ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านทุ่งยาว


“ โรงเรียนบ้านทุ่งยาว ”

ตำบลทับใต้ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

หัวหน้าโครงการ
นางอมรรัตน์ เถื่อนทอง

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านทุ่งยาว

ที่อยู่ ตำบลทับใต้ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์

รหัสโครงการ ศรร.1212-036 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ก.5

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2016 ถึง 30 เมษายน 2017


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านทุ่งยาว จังหวัดประจวบคีรีขันธ์" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับใต้ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านทุ่งยาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านทุ่งยาว



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านทุ่งยาว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับใต้ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ รหัสโครงการ ศรร.1212-036 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านทุ่งยาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 169 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อแก้ปัญหานักเรียนทุพโภชนาการ และนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน
  2. 2.เพื่อให้โรงเรียนมีผลผลิตทางการเกษตรสนับสนุนโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70อย่างยั่งยืน
  3. 3. เพื่อน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาใช้เป้นหลักในการดำเนินชีวิต

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์มาตรฐานที่กรมอนามัยกำหนด
    2. นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีจิตใจร่าเริงแจ่มใสสมวัย
    3. นักเรียนมีีเจคติที่ดีในการรักษาสุขภาพของตนเองและนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
    4. นักเรียนรักการทำงาน มีอาชีพสุจริต ซื่อสัตย์ และรักสิ่งแวดล้อม
    5. นักเรียนมุ่งมั่น เสียสละ สามัคคี ทำงานด้วยความกระตือรือร้น และจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริยื

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมการใช้โปรแกรม

    วันที่ 27 มีนาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าร่วมอบรมการลงระบบได้จริง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    2 46

    2. ปลูกผักสวนครัว ระยะที่ 1

    วันที่ 1 สิงหาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมวางแผนงาน   -  ประชุมครูที่เกี่ยวข้อง   -  แบ่งกลุ่มนักเรียนรรับผิดชอบงานแต่ละประเภท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีความรับผิดชอบในหน้าที่ของตนเองที่ได้รับหมอบหมาย

     

    86 0

    3. ปลูกผักสวนครัว ระยะที่ 2

    วันที่ 1 กันยายน 2016 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -  ขุดร่องทำแปลงผัก -  ลงมือปลูกผักที่เตรียมไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้ร่วมทำกิจกรรมเป็นกลุ่มโดยสร้างความสามัคคีการมีน้ำใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ซึ่งกันและกัน นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการปลูกผัก นักเรียนมีความรับผิดชอบในหน้าที่ตัวเองที่ได้รับหมอบหมาย

     

    100 0

    4. การเลี้ยงไก่ไข่ ระยะที่ 1

    วันที่ 12 กันยายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมชี้แจงกิจกรรม แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ จัดเตรียมสถานที่ เล้าไก่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนเรียนรู้การทำงานร่วมกับผู้อื่น นักเรียนรู้จักความสามัครคีการมีน้ำใจ ช่วยเหลือแบ่งปัน นักเรียนมีความรับผิดชอบในหน้าที่ของตนเอง และรู้จักช่วยเหลือเพื่อน

     

    100 0

    5. การเลี้ยงเป็ด ระยะที่ 1

    วันที่ 15 กันยายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมแบ่งงาน 2.แบ่งกลุ่มงานให้นักเรียนรับผิดชอบ 3.แบ่งงานให้คุณครูรับผิดชอบกลุ่มนักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้ทำงานร่วมกับผู้อื่น
    2. นักเรียนมีความรับผิดชอบในหน้าที่ของตนเองที่ได้รับมอบหมาย
    3. นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการเลี้ยงเป็ด

     

    100 0

    6. การเลี้ยงไก่ไข่ ระยะที่ 2

    วันที่ 1 ตุลาคม 2016 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.สร้างเล้าไก่และซ่อมแซมเล้าไก่เดิม 2.ซื้อไก่ไข่ จำนวน 100 ตัว แบ่งเป็นเล้าละ 50 ตัว และอาหารไก่ 3.ให้คำแนะนำนักเรียนวิธีการให้อาหารไก่ 4.นักเรียนจะให้อาหารโดยมีเวรในการรรับผิดชอบการให้อาหารและเก็บไข่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ได้จำนวนไก่ จำนวน 100 ตัว 2. นักเรียนมีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ตัวเองได้รับมอบหมาย 3. นักเรียนเกิดความตื่นเต้นและความภาคภูมิใจในหน้าที่ของตัวเอง

     

    98 0

    7. การเลี้ยงเป็ด ระยะที่ 2

    วันที่ 3 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สร้างเล้าเป็ดเพื่อเตรียมเอาเป็ดมาลงโดยมีกรรมการสถานศึกษามาช่วยในการทำเล้าเป็ด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เล้าเป็ดที่พร้อมจะเอาเป็ดมาลง

     

    98 0

    8. การเลี้ยงเป็ด ระยะที่ 3

    วันที่ 10 ตุลาคม 2016 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.นำเป็ดที่ซื้อมาลงเล้าเป้ดจำนวน 50 ตัว 2.นักเรียนเรียนรู้การให้อาหารเป็ด การเก็บไข่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้รู้จักวิธีการเลี้ยงเป็ด การให้อาหารเป็ด การเก็บไข่
    2. นักเรียนตื่นเต้นในการนำเป็ดเข้าเล้า
    3. นักเรียนมีความภูมิใจในกิจกรรมที่ตัวเองทำ

     

    98 0

    9. การเพาะเห็ดภูฐาน

    วันที่ 17 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมแบ่งงานให้กับนักเรียนรับผิดชอบ 2.แบ่งคุณครูรับผิดชอบงาน 3.จัดทำเรือนเพาะเห็ดโดยมีกรรมการสถานศึกษาเข้ามาช่วยทำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.นักเรียนจะมีหน้าที่ที่ตนเองรับผิดชอบ 2.นักเรียนได้เรียนรู้การทำงานร่วมกับผู้อื่น
    3.นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการเพาะเห็ดการดูแล และเก็บเห็ด

     

    101 0

    10. การเลี้ยงเป็ด ระยะที่ 4

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เมื่อนำเป็ดเข้าเล้าได้ประมาณ 1 อาทิตย์เป็ดเริ่มไข่
    2. นักเรียนที่มีหน้าที่เก็บไข่เป็ดจะเก็บช่วงเช้า
    3. ไข่เป็ดเก็บได้ 3 แผง 2 วัน มีจำนวนที่มากเพราะโรงเรียนมีไข่ไก่ด้วย
    4. นำไข่เป็ดมาทำไข่เค็ม ทุกวันศุกร์ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีความภาคภูมิใจและดีใจที่เห็นเป็ดไข่
    2. นักเรียนมีความรับผิดชอบในหน้าที่ตนเอง
    3. นักเรียนรู้จักการรจดบันทึกจำนวนไข่
    4. นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการทำไข่เค็ม โดยมีแม่ครัวเป็นคนสอนทำ
    5. นักเรียนเกิดทักษะในการทำไข่เค็มและการจำหน่ายในกับผู้ปกครองและชุมชน
    6. นักเรียนได้จดบันทึกรายรับ-รายจ่าย

     

    99 0

    11. ปลูกผักสวนครัว ระยะที่ 3

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. นักเรียนเก็บผลผลิตที่ได้จากการปลูกผักและปลอดสารพิษ
    2. นักเรียนนำผลผลิตที่ได้ลงสู่อาหารกลางวันโดยผ่านสหกรณ์นักเรียน
    3. นักเรียนจดบันทึกผลผลิตที่ได้ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้ผักปลอดสารพิษ นักเรียนได้กินผักที่นักเรียนปลูกกันเอง
    2. นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการปลูกผัก วิธีการรดน้ำผัก และการเก็บผักที่ถูกวิธี 3.  นักเรียนมีความรับผิดชอบในหน้าที่ๆตนเองได้รับมอบหมายอย่างภาคภูมใจ

     

    96 0

    12. การเลี้ยงไก่ไข่ ระยะที่ 3

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.นักเรียนจะมีหน้าที่ในการเก็บไข่ 2.นักเรียนจะนำไข่ลงสู่อาหารกลางวันโดยผ่านสหกรณ์ 3.นักเรียนจะนำไข่ไปจำหน่ายให้กลับผู้ปกครองและชุมชนในช่วงเย็นที่ไข่เหลือจากโรงอาหาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.นักเรียนมีความรับผิดชอบในหน้าที่ของตนเอง 2.นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการจดรายรับ-รายจ่าย 3.นักเรียนได้บริโภคไข่ไก่ที่ปลอดภัยจากที่นักเรียนเลี้ยงเอง 4.นักเรียนได้ทักษะการจำหน่ายไข่ไก่ที่สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 5.นักเรียนได้ทำงานเป็นกลุ่ม รู้จักมีน้ำใน เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ในกิจกรรมที่ทำ

     

    96 0

    13. การเพาะเห็ดภูฐาน ระยะที่ 2

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.นำก้อนเห็ดที่ซื้อมาใส่โรงเห็ด 2.แนะนำนักเรียนแลัวิธีการดูแล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการทำเห็ด 2.นักเรียนได้ทำงานกับผู้อื่น 3.นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการเรียงเห็ด 4.นักเรียนมีความรับผิดชอบและสนุกกับกิจกรรมที่ทำ

     

    99 0

    14. ร่างกายแข็งแรง จิตใจดี ชีวีมีสุข

    วันที่ 17 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรมการดุแลรักษาสุขภาพให้แข็งแรง มีจิตใจที่ดี ใช้ชีวิตอย่างไรให้มีความสุข

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนรู้จักการใช้ชีวิตอย่างไรให้มีความสุข มีสุขภาพที่แข็งแรง มีจิตใจที่ดี  รู้จักใช้ชีวิตอย่างพอเพียง

     

    107 0

    15. ห้องเรียนน่าอยู่

    วันที่ 23 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้ายไวนิลเกี่ยวกับ 5 ห้องชีวิต ร่วมถึงจัดซื้ออุปกรณ์ในการจัดตกแต่งห้องให้น่าเรียนน่าอยู่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนสามารถบอกได้ว่า 5 ชีวิตคือไร และนักเรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันที่บ้าน การทำความสะอาดห้องเรียนและบริเวณโรงเรียนให้สะอาดนักเรียนสามารถทำได้

     

    162 0

    16. หนูน้อยนักออม (การออมทรัพย์)

    วันที่ 25 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเจ้าหน้าที่ในการรับฝากเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนรุู้จักการออมเงิน ปลูกฝังจนเป็นนิสัย

     

    12 0

    17. กิจกรรมคัดแยกขยะ

    วันที่ 29 พฤศจิกายน 2016 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดให้นักเรียนมาคัดแยกขยะ ทุกวันศุกร์ตอนเย็น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนสามารถแยกขยะได้ว่า ขยะรีไวเคิล ขยะอันตราย ขยะย่อยสลาย

     

    162 0

    18. การแปรรูปอาหาร

    วันที่ 30 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เชิญวิทยากรมาให้ความรู้เกี่ยวกับการแปรรูปอาหารเพื่อสุขภาพ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการแปรรู้อาหารเพื่อสุขภาพคือการนำผักชนิดต่างๆมาปั่นแล้วดื่มเพื่อสุขภาพ นักเรียนที่ไม่กินผักก็กินผักได้เพราะนำมาปั่นรสชาติจะไม่ขม

     

    106 0

    19. ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง

    วันที่ 30 พฤศจิกายน 2016 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการชั่งน้ำหนักส่วนสูงให้กับนักเรียนเทอมละ 2 ครั้ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีการชั่งน้ำหนักส่วนสูงทุกเทอมๆละ 2 ทำให้นักเรียนรู้การเจริญเติบโตของนักเรียน

     

    162 0

    20. จ้ดกิจกรรมแอโรบิคยามเช้า

    วันที่ 30 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    หลังจากทำกิจกรรมหน้าเสาธง จะเป็นกิจกรรมออกกำลังกายทุกวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้ออกกำลังกายทุกวันในช่วงเช้า ทำให้ร่างกายแข็งแรง

     

    163 0

    21. การเพาะเห็ดภูฐาน ระยะที่ 3

    วันที่ 1 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.หลังจากนักเรียนได้ดูแลเห็ดได้ประมาณ 2 อาทิตย์เห็ดเริ่มทยอยออก 2.นักเรียนเก็บเห็ดส่งโรงอาหารเพื่อทำอาหารกลางวันโดยผ่านสหกรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการเก็บเห็ด 2.นักเรียนได้รรับประทานเห็ดที่นักเรียนลงมือทำเอง 3.นักเรียนมีความรับผิดชอบในหน้าที่ตนเอง

     

    99 0

    22. อบรมให้ความรู้ด้านอาหารและการจัดการให้ถูกสุขลักษณะ

    วันที่ 9 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้ายไวนิลให้ความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของผัก ผลไม้ และอาหารกลางวัน รวมถึงจัดค่ายสุขภาพให้กับนักเรียนได้เรียนรู้ว่าวิธีการกินอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนสามารถเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์กับร่างกายของนักเรียน และรู้ประโยชน์ของการรับประทานผัก ผลไม้

     

    106 0

    23. ทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียน

    วันที่ 9 มกราคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นักเรียนได้รับการทดสอบสมรรถภาพทุกภาคเรียน ภาคเรียนละ 1 ครั้ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้ทดสอบสมรรถภาพทางร่างกายทุกภาคเรียน ภาคเรียนละ 1 ครั้ง

     

    102 0

    24. จัดกิจกรรมต่อด้านยาเสพติด

    วันที่ 13 มกราคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้ายรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด  และเชิญวิทยากรมาให้ความรู้แก่นักเรียนในเรื่องทำอย่างไรให้ห่างไกลยาเสพติด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการห่างไกลยาเสพติด เรียนรู้โทษของยาเสพติด รวมถึงทำป้ายรณรงค์ยาเสพติดโดยเดินรณรงค์ในหมู่บ้าน

     

    110 108

    25. ฟันสวยด้วยมือเรา

    วันที่ 20 มกราคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้ายวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธีและถูกสุขลักษณะในการแปรงฟัน และการดูแลช่องปากให้สะอาด

     

    162 0

    26. การจัดเก็บอุปกรณ์แปรงฟันให้ถูกสุขลักษณะ

    วันที่ 25 มกราคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำที่แขวนแก้วและแปรงสีฟันให้เพียงพอกับจำนวนนักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีที่แขวนแก้วและแปรงสีฟันที่เรียบร้อย และเป็นระเบียบเรียบร้อย แก้วก็สะอาดถูกสุขลักษณะ

     

    162 162

    27. เปิด - ถอน เงินในบัญชี

    วันที่ 27 มกราคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คืนเงินเปิดบัญชีให้โรงเรียน

     

    3 3

    28. โรงเรียนปลอดเหา

    วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้ายวิธีการดูแลผม ทำอย่างไรไม่เป็นเหา การรักษาความสะอาดเส้นผมให้สะอาด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนรู้จักการดูแลเส้นผมให้สะอาด การรักษาเหาที่ถูกวิธี และการกำจัดเหา

     

    104 0

    29. แหล่งเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหารโภชนาการ และสุขภาพอนามัย

    วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เชิญวิทยากรมาให้ความรู้เรื่องการเกษตร สหกรณ์ แหล่งเรียนรู้ รวมถึงการดุแลสุขภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้รู้จักแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน การทำเกษตรวิธีการปลูกการเลือกเมล็ดพันธุ์ในการปลูก การกินผักที่ปลอดสารพิษ ทำให้ร่างกายของเราไม่รับสารเคมี นักเรียนสามารถนำไปลงมือปฏิบัติที่บ้านได้ ไม่ต้องซื้อผักสวนครัวกิน 

     

    106 0

    30. มือสะอาด 7 ขั้นตอน ปราศจากโรค

    วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้ายวิธีการล้างมือ 7 ขั้นตอน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการล้างมืออย่างถูกวิธี และถูกสุขลักษณะโดยทำจนเกิดเป็นกิจวัตรประจำ รวมถึงสามารถแนะนำวิธีการล้างมือให้กับผู้อื่นได้อย่างถูกต้อง

     

    162 162

    31. สถานที่ดื่มน้ำสะอาด

    วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้ายให้ความรู้เรื่องประโยชน์ของน้ำ ให้แก้วนักเรียนใช้เป็นรายบุคคล 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนสามารถบอกประโยชน์ของการดื่มน้ำสะอาด โทษของน้ำอัดลม  รวมถึงการใช้ภาชนะที่สะอาดในการดื่มน้ำ นักเรียนมีสุขภาพที่ดีถูกสุขลักษณะ

     

    162 0

    32. กิจกรรมสหกรณ์

    วันที่ 13 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เชิญวิทยากรมาให้ความรู้และสอนวิธีการทำไข่เค็มให้กับนักเรียน แปรรูปอาหารไข่เป็ดเพราะไข่เป็ดมีจำนวนมาก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการทำไข่เค็มและได้ลงมือปฏิบัติทำจริง และสามารถนำไปสอนคนในชุมชนได้

     

    103 0

    33. จัดทำรายงานปิดโครงการ งวด 2 พร้อมคืนดอกเบี้ย

    วันที่ 7 เมษายน 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำรายงานปิดโครงการ งวด 2 พร้อมคืนดอกเบี้ย 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทำรายงานปิดโครงการ งวด 2 พร้อมคืนดอกเบี้ย 

     

    1 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อแก้ปัญหานักเรียนทุพโภชนาการ และนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีโภชนาการที่ถูกสุขลักษณะ และมีน้ำหนักตามเกณฑ์และสมส่วน ร้อยละ90

     

    2 2.เพื่อให้โรงเรียนมีผลผลิตทางการเกษตรสนับสนุนโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70อย่างยั่งยืน
    ตัวชี้วัด : มีผลผลิตด้านการเกษตร ด้านผักปลอดสารพิษการเลี้ยงสัตว์ การประมง สนับสนุนอาหารกลางวันได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ90

     

    3 3. เพื่อน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาใช้เป้นหลักในการดำเนินชีวิต
    ตัวชี้วัด : นักเรียนได้รู้จักการใช้ชีวิตอย่างพอเพียงตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาใช้ในการดำเนินชีวิต ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อแก้ปัญหานักเรียนทุพโภชนาการ และนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน (2) 2.เพื่อให้โรงเรียนมีผลผลิตทางการเกษตรสนับสนุนโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70อย่างยั่งยืน (3) 3. เพื่อน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาใช้เป้นหลักในการดำเนินชีวิต

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

    ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านทุ่งยาว

    รหัสโครงการ ศรร.1212-036 รหัสสัญญา 58-00-2265-ก.5 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

    วันที่เริ่มประเมิน

    1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    (ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    1. การเกษตรในโรงเรียน

    การเลี้ยงเป็ดไข่ ที่ใหม่สำหรับโรงเรียน และมีการนำไข่มาแปรรูปเป็นไข่เค็ม

    มีการจัดซื้อเป็ดสาวมาจำนวน 50 ตัว มีการไข่แต่ละวันจำนวนมากจึงนำมาทำไข่เค็มจำหน่ายในชุมชนและผู้ปกครอง

    การพัฒนาในการเลี้ยงเป้ดการดูแลเพราะปัจจุบันมีแม่ค้าภายนอกมารับไข่ไปจำหน่าย

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    2. สหกรณ์นักเรียน

    การนำผลผลิตแปรรูปมาจำหน่ายในสหกรณ์

    การแปรรูปไข่เป็ดให้เป็นไข่เค็ม โดยมีขั้นตอนการทำคือ การนำขี้เถาผสมแกลบแล้วนำมาห่อไข่ทิ้งระยะเวลาไว้ 3 อาทิตย์

    มีการพัฒนาทำผลผลิตเพิ่มขึ้น

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

    การจัดทำเมนูอาหารที่แปลกไปกว่าเมื่อก่อนไม่จำเจ และมีกับข้าวให้เด็กเลือกหลายอย่าง

    การจัดทำเมนูอาหารรายเดือน

    การจัดทำอาหารเช้าให้กับนักเรียน

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

    มีการจัดค่าย และการควบคุมอาหารให้กับเด็กที่อ้วนและผอม

    จัดค่ายเพื่อสุขภาพให้กับนักเรียนที่อ้สนและผอม

    มีการจัดค่ายต่อเนื่องจนกว่าจะไม่มีเด็กอ้วนและผอมในโรงเรียน

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

    การหาวิธีกำจัดเหาเป็นโรงเรียนปลอดเหา

    มีการกำจัดเหาให้นักเรียนทุกอาทิตย์ในวันศุกร์

    ทำอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เป็นโรงเรียนปลอดเหา

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

    5 ห้องชีวิตทำให้ห้องเรียนน่าอยุ่และน่าเรียนมากยิ่งขึ้น

    จัดทำไวนิลให้ความรู้ และคุณครูให้ความรู้วิธีการปฏิบัติตนในการใช้ชีวิต 5 ห้องชีวิต

    จัดทำให้ห้องเรียนน่าอยู่อย่างต่อเนื่องทำให้ห้องเรียนน่าอยู่ยิ่งขึ้น

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

    การพัฒนาร่างกายให้แข็งแรง มีจิตใจที่ดี ชีวีมีสุขสร้างให้นักเรียนรู้จักการใช้ชีวิตอน่างไรให้มีความสุข

    จัดกิจกรรมให้นักเรียนโดยมีคุณครูและเจ้าหน้าที่อนามัยมาให้ความรู้

    ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการเรียนรู้ชีวิตอย่างต่อเนื่อง

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

    การแปรรูปอาหารและการทำอาหารเพื่อสุขภาพ

    มีวิทยากรมาให้ความรู้และสอนวิธีการทำอาหารเพื่อสุขภาพ

    จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    9. อื่น ๆ

     

     

     

    2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

    1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

    องค์การบริหารส่วนตำบลทับใต้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลผู้ปกครอง คนในชุมชน

    2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

    สถานที่มีความพร้อม เนื้อที่ในการจัดกิจกรรมมีความเพียงพอในการทำกิจกรรม

    3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

    คณะผู้บริหาร คณะครู นักเรียน ผู้ปกครองรวมถึงบุคคลในโรงเรียน ชุมชน

    4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

    คุณครูและนักเรียนมีกระบวนการเรียนรู้ในเรื่องการเกษตรการแปรรูปอาหาร การทำอาหารเพื่อสุขภาพ

    5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

    ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมกิจกรรม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

    มีผักเพียงพอในการผลิตอาหารให้กับนักเรียนอาหารกลางวัน และมีเหลือจำหน่ายสู่ชุมชน ผลไม้มีเพียงพอ

    การจัดทำเกษตรในโรงเรียน

    มีการทำอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

    มีการเลี้ยงไก่ไข่ และการเลี้ยงเป็ดไข่ และเพียงพอกับจำนวนนักเรียน

    มีโรงเลี้ยงไก่ไข่ และเป็ดไข่

    มีการเลี้ยงไก่ไข่และเป้ดไข่อย่างต่อเนื่องเพราะเหลือจากเข้าอาหารกลางวันเด็กยังมีเหลือขายสุ่ชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

    มีการเลี้ยงปลาเพื่อนำมาเป็นอาหารกลางวัน

    บ่อเลี้ยงปลา

    มีการเลี้ยงปลาอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

    ไม่มี

    ไม่มี

    ไม่มี

    5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

    นักเรียนอนุบาลได้รับประทานผักและผลไม้

    การรับประทานอาหารกลางวันของนักเรียน

    ทำเป็นปกติและต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    นักเรียนประถมศึกษาได้รับประทานผักและผลไม้อย่างเพียงพอ

    การรับประทานอาหารกลางวันของนักเรียน

    ทำอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    ไม่มีเด็กอายุระดับนี้

    ไม่มี

    ไม่มี

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

    ผู้ปกครองชุมชนมีส่วนร่วมในการให้ความรู้ การแนะการปลูกผักปลอดสารพิษ ร่วมถึงชมรมผู้สูงอายุมาให้ความรู้และสอนวิธีการทำน้ำสมุนไพร การทำอาหารรักษาโรค

    การจัดกิจกรรมร่วมกับชุมชน ภาพถ่ายการจัดกิจกรรม

    จะทำกิจกรรมแบบนี้อย่างต่อเนื่องตลอดไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

    ยังไม่สมบูรณ์

    ยังไม่สมบูรณ์ และไม่เป็นปัจจุบัน

    พยายามจะทำให้สมบูรณ์ 100%

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

    มีการชั่งน้ำหนักส่วนสูงครบบทั้งโรงเรียนภาคเรียนละ 2 ครั้ง

    ภาพการทำกิจกรรม

    ทำอย่างนี้อย่างต่อเนื่องและนำผลที่ได้มาปรับปรุงและพัฒนา

    3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

    สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

    ภาวะ2558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/2
    เตี้ย 0.64 0.64% 11.56 11.56% 7.48 7.48% 4.17 4.17% 5.07 5.07% 5.38 5.38% 7.94 7.94% 5.05 5.05% 6.34 6.34% nan nan% nan nan% nan nan% nan nan%
    เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 2.56 2.56% 11.56 11.56% 10.88 10.88% 15.00 15.00% 8.70 8.70% 11.54 11.54% 13.49 13.49% 8.08 8.08% 7.04 7.04% nan nan% nan nan% nan nan% nan nan%
    ผอม 1.28 1.28% 6.12 6.12% 8.84 8.84% 11.59 11.59% 10.87 10.87% 9.23 9.23% 6.87 6.87% 3.52 3.52% 4.23 4.23% 7.38 7.38% 6.71 6.71% 6.54 6.54% 5.23 5.23%
    ผอม+ค่อนข้างผอม 1.92 1.92% 6.12 6.12% 14.97 14.97% 24.64 24.64% 21.74 21.74% 19.23 19.23% 11.45 11.45% 4.23 4.23% 6.34 6.34% 12.08 12.08% 11.41 11.41% 12.42 12.42% 8.50 8.50%
    อ้วน 2.56 2.56% 10.88 10.88% 4.08 4.08% 4.35 4.35% 3.62 3.62% 5.38 5.38% 6.87 6.87% 5.63 5.63% 5.63 5.63% 5.37 5.37% 6.71 6.71% 5.23 5.23% 5.23 5.23%
    เริ่มอ้วน+อ้วน 3.85% 3.85% 10.88% 10.88% 9.52% 9.52% 9.42% 9.42% 10.87% 10.87% 10.00% 10.00% 10.69% 10.69% 10.56% 10.56% 7.04% 7.04% 9.40% 9.40% 8.72% 8.72% 8.50% 8.50% 8.50% 8.50%
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

    ยังไม่ลดลงเนื่องจากเด็กที่อ้วนมีปัจจัยหลายอย่าง เช่นกรรมพันธ์การเลือกกินอาหารที่บ้าน การกินของผู้ปกครอง ทุกสิ่งอย่างเป็นปัจจัยที่ทำให้เด็กผอมยาก

    กราฟภาวะโภชนาการ

    โรงเรียนจัดกิจกรรมให้นักเรียนที่เริ่มอ้วนและอ้วนอย่างสม่ำเสมอ และสอนวิธีการเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

    ยังไม่ลดลงเนื่องจากเด็กที่ผอมมีปัจจัยหลายอย่าง เช่นกรรมพันธ์การเลือกกินอาหารที่บ้าน การกินของผู้ปกครอง เด็กห่วงเล่นไม่สนใจการกิน

    กราฟภาวะโภชนาการ

    โรงเรียนจัดกิจกรรมให้นักเรียนที่ผอมอย่างสม่ำเสมอ และสอนวิธีการเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

    ยังไม่ลดลงเนื่องจากเด็กที่เตี้ยมีปัจจัยหลายอย่าง เช่นกรรมพันธ์การเลือกกินอาหารที่บ้าน การกินของผู้ปกครอง เด็กห่วงเล่นไม่สนใจการดื่มนม

    กราฟภาวะโภชนาการ

    โรงเรียนจัดกิจกรรมให้นักเรียนที่ผอมอย่างสม่ำเสมอ และสอนวิธีการเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์ การดื่มนมทุกวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

    มีการแจกนม การรับประทานอาหารเสริมเพิ่มขึ้นมากกว่าเด็นที่สมส่วน

    การรับประทานอาหารของเด็กๆๆ

    มีการเสริมให้กับเด็กที่มีภาวะโภชนาการที่ไม่ผอมและเตี้ยเป็นรายบุคคล

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

    มีการแนะนำให้ผู้ปกครองช่วยในเรื่องของการรับประทานอาหารที่มีประดยชน์ครบ 5 หมู่

    กิจกรรมภาพต่างๆๆ

    มีการแนะนำนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการที่ไม่สมส่วนอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

    องค์การบริหารส่วนตำบลทับใต้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลผู้ปกครอง คนในชุมชน

    หมายเหตุ *

    • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    โรงเรียนบ้านทุ่งยาว จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์

    รหัสโครงการ ศรร.1212-036

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางอมรรัตน์ เถื่อนทอง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด