directions_run

โรงเรียนบ้านหว้าเหล่าโพนทองประชานุกุล - โครงการพัฒนาระบบการจัดการด้านอาหารและโภชนาการในสถานศึกษาเข้าสู่มาตรฐาน

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านหว้าเหล่าโพนทองประชานุกุล - โครงการพัฒนาระบบการจัดการด้านอาหารและโภชนาการในสถานศึกษาเข้าสู่มาตรฐาน
ภายใต้โครงการ โครงการพัฒนากลไกชุมชนและท้องถิ่นขับเคลื่อนระบบอาหารและโภชนาการเพื่อคุณภาพเด็กวัยเรียน ปีการศึกษา 2567
ภายใต้องค์กร โรงเรียนบ้านหว้าเหล่าโพนทองประชานุกุล
รหัสโครงการ
วันที่อนุมัติ 20 สิงหาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2567 - 15 ธันวาคม 2567
งบประมาณ 10,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านหว้าเหล่าโพนทองประชานุกุล
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายบุญหลาย หวานเพราะ
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0933283628
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ boonlai_2513@hotmail.com
พี่เลี้ยงโครงการ นางบังอร กล่ำสุวรรณ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านหว้า อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ข้อมูลโรงเรียน
school
ข้อมูลโรงเรียน
ชื่อโรงเรียน โรงเรียนบ้านหว้าเหล่าโพนทองประชานุกุล
สังกัด สพป.
หน่วยงานต้นสังกัด สพป.ขอนแก่น เขต ๑
ที่อยู่โรงเรียน ตำบลบ้านหว้า อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น 40000
จำนวนนักเรียน 217 คน
ช่วงชั้น ปฐมวัย,อนุบาล,ประถม,มัธยมต้น
ผู้อำนวยการ นายบุญหลาย หวานเพราะ
ครูผู้รับผิดชอบ นายเกรียงไกร ปั้นจอม
stars
3. กิจกรรม
assignment
กิจกรรม
เด็กบ้านหว้า เลี้ยงปลา ปลูกผัก ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง29 ธันวาคม 2567
29
ธันวาคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย นายเกรียงไกร ปั้นจอม
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมเด็กบ้านหว้าเลี้ยงปลา ปลูกผักตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงโดยใช้แผนบูรณาการหลักสูตรวิชาการ วิชาการงานอาชีพ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสุขศึกษาและวิชาพลศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 ให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 129 คน นักเรียนมีความรู้ด้านโภชนาการได้ร้อยละ80 เกี่ยวกับการทำแปลงปลูกผัก  การปลูกผักสลัด ผักบุ้ง ตะไคร้ การเพาะเห็ดปลอดสารพิษและการเลี้ยงปลาดุก ปลาหมอ  นำผลผลิตที่ได้มาจัดทำเมนูอาหารกลางวันตามเมนูที่จัดทำด้วยโปรแกรม Thai school lunch เหลือจากการทำอาหารกลางวันได้นำไปขายให้กับชุมชน
การบรรลุตัวชี้วัดที่กำหนดในโครงการ หัวข้อรายงาน/ตัวชี้วัดในโครงการ แผนการดำเนินงาน         ผลการดำเนินงาน • กำหนดการดำเนินงาน          ก.ค. 67 – ธ.ค. 67         ก.ค. 67 – ธ.ค. 67 • คุณสมบัติ/กลุ่มเป้าหมายคือใคร นักเรียนชั้นป.4ถึงม.3  นักเรียนชั้นป.4ถึงม.3
• จำนวนกลุ่มเป้าหมาย              100                                 100 • ระดับความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ 100                                 100 • การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์         80                                  80 • ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นของผู้ร่วมโครงการ 100                         100 • ตัวชี้วัดเฉพาะของโครงการ (ระบุ) 1) ครูมีความรู้ในการจัดการเรียนการสอนด้านโภชนาการและอาหารปลอดภัย (อย่างน้อยมีกิจกรรม 4 กลุ่มสาระวิชา) 2) เด็กนักเรียน ชั้น ป. 4-6 และ ม.1-3 ในโรงเรียน มีความรอบรู้การบริโภคอาหารและโภชนาการที่สมดุล ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3) โรงเรียนมีและใช้เมนูอาหารกลางวัน ใช้ TSL ประยุกต์กับวัฒนธรรมอาหารพื้นถิ่นและมีการใช้พืชผักชุมชนตามฤดูกาลได้ 4) ครูที่รับผิดชอบด้านอนามัยนักเรียน สามารถคัดกรองภาวะทุพโภชนาการนักเรียนได้ถูกต้องและนำข้อมูลเข้าที่ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อร่วมแก้ปัญหา 5) เด็กนักเรียน อายุ 6-14 ปี มีภาวะทุพโภชนาการลดลง จากปีที่ผ่านมา (ภาวะเริ่มอ้วน+อ้วน และภาวะผอม เปรียบเทียบ ปี 2565-2567) 6) โรงเรียนจัดบริการอาหารตามมาตรฐานด้านความปลอดภัยอาหาร สุขาภิบาล และสิ่งแวดล้อม ผ่านมาตรฐานที่ 2 ในระดับดี-ดีมาก 7.จัดสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ -อย่างน้อย 1 กิจกรรม  Best Practice เด็กบ้านหว้า เลี้ยงปลา ปลูกผัก ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

• งบประมาณในการดำเนินงาน     10,000 บาท 10,000    บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

• นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ถึงชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียน มีความรอบรู้ด้านอาหารและโภชนาการ • นักเรียนตรวจสุขภาพด้วยตัวเองได้ถูกต้อง • นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวัน • ชุมชนมีส่วนร่วมในความรับผิดชอบโครงการกับทางโรงเรียน

stars
4. ข้อมูลภาวะโภชนาการ
restaurant_menu
รายการบันทึก
ปีการศึกษา 2567 เทอม 2/1โดย ชมนภัส @5 พ.ย. 2567
stars
5. ไฟล์โครงการ
stars
6. ไฟล์รายงาน

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ส.ค. 2567 12:08 น.