แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)
เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator) | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต (Output) | ผลลัพธ์ (Outcome) | ผลกระทบ (Impact) | อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ | |
---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | . เพื่อนักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนเจริญเติบโตมี - ภาวะเริ่มอ้วนไม่เกิน 10 % หรือลดลงจากสถานะการณ์เดิม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 2 - ภาวะผอมไม่เกิน7 % หรือลดลงจากสถานะการณ์เดิม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 2 - ภาวะเตี้ยไม่เกิน 7 %หรือลดลงจากสถานะการณ์เดิม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 2 2 นักเรียนได้กินผัก-ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้นในมื้อกลางวัน เฉลี่ย - ผักวันละประมาณ 40-100 กรัม (อนุบาล 3 ช้อน (50 กรัม)) ประถม 4 ช้อน (70 กรัม) และมัธยม 5 ช้อน (90 กรัม)) - ผลไม้(อนุบาล ½ ส่วน ประถม 1 ส่วน) ต่อมื้อต่อคน |
||||||
2 | เพื่อค้นหารูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพทุกคนเทอมละ 1 ครั้ง และให้การดูแลช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างเหมาะสม 2. มีระบบการช่วยเหลือการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสมเพื่อป้องกันอันตรายร้ายแรงจนถึงเสียชีวิต 3. มีรายงานเฝ้าระวังการเจริญเติบโตและสมถรรถภาพทางกายของนักเรียนทุกคน เทอมละ 2 ครั้ง |
||||||
3 | เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในคนในชุมชนในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียนจากสิ่งแวดล้อมอาหารที่ดีต่อสุขภาพสร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน ตัวชี้วัด : 1. มีการบันทึกสุขภาพนักเรียนรายบุคคลและแบบประเมินพฤติกรรมสุขบัญญัติแห่งชาติ 2. การฝึกปฏิบัติใช้ช้อนกลาง ล้างมือ ในช่วงเวลาการรับประทานอาหาร |
||||||
4 | เพื่อสร้างสังคมให้มีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารและโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียน ตัวชี้วัด : 1. มีรายการอาหารหมุนเวียนราย 1 เดือน ตามมาตรฐานโภชนาการ (ใช้ Thai School Lunch Program) 2. ปรุง ประกอบอาหารถุฏหลักโภชนาการ สุขาภิบาลและอาหารปลอดภัย 3. นักเรียนได้รับประทานอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของมาตรฐานโภชนาการในทุกมื้อ 4. ร้านจำหน่ายอาหารว่างและเครื่องดื่มได้มาตรฐานโภชนาการ |