แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)
เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator) | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต (Output) | ผลลัพธ์ (Outcome) | ผลกระทบ (Impact) | อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ | |
---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัยมีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้นรวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง ตัวชี้วัด : 1. มีรายการอาหารหมุนเวียน 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ(ใช้ Thai School Lunch Program) 2. ประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ 3. นักเรียนได้รับประทานอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของมาตรฐานในโภชนาการทุกมื้อ 4. มีรายงานเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของนักเรียนทุกคนเทอมละ 2 ครั้ง 5. มีการบันทึกสุขภาพนักเรียนรายบุคคลและประเมินพฤติกรรมสุขบัญติแห่งชาติ 6. มีการฝึกปฏิบัติใช้ช้อนกลาง ล้างมือในช่วงเวลาการรัปประทานอาหาร 7. โรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและมาตรฐานคุณภาพน้ำบริโภคในโรงเรียน |
||||||
2 | เพื่อค้นหารูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการและสุภาพที่ดีของเด็กนักเรียนและนำองค์ความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : 1. มีการนำผลผลิตทางการเกษตร ปศุสัตว์หรึประมงไปใช้ในกิจกรรมอาหารกลางวัน 2. มีกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนที่มีนักเรียนเป็นสมาชิกและดำเนินการโดยนักเรียนและรับซื้อผลผลิตจากกิจกรรมเกษตรในโรงเรียนเพื่อขายให้กิจกรรมอาหารกลางวันผ่านกิจกรรมสหกรณ์ 3. มีแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการและกิจกรรมที่สอดคล้องกับโครงการเด็กไทยแก้มใส 4. มีกิจกรรมการเรียนรู้ด้านการเกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพที่บูรณาการจากภูมิปัญญาท้องถิ่น 5. มีสื่อและนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ด้านการเกษตร สหกรณ์อาหารโภชนาการและสุขภาพอนามัย |
||||||
3 | เพื่อให้ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียนจัดสิ่งแวดล้อมอาหารที่ดีต่อสุขภาพสร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน ตัวชี้วัด : 1. ร้านค้าในชุมชนจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มที่มีผลดีต่อสุขภาพ 2. นักเรียนได้ตรวจสุขภาพทุกคนเทอมละ 1 ครั้งและให้การช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างเหมาะสม 3. มีระบบการช่วยเหลือการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสมเพื่อป้องกันอันตรายร้ายแรงจนถึงเสียชีวิต |
||||||
4 | เพื่อสร้างความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการและสุขภาพของนักเรียนในชุมชน ตัวชี้วัด : 1. มีผลผลิตทางการเกษตรและเลี้ยงสัตว์หรึอประมงโดยการมีส่วนร่วมของนักเรียน ชุมชนและเครือข่ายในพื้นที่ 2. นักเรียนเติบโตสมวัยโดยมี ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกิน 7 % ภาวะค่อนข้างผอมและผอม ไม่เกิน 7 % ภาวะเตี้ยค่อนข้างเตี้ย ไม่เกิน 7 % นักเรียนได้กินผัก-ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้นในมื้อกลางวันเฉลี่ย ผักวันละประมาณ 40-100 กรัมอนุบาล 3 ช้อน (50 กรัม) ประถม 4 ช้อน(70 กรัม) ผลไม้อนุบาล 1/2 ส่วนประถม 1 ส่วนต่อมื้อต่อคน |