกลางวัน จำนวน 10 คน 2. ได้รับเมนูอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunch จำนวน 2 ภาคเรียน
- สำรวจจำนวนนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียน
- ผู้รับผิดชอบกิจกรรมดำเนินการจัดซื้อแก้วน้ำสำหรับดื่มน้ำของนักเรียนรายบุคคล
- จัดนักเรียนเป็นผู้รับผิดชอบการดูแลรักษาและการทำความสะอาดที่กรองน้ำสำหรับน้ำดื่ม
ผลผลิต 1. จำนวนนักเรียนทั้งหมด 152 คน 2. ดำเนินการจัดซื้อแก้วน้ำสำหรับดื่มน้ำของนักเรียนรายบุคคล 3. นักเรียนเป็นผู้รับผิดชอบการดูแลรักษาและการทำความสะอาดที่กรองน้ำสำหรับน้ำดื่ม
ผลลัพธ์ 1. จำนวนนักเรียนทั้งหมด 152 คน คิดเป็นร้อยละ 100 2. ได้แก้วน้ำสำหรับดื่มน้ำของนักเรียน จำนวน 152 ใบ คิดเป็นร้อยละ 100 3. นักเรียนรับผิดชอบการดูแลรักษาและกาะรทำความสะอาดที่กรองน้ำสำหรับน้ำดื่ม ร้อยละ 95
วันที่ 22 กันยายน 2559 มีการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใส ภาวะโรคอ้วน และการบริโภคให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ
วันที่ 23 กันยายน 2559 มีการนำแกนนำนักเรียน คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา ตัวแทนผู้ปกครอง ไปศึกษาดูงานที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหนองหอย เกี่ยวกับ การปลูกพืชไร้ดิน หรือ hydroponic และศูนย์การเรียนรู้ฯ
ภาคเหนือ
ผลผลิต
1. นักเรียน ตัวแทนผู้ปกครอง ได้รับความรู้เกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใส และการปลูกพืชไร้ดิน
2. ตัวแทนนักเรียนและตัวแทนผู้ปกครอง ได้รับความรู้และได้ทัศนศึกษา แหล่งที่ไปศึกษาดูงาน
ผลลัพธ์ 1. นักเรียน ตัวแทนผู้ปกครอง ได้รับความรู้เกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใส และการปลูกพืชไร้ดิน ร้อยละ 95 2. ตัวแทนนักเรียนและตัวแทนผู้ปกครอง ได้รับความรู้และได้ทัศนศึกษา แหล่งที่ไปศึกษาดูงาน ร้อยละ 95 การอบรมนักเรียนและตัวแทนผู้ปกครองได้ทราบถึงภาวะโรคอ้วน วิธีการทำอย่างไรไม่ให้ตนเองเผชิญกับภาวะโรคอ้วน วิธีหนึ่งนั้นคือ การบริโภคอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ นอกจากนี้ ความรู้ที่ได้รับประสบการณ์ตรง จากการศึกษาดูงาน ก็ทำให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ วิธีการปลูกพืช อันเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินการปลูกผักทีั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน
- นักเรียนได้จัดตารางการดูแล รักษา รดน้ำ ใส่ปุ๋ย กำจัดวัชพืชประจำวัน
- หากมีปัญหาเกี่ยวกับพืชที่นักเรียนดูแล ได้นำปัญหานั้นไปปรึกษาคุณครูผู้ดูแล หมอดินอาสา หน่วยงานที่เข้ามาให้ความรู้คือ สถานีพัฒนาที่ดินเชียงใหม่ ศูนย์วิจัยระบบทรัพยากรเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และยังนำปัญหาที่เกิดขึ้นกลับไปขอคำปรึกษาจากผู้ปกครองนักเรียนหรือผู้รู้ในชุมชน
ผลผลิต 1. นักเรียนจัดตารางการดูแล รักษา รดน้ำ ใส่ปุ๋ย กำจัดวัชพืชประจำวัน 2. นักเรียนแก้ปัญหาเกี่ยวกับการปลูกพืช
ผลลัพธ์ 1. นักเรียนได้จัดตารางการดูแล รักษา รดน้ำ ใส่ปุ๋ย กำจัดวัชพืชประจำวันร้อยละ 100 2. นักเรียนได้แนวทางการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการปลูกพืชอินทรีย์ และไฮโดรโปนิกส์ ร้อยละ 95
- จัดเตรียม เครื่องชั่งน้ำหนักที่วัด, ส่วนสูง และสายวัด
- จัดให้นักเรียนในแต่ล่ะชั้นไปชั่งน้ำหนัก วัดส่ววนสูง และรอบเอว
- เมื่อวัดเรียบร้อยแล้ว ผู้รับผิดชอบนำไปกรอกลงในคอมพิวเตอร์เพื่อประมวลผล
ผลผลิต 1. ใช้เครื่องชั่งน้ำหนักที่วัด, ส่วนสูง และสายวัด 2. นักเรียนในแต่ล่ะชั้นไปชั่งน้ำหนัก วัดส่ววนสูง และรอบเอว 3. ผู้รับผิดชอบนำไปกรอกลงในคอมพิวเตอร์เพื่อประมวลผล
ผลลัพธ์ 1. มีเครื่องชั่งน้ำหนักที่วัด, ส่วนสูง และสายวัด 2. นักเรียนในแต่ล่ะชั้นไปชั่งน้ำหนัก วัดส่ววนสูง และรอบเอว ร้อยละ 100 3. ผู้รับผิดชอบนำไปกรอกลงในคอมพิวเตอร์เพื่อประมวลผล ร้อยละ 100
ให้ความรู้ ให้คำแนะนำ สนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์ร่วมวางแผน สนับสนุนเมล็ดพันธ์และร่วมกันทำกิจกรรมทำน้ำหมัก ปุ๋ยหมักเพื่อนำไปใช้ในการปลูกพืชผัก ผลไม้และเพื่อลดการใช้สารเคมี
- นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการปลูกพืช ผักปลอดสารพิษ
- นักเรียนวางแผนการปลูกผักเพื่อผลผลิตส่งสหกรณ์เพื่อนำไปใช้ทำอาหารกลางวันและได้ผักที่ปลอดสารพิษ
- นักเรียนนำองค์ความรู้และวิธีการำปจัดนิทรรศการและเผยแพร่ได้
- เป็นแหล่งเรียนรู้ของนักเรียนและชุมชน
- ประชุมนักเรียนทุกคนเพื่อชี้แจงรายละเอียดของกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน
- ระดมสมาชิก ทำบัญชีสมาชิก บัญชีการซื้อ การจำหน่ายผลผลิต
- ทำบัตรสมาชิกทุกคน
การติดตามประเมินผลของโครงการสหกรณ์นักเรียน 1. ผลที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ปรากฏว่า นักเรียนทุกคนให้ความสนใจในกิจกรรม มีการจำหน่าย สินค้า อย่างมีระบบ มีการลงหมายเลขสมาชิกหลักจากเลือกสินค้าและจ่ายเงิน มีการเข้าแถวตามลำดับก่อนหลังในการซื่้อสินค้า ซึ่งทำให้นักเรียนมีระเบียบวินัยและเข้าใจสิทธิประโยชน์ของตนเอง มีความซื่้อสัตย์สุจริต 2. ผลผลิตจากการเกษตรในโรงเรียนสหกรณ์นักเรียนเป็นผู้รับซื้อแล้่วนำไปขายให้แก่โครงกา่รอาหารกลางวันของโรงเรียน และอาหารนักเรียนพักนอน โดยมีคณะกรรมการสหกรณ์เป็นผู้ดำเนินงาน
- นักเรียนชั้นอนุบาล ประถมศึกษาปีที่ 1 - 3 ได้เตรียมดินสำหรับปลูกผักในกระถางของตัวเอง
- นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 ได้เตรียมดินสำหรับปลูกผักในกระถางของตัวเองและแปลงผัก
ผลผลิค
1. นักเรียน และคณะครูเตรียมดินสำหรับการปลูกพืชทั้งบนดินและแบบไร้ดิน ( Hydroponics)
ผลลัพธ์
1. นักเรียนระดับชั้นอนุบาลและประถมศึกษาปีที่ 1-3 ได้ปฏิบัติกิจกรรมการเตรียมดินในกระถางของตนเอง ร้อยละ 95
2. นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 ได้ปฏิบัติกิจกรรมการเตรียมดินในกระถางของตนเอง ร้อยละ 100
ซึ่งกิจกรรมในการเตรียมดินปลูกพืชแบบบนดินและไร้ดิน ทำให้นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ซึ่งสามารถนำความรู้และทักษะในการทำการเกษตรจากที่บ้านมาใช้ในโรงเรียน
- วัดสรรถภาพทางกายนักเรียนทุกคน ภาคเรียนละ 1 ครั้ง
- ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง รอบเอว นักเรียนทุกคน
- สำรวจความคิดเห็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน
- นัดเรียนทุกคนได้วัดสมรรถภาพทางกาย 100%
- นักเรียนทุกคนได้ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง รอบเอว 100%
- นักเรียนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินไปในทางที่ดีขึ้น ร้อยละ 80