directions_run

สถานศึกษานำร่องตามมาตรฐานระบบการจัดการอาหารและโภชนาการ

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ สถานศึกษานำร่องตามมาตรฐานระบบการจัดการอาหารและโภชนาการ ”

ตำบลบ่อเกลือใต้ อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน

หัวหน้าโครงการ
นางสุนี ทานัน

ชื่อโครงการ สถานศึกษานำร่องตามมาตรฐานระบบการจัดการอาหารและโภชนาการ

ที่อยู่ ตำบลบ่อเกลือใต้ อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน จังหวัด น่าน

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2564 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2565


กิตติกรรมประกาศ

"สถานศึกษานำร่องตามมาตรฐานระบบการจัดการอาหารและโภชนาการ จังหวัดน่าน" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อเกลือใต้ อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สถานศึกษานำร่องตามมาตรฐานระบบการจัดการอาหารและโภชนาการ



บทคัดย่อ

โครงการ " สถานศึกษานำร่องตามมาตรฐานระบบการจัดการอาหารและโภชนาการ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อเกลือใต้ อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2564 - 28 กุมภาพันธ์ 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 181 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารเป็นปัจจัยสำคัญต่อการดำรงชีวิต ร่างกายจะเจริญเติบโต มีสุขภาพที่สมบูรณ์ เมื่อได้รับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการครบถ้วน ถูกลักษณะและเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย ไม่มีสารพิษ หรือสิ่งเจือปนที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย ดังนั้น อาหารและโภชนาการจึงเป็นรากฐานของมนุษย์ ตั้งแต่วัยแรกเกิดจนถึงวัยชรา การเจริญเติบโตและภาวะโภชนาการของเด็กเป็นเครื่องบ่งชี้ภาวะเศรษฐกิจของประเทศ (ลัดดา เหมาะสุวรรณ, 2551) เด็กต้องได้รับสารอาหารเพื่อให้เกิดภาวะโภชนาการที่ดี โดยเฉพาะโปรตีนและพลังงาน หากขาดเป็นเวลานานจะทำให้รูปร่างเตี้ยและผอม เชาว์ปัญญาลดลง การเรียนรู้ช้า เฉื่อยชา ภูมิต้านทานโรคต่ำ (สุธี สฤษฏิ์ศิริ, 2555) ปัจจัยที่ส่งเสริมให้เด็กได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์ เช่น ฐานะทางเศรษฐกิจ ความรู้ ความตระหนักของบิดามารดา ความเชื่อในกลุ่มเผ่า การถ่ายทอดทางพันธุกรรมจากบิดา มารดา เป็นต้น เนื่องจากเด็กวัยเรียนเป็นกลุ่มประชากรที่จะเจริญเป็นกำลังสำคัญของชาติ จึงต้องมีสุขภาพอนมัยที่สมบูรณ์ แข็งแรง ทั้งร่างกายและจิตใจ สติปัญญาและสังคมที่ดีเพื่อช่วยให้เล่าเรียนได้ประสบผลสำเร็จเต็มที่ตามศักยภาพเป็นพื้นฐานสำคัญในการพัฒนาคุณภาพประชากร การเสริมสร้างสุขภาพกับการศึกษา เป็นสิ่งที่ต้องดำเนินการควบคู่กันไป การบริโภคอาหาร ที่มีความปลอดภัย และมีคุณค่าทางโภชนาการเพียงพอกับความต้องการของร่างกายและเหมาะสม กับวัย เป็นหนึ่งในปัจจัยที่สำคัญของการมีสุขภาวะที่ดี ภาวะโภชนาการที่ดีจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ส่งเสริมให้เด็กเติบโตได้เต็มศักยภาพ หากเด็กได้รับสารอาหารที่ไม่ครบส่วน และมีพฤติกรรมการบริโภค ที่ไม่เหมาะสม นำไปสู่ความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด มะเร็ง และโรคกระดูกพรุนในวัยผู้ใหญ่
โรคอ้วน และภาวะโภชนาการเกิน ซึ่งนอกจากจะเกิดจากพันธุกรรมที่ไม่สามารถจะหลีกเลี่ยงได้แล้ว ยังเกิดจากการบริโภคอาหารที่มากเกินไป ก่อให้เกิดผลเสียต่อร่างกายผู้เป็นโรคอ้วน ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน
โรงเรียนบ้านบ่อหลวง เปิดทำการเรียนการสอนในระดับอนุบาลปีที่ 2 ถึงชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 มีจำนวนนักเรียน ปีการศึกษา 2564 ทั้งหมด 131 คน จากการสำรวจและดำเนินการชั่งน้ำหนัก – ส่วนสูงของนักเรียนเป็นประจำทุกภาคเรียน พบว่ามีนักเรียนในโรงเรียนมีปัญหาภาวะโภชนาการ จำนวน.....คน คิดเป็นร้อยละ ....... (ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2564) และผลจากการเยี่ยมบ้านของนักเรียน พบว่า นักเรียนบางคนมีปัญหาครอบครัว พ่อแม่แยกทางกัน ปล่อยให้นักเรียนอาศัยอยู่กับญาติ มีฐานะยากจน ขาดแคลนอาหารบริโภคตามความต้องการของร่างกาย ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ซึ่งถือว่าเป็นปัญหาสำคัญของเด็กนักเรียนในวัยที่กำลังเจริญเติบโต
ผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน ได้ตระหนักถึงความสำคัญของเด็กและเยาวชนที่อยู่ในวัยเรียน ซึ่งมองเห็นปัญหาที่เกิดขึ้นนี้และได้คิดหาแนวทางแก้ไข จึงได้จัดทำระบบ การจัดการอาหารและโภชนาการในสถานศึกษา ขึ้นเพื่อแก้ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียนของโรงเรียนบ้านบ่อหลวง โดยใช้การบริหารจัดการด้านอาหารและโภชนาการในโรงเรียน เพื่อสุขภาวะในเด็กวัยเรียน ที่มีเกณฑ์มาตรฐานแบบบูรณาการร่วมกัน ซึ่ง5 มาตรฐานและ 23 ตัวชี้วัด ได้แก่ มาตรฐานที่ 1 นโยบาย และการบริหารจัดการของสถานศึกษามาตรฐานที่ 2 การจัดการด้านความปลอดภัยอาหารสุขาภิบาลอาหาร และสิ่งแวดล้อม มาตรฐานที่ 3 คุณค่าทางโภชนาการสารอาหารที่เด็กควรได้รับตามวัย มาตรฐานที่ 4
การบูรณาการจัดการเรียนรู้และปัจจัยแวดล้อมเชิงสร้างสรรค์ และมาตรฐานที่ 5 การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการอาศัยความร่วมมือของผู้บริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนในการสนับสนุนการดำเนินงาน เพื่อแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการและส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาวะที่ดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการบริหารจัดการด้านอาหารและโภชนาการ ในสถานศึกษา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการบริหารจัดการด้านอาหารและโภชนาการ ในสถานศึกษา
    ตัวชี้วัด : 1 โรงเรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการบริหารจัดการ ด้านอาหารและโภชนาการในสถานศึกษา 2 นักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ ส่งผลให้มีภาวะโภชนาการที่ดี 3 โรงเรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ร้อยละ 80 มีความพึงพอใจต่อระบบการบริหารจัดการด้านอาหาร และโภชนาการในสถานศึกษา
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการบริหารจัดการด้านอาหารและโภชนาการ ในสถานศึกษา

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    สถานศึกษานำร่องตามมาตรฐานระบบการจัดการอาหารและโภชนาการ จังหวัด น่าน

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุนี ทานัน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด