แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1
ชื่อโครงการ โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา
ชุมชน ตำบลแพรกษา อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ
รหัสโครงการ ศรร. 1223-043 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ก.12
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน พฤษภาคม 2559 ถึงเดือน พฤศจิกายน 2559
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร Thai School Lunch Program |
||
วันที่ 2 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้1 นักเรียน 2 ผู้ประกอบอาหารโรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา เข้าศึกษาดูงานกระบวนการจัดเตรียมอาหารจากครัวการบินไทย 3 บุคลากรที่ดูแลโครงการฯ ได้เข้ารับการอบรมโรงเรียนละ 2 คน ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงสามารถใช้โปรแกรม Thai School Lunch จัดอาหารกลางวันให้กับนักเรียนโรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนเข้าร่วมอบรมการใช้โปรแกรม Thai School Lunch ในการวางแผนจัดบริการอาหารกลางวันได้อย่างถูกต้อง และสามารถนำกลับมาใช้งานและพัฒนางานด้านอาหารกลางวันในฌโรงเรียนให้เกิดประสิทธิภาพมากขึ้น กิจกรรมที่ทำจริงฝึกการจัดเมนูอาหารโดยการใช้โปรแกรม Thai School Lunch
|
2 | 2 |
2. ชั่งนำ้หนัก - วัดส่วนสูง |
||
วันที่ 1 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้นักเรียนทุกคน ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงมีข้อมูลน้ำหนัก และส่วนสูงเพื่อใช้ในการประเมินภาวะโภชนาการโดยใช้โปรแกรม INMU THAIGROWTH กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนครูประจำชั้นชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงนักเรียนทุกคน กิจกรรมที่ทำจริงครูประจำชั้นชั่งนำ้หนักและวัดส่วนสูงนักเรียนทุกคน
|
765 | 765 |
3. จัดป้ายนิเทศเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขนิสัยและการส่งเสริมอนามัยนักเรียน |
||
วันที่ 1 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้1 นักเรียนได้รับความรู้ด้านสุขนิสัยและการส่งเสริมอนามัยของนักเรียน อย่างทั่วถึง
2 นักเรียนร้อยละ 80 ได้รับความรู้ด้านสุขนิสัยและการส่งเสริมอนามัยของนักเรียน รวมทั้งการสร้างสุขนิสัย ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงครูประจำชั้นจะทำหน้าที่บูรณการเข้าไปในวิชาสุขศึกษาเช่นการล้างมือ การแปรงฟัน การรับประทานอาหารและการตรวจสอบสุขภาพ เพื่อส่งเสริมสุขนิสัยเบื้องต้นที่นักเรียนทุกคน ควรได้รับการปลูกฝัง และนักเรียนฝึกปฏิบัติเป็นประจำ โดยครูประจำชั้นเป็นผู้ติดตามและประเมินการปฏิบัติของนักเรียน มีระบบเพื่อนช่วยเพื่อนและมีการพัฒนาเครื่องม่ือเพื่อบันทึกการปฏิบัติของนักเรียน เช่น แบบบันทึกการแปรงฟัน แบบบันทึกการล้างมือ แบบบันทึกการรับประทานอาหาร แบบบันทึกการตรวจสุขภาพและข้อกำหนดหรือข้อปฏิบัติตนในการรับประทานอาหาร กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง
|
765 | 765 |
4. ประเมินผลภาวะโภชนาการ |
||
วันที่ 6 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้นักเรียนทุกคน ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง1.นักเรียนทุกคนได้รับการประเมินภาวะโภชนาการ 2. นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาได้รับการส่งเสริมและแก้ไข 3.โรงเรียนมีข้อมูลภาวะโภชนาการของนักเรียนที่เชื่อถือได้ กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง
|
702 | 670 |
5. กิจกรรมโครงการ The best clean classroom |
||
วันที่ 1 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้1 นักเรียนร้อยละ 80 มีการเอาใจใส่ในการดูแลรักษาความสะอาดในห้องเรียน 2 มีการส่งเสริมสุขอนามัยสิ่งแวดล้อมภายในสถานศึกษา ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง
|
765 | 733 |
6. เปิดบัญชีโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส |
||
วันที่ 15 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงมีบัญชีธนาคารกรุงไทย เพื่อรับโอนเงินในโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโครงการเด็กไทยแก้มใสสำหรับใช้ในการดำเนินกิจกรรมทั้ง 8 แนวทาง กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนเปิดบัญชีธนาคารกรุงไทย เพื่อรับโอนเงินในโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโครงการเด็กไทยแก้มใส กิจกรรมที่ทำจริงเปิดบัญชีธนาคารกรุงไทย เพื่อรับโอนเงินในโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโครงการเด็กไทยแก้มใส
|
0 | 2 |
7. ฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์ |
||
วันที่ 1 กันยายน 2559 เวลา 16:30 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้1 ครูและบุคลากรได้เข้าร่วมอบรม เกี่ยวกับเรื่องสหกรณ์ในโรงเรียนทุกคน 2 นักเรียนสามารถดำเนินงานเกี่ยวกับสหกรณ์ได้ ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับความรู้ความเข้าใจในข้อปฏิบัติของสหกรณ์ภายในสถานศึกษาเบื้องต้น เพื่อนำไปบูรณาการให้ความรู้กับนักเรียนในการจัดทำสหกรณ์นักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้รับความออนุเคราาะห์วิทยาการในการให้ความรู้จากสำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรปราการ กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนโรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษาและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาล ตำบลแพรกษา อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ได้รับคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส จึงต้องส่งเสริมให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับความรู้ความเข้าใจในข้อปฏิบัติของสหกรณ์ภายในสถานศึกษาเบื้องต้น เพื่อนำไปบูรณาการให้ความรู้กับนักเรียนในการจัดทำสหกรณ์นักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้รับความออนุเคราาะห์วิทยาการในการให้ความรู้จากสำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรปราการ กิจกรรมที่ทำจริงจัดการอบรมครูและบุคลากรทุกคน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญ
|
68 | 70 |
8. เรียนรู้แบบบูรณาการผ่านกิจกรรมโครงงานเด็กไทยแก้มใส |
||
วันที่ 19 ตุลาคม 2559 เวลา 08:30 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้- นักเรียนได้เรียนรู้ประสบการณ์
จากผู้เชี่ยวชาญท้องถิ่น
- นักเรียน ค้นคว้า รวบรวมข้อมูล ทดลองหาความรู้และสร้างความรู้ได้ด้วยตนเองและได้ฝึกทักษะที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิต
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนให้นักเรียนค้นคว้า รวบรวมข้อมูล ทอลองหาความรู้และสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเองและฝึกทักษะที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิต เช่น ทักษะการทำงาน การอยู่ร่วมกับผู้อื่น ซึ่งนักเรียนได้ทำกิจกรรมตามความสามารถ ความถนัด ความสนใจอย่างมีความสุข กิจกรรมที่ทำจริง
|
766 | 733 |
9. การปฐมพยาบาลเบื้องต้น |
||
วันที่ 3 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้1 มีสื่อและอุปกรณ์ในการปฐมพยาบาลที่ได้มาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข 2 มียาเวชภัณฑ์ในการปฐมพยาบาลที่ได้มาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนสำรวจสภาพปัญหาและความต้องการเกี่ยวกับเวชภัณฑ์และตู้ยาสามัญ พร้อมจัดซื้อยาสามัญประจำบ้าน เพื่อใช้สำหรับการประถมพยาบาลเบื้องต้น กิจกรรมที่ทำจริง
|
775 | 727 |
10. การเกษตรในโรงเรียน(เกษตรน้อยในโรงเรียนระดับประถมศึกษา) |
||
วันที่ 3 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้นักเรียนมีพื้นที่ในการเรียนรู้และลงมือปฏิบัติการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงจากการเข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใส ประโยชน์ที่ได้รับ คือ ครู นักเรียนรวมทั้งผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการทำการเกษตร (การปลูกผัก) เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน นักเรียนมีการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับผักที่ตนเองรับผิดชอบ รู้จักการทำงานร่วมกับคนอื่นและที่สำคัญอย่างยิ่งนักเรียนที่ไม่รับประทานผัก เริ่มรับประทานผักได้บ้างเพราะเป็นสิ่งที่ตนเองปลูก ครูและผู้ปกครองมีการปรึกษาหารือเกี่ยวกับผักชนิดต่างๆ นำมาทดลองปลูก เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครู นักเรียนและผู้ปกครอง นอกจากนี้มีผู้ปกครองนำความรู้จากการปลูกผักนำมาทำที่บ้านและแปลรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อจำหน่ายเป็นการหารายได้เสริม กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนดำเนินการปลูกผักไฮโดรโปรนิกส์และผักสวนครัว เช่น ต้นอ่อนผักบุ้ง ต้นอ่อนทานตะวัน พริก กรีนโอ๊ค เรดโอ๊ค เป็นต้น กิจกรรมที่ทำจริงระยะที่ 1 วางแผนการดำเนินการ
1.1 แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ
1.2 ประชุมหารือคณะกรรมการดำเนินการ
1.3 จัดหาวัสดุอุปกรณ์สำหรับปลูกผัก
ระยะที่ 2 การให้ความรู้เกี่ยวกับการเกษตร (การปลูกผักแต่ละชนิด)
2.1 ข้อมูลของผักแต่ละชนิด / วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการปลูก
2.2 วิธีการปลูกผักแต่ละชนิด / การดูแลรักษา
ระยะที่ 3 ดำเนินงาน
3.3 เตรียมสถานที่สำหรับปลูกผัก
3.2 เพาะต้นกล้าผักและปลูกผักตามสถานที่จัดเตรียมไว้ ดังนี้
กิจกรรมผักไร้ดิน สถานที่ปลูกคือ โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา ฝ่ายประถม ปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ เช่น กรีนโอ๊ก (Green Oak) เรดโอ๊ก (Red Oak) กรีน คอรัล (Green Coral) เรด คอรัล (Red Coral) นอกจากนี้ที่ฝ่ายประถมจะมีการปลูกผักลงในภาชนะที่เหลือใช้และปลูกผักในบริเวณข้างกำแพงโรงเรียนเป็นพื้นดินบางส่วน เช่น แตงกวาบวบเหลี่ยม ถั่วฝักยาว ฟักทอง ต้นโหระพา ต้นกะเพรา พริก คื่นช่าย วอเตอร์ เครส รวมทั้งการเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐาน
ระยะที่ 4 การดูแลและการเก็บเกี่ยวผลผลิต
4.1 ดูแลการเจริญเติบโต การรดน้ำ ใส่ปุ๋ย พรวนดิน กำจัดศัตรูพืช
4.2 เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิต ซึ่งผลผลิตที่ได้จะถูกจำหน่ายให้โรงครัวของโรงเรียนเพื่อเป็นส่วนประกอบของอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน ถ้ามีผลผลิตเหลือจะจำหน่ายให้กับผู้ปกครองต่อไป
ระยะที่ 5 งานติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
|
650 | 650 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ
ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการ | ทั้งหมด | ทำแล้ว | 10% | 20% | 30% | 40% | 50% | 60% | 70% | 80% | 90% | 100% |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
การทำกิจกรรม | 28 | 10 | ✔ | |||||||||
การใช้จ่ายงบประมาณ | 120,000.00 | 35,680.00 | ✔ | |||||||||
คุณภาพกิจกรรม | 40 | 37 | ✔ |
ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)
ประเด็นปัญหา/อุปสรรค | สาเหตุเพราะ | แนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน |
---|---|---|
|
|
|
แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป
- ถอนเงินออกจากบัญชีโครงการเด็กไทยแก้มใส ( 6 ธ.ค. 2559 )
- เกษตรน้อยในโรงเรียน (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ เอื้ออาทร 2) ( 8 ธ.ค. 2559 )
- ชั่งนำ้หนัก - วัดส่วนสูง ( 9 ธ.ค. 2559 )
- การจัดทำรายการอาหารหมุนเวียน ( 13 ธ.ค. 2559 )
- กิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิต ( 14 ธ.ค. 2559 )
- เปิดบัญชีโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ( 14 ธ.ค. 2559 )
- การเกษตรในโรงเรียน (เกษตรกรน้อยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ เอื้ออาทร 14) ( 20 ธ.ค. 2559 )
- จัดกิจกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยปราชญ์ชาวบ้าน ( 23 ธ.ค. 2559 )
- ขอเชิญประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำรายงานโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 และขอเบิกเงินงวดที่ 2 ( 28 ธ.ค. 2559 )
- เหงือกสะอาด ฟันแข็งแรง ( 1 ม.ค. 2560 )
- เกษตรในโรงเรียน (เกษตรน้อยในโรงเรียนระดับอนุบาล GEP) ( 9 ม.ค. 2560 )
- จัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอนามัยของนักเรียนโดยวิทยากรจากศูนย์ส่งเสริมสุขภาพชุมชนมังกรทอง ( 13 ม.ค. 2560 )
- ศึกษาดูงานเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบอาหาร ( 22 ม.ค. 2560 )
- ตลาดนัดโรงเรียน PWS ( 2 ก.พ. 2560 )
- เกษตรในโรงเรียน (เกษตรน้อยในโรงเรียนระดับอนุบาล EP) ( 3 ก.พ. 2560 )
- การเกษตรในโรงเรียน (เกษตรน้อยในโรงเรียนระดับอนุบาล MEP) ( 3 ก.พ. 2560 )
- เครือข่ายผูกพัน สร้างสายใยรักสุขภาพ ( 10 ก.พ. 2560 )
- นักสหกรณ์ตัวน้อย ( 28 ก.พ. 2560 )
- ประเมินความพึงพอใจในอาหารกลางวัน ( 28 ก.พ. 2560 )
(................................)
นางอรัญญา พิสุทธากลุ
ผู้รับผิดชอบโครงการ