ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบางจาก (โกมลประเสริฐอุทิศ)


“ โรงเรียนบางจาก (โกมลประเสริฐอุทิศ) ”

ตำบลบางจาก อำเภอภาษีเจริญ จังหวัดกรุงเทพมหานคร

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอมรา โรจนเมธินทร์

ชื่อโครงการ โรงเรียนบางจาก (โกมลประเสริฐอุทิศ)

ที่อยู่ ตำบลบางจาก อำเภอภาษีเจริญ จังหวัดกรุงเทพมหานคร จังหวัด กรุงเทพมหานคร

รหัสโครงการ ศรร.1232-118 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ก.17

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2016 ถึง 30 เมษายน 2017


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบางจาก (โกมลประเสริฐอุทิศ) จังหวัดกรุงเทพมหานคร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางจาก อำเภอภาษีเจริญ จังหวัดกรุงเทพมหานคร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบางจาก (โกมลประเสริฐอุทิศ) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบางจาก (โกมลประเสริฐอุทิศ)



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบางจาก (โกมลประเสริฐอุทิศ) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางจาก อำเภอภาษีเจริญ จังหวัดกรุงเทพมหานคร รหัสโครงการ ศรร.1232-118 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบางจาก (โกมลประเสริฐอุทิศ) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 289 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงเรียน บางจาก(โกมลประเสริฐอุทิศ)ได้เสนอแผนการพัฒนาของโรงเรียนร่วมกับชุมชนเพื่อต่อยอดการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใสจากปีที่1 โดยมีปณิธานอย่างมุ่งมั่นในการเจริญรอยตามพระยุคลบาท สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการน้อมนำรูปแบบการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของนักเรียนอย่างครบวงจรมาปฏิบัติเพื่อพัฒนาโรงเรียนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนต่อยอดให้เป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เพื่อให้การแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและสุขภาพนักเรียนบรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายต่อเนื่องอย่างยั่งยืน แนวทางการดำเนินงานของโรงเรียนบางจาก(โกมลประเสริฐอุทิศ) สำนักงานเขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร เพื่อต่อยอดให้เป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ นั้นได้กำหนดไว้ในแผนปฏิบัติราชการประจำปีของโรงเรียนแผนงานบริหารทั่วไปโครงการสุขภาวะดี มีพัฒนาการสมวัยโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะในโรงเรียนเป็นการดำเนินการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของนักเรียนในโรงเรียนให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง เจริญเติบโตและพัฒนาตนเองเป็นคนคุณภาพของสังคมไทยได้อย่างเต็มศักยภาพ โดยมีจุดเน้นการพัฒนาสุขภาวะ 4ด้าน คือสุขภาวะทางกายสุขภาวะทางจิตใจสุขภาวะทางสังคมและ สุขภาวะทางปัญญาโดยใช้4อ.เป็นองค์ประกอบการพัฒนา ซึ่งประกอบด้วย
อ.1= อาหารดี อ.2=อากาศดี
อ.3=อารมณ์ดี และ
อ.4=มีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
ประเด็นการพัฒนาประกอบด้วยการบูรณาการการเรียนรู้สู่สุขภาวะ และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ที่พึงประสงค์การเฝ้าระวังด้านสุขภาพ การติดตามภาวะโภชนาการ อาหารดีมีคุณค่า และสะอาดปลอดภัย การออกกำลังกายและการเล่นกีฬา การพัฒนาสภาพแวดล้อมในโรงเรียนและการพัฒนาทักษะชีวิต การเสริมสร้างจิตสาธารณะ และค่านิยมพื้นฐาน 12 ประการ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะของนักเรียนให้มีสุขภาพแข็งแรง ทั้งทางร่างกาย ทางจิตใจ ที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ และ สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข
  2. เพื่อส่งเสริมการดำเนินงานด้านโภชนาการและสุขาภิบาล นักเรียนได้รับการเฝ้าระวังภาวการณ์เจริญเติบโต มีพัฒนาการสมวัย
  3. เพื่อพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. มีการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ PBL นักเรียนเกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และสอดคล้องกับวิถีชีวิตจริง
    2. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการสนับสนุนให้ความร่วมมือในการดำเนินกิจกรรม ร่วมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพตามแรงผลักดันของบุตรหลาน
    3. มีภาคีเครือข่ายร่วมดำเนินกิจกรรมด้านการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ เพื่อความเป็นอยู่ที่ดีของสมาชิกในโรงเรียนและชุมชน
    4. โรงเรียนได้รับการพัฒนาสภาพแวดล้อมให้มีความสะอาด ร่มรื่น สวยงาม มีความปลอดภัย และได้รับการรับรองด้านสุขาภิบาล และโภชนากนาการ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อิ่มท้อง สมองดี / โครงการอาหารกลางวัน

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2016 เวลา 07:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ครูโภชนาการจัดรายการอาหารโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch ล่วงหน้า 1 สัปดาห์เพื่อให้ได้รายการอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วน ปริมาณเพียงพอเหมาะสม
    แม่ครัว ประกอบอาหารให้นักเรียนโดยการดูแลของครูโภชนาการ การจัดบริการอาหารให้นักเรียนเพียงตามเกณฑ์การบริโภคผัก ผลไม้ การประกอบอาหารที่เป็นผักโครงการฯใช้ผักปลอดสารพิษ ผลิตโดยกลุ่มผัก ยังไม่เพียงพอกับความต้องการ  ได้ภาคีเครือข่ายผักปลอดสารพิษคลองทวีวัฒนาส่งผักปลอดสารพิษให้กับทางโรงเรียน
    ตรวจสอบคุณภาพอาหารสด อาหารแห้ง แม่ครัว ภาชนะ และสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน โดยใช้นักเรียนชมรมอย.น้อยตรวจสอบอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณภาพ 

     

    239 239

    2. ฐานการเรียนรู้สู่ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

    วันที่ 4 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดทำฐานการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบPBL
    1. ฐานปุ๋ยหมักชีวภาพ
    2. ฐานปุ๋ยใบไม้
    3. ฐานการเลี้ยงปลาดุก
    4. ฐานเกษตรพอเพียง
    5. ฐานสวนสุขภาพ
    6. ฐานมะนาวและสวนผักคนเมือง
    7. ธนาคารขยะรีไซเคิล

    - เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนที่สนใจ ได้ศึกษาเรียนรู้ประสบการณ์จริง ทำให้เกิดการเรียนรู้ที่ถาวร สามารถเชื่อมโยงการเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้เรียนรู้กิจกรรมตามฐานการเรียนรู้ทั้งหมด 7ฐาน ด้วยตนเอง

     

    289 287

    3. พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ PBL

    วันที่ 6 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรมอบรมพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ PBL โดยผู้อำนวยการโรงเรียนบางจาก(โกมลประเสริฐอุทิศ) เป็นผู้ให้ความรู้ในการจัดทำแผนการเรียนรู้แบบ PBL ) บูรณาการการเรียนรู้ทั้งทางด้านการเกษตร สหกรณ์ อาหารและโภชนาการ และสุขภาพอนามัยในการเรียนรู้ผ่านกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ตลอดปีการศึกษา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ครูและบุคลากรได้รับความรู้พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ PBL ในการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน
    • สามารถนำแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ซึ่งนักเรียนสามารถเกิดการเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้

     

    20 18

    4. พัฒนาการทางกายสมวัย

    วันที่ 23 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • นักเรียนปฐมวัยปฎิบัติกิจกรรมพัฒนาทางกายสมวัยร่วมกับมหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อพัฒนาด้านสุขภาพร่างกายของนักเรียนปฐมวัยให้มีความแข็งแรง ซึ่งเป็นทักษะพื้นฐานในการดำเนินชีวิตประจำวัน
    • นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมการออกกำลังกายทุกวันตอนเช้ากิจกรรม Sport Day ทุกๆวันพุธการแข่งขันกีฬาการออกกำลังกายหลังเลิกเรียนโดยมีครูพลานามัยเป็นผู้ควบคุมดูแลในการทำกิจกรรม
    • การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนโดยชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูงนักเรียนภาคเรียนละ 2 ครั้ง เพื่อประเมินภาวะโภชนาการของนักเรียนและแก้ไขปัญหา และนักเรียนสามารถประเมินตัวเองได้เป็นระยะๆ โดยใช้สื่อสร้างสรรค์ “BODYPERFECTBYBANGJAK” ในการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้น ให้มีรูปร่างสมส่วนตามวัย
    • การทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียนตามเกณฑ์ของกรมพลศึกษา และกรุงเทพมหานคร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • นักเรียนปฐมวัยมีพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่ที่แข็งแรงสมบูรณ์และมีทักษะในการออกกำลังกาย ตามวัย
    • นักเรียนมีทักษะในการออกกำลังกาย การเล่นกีฬา มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง 

     

    220 220

    5. อย.น้อย

    วันที่ 10 สิงหาคม 2016 เวลา 15:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • นักเรียนชมรม อย.น้อย ปฏิบัติกิจกรรมตรวจสอบคุณภาพอาหารในโรงเรียน สารปนเปื้อนในอาหาร เป็น เดือนละ 1 ครั้ง
    • นักเรียนชมรม อย.น้อย ตรวจสอบคุณภาพอาหารบริเวณด้านหน้าโรงเรียน เดือนละ 1 ครั้ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • การตรวจสอบคุณภาพอาหารเช้าและกลางวัน ในโรงเรียนมีคุณภาพดีปลอดภัยจากสารปนเปื้อนในอาหาร
    • การตรวจสอบคุณภาพอาหารบริเวณด้านหน้าโรงเรียน ปลอดภัยจากสารปนเปื้อนในอาหาร

     

    11 11

    6. ต้นแบบโรงเรียนพื้นที่สุขภาวะ

    วันที่ 28 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • พัฒนาพื้นที่และสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้เป็นพื้นที่สุขภาวะ โดยใช้ขยะรีไซเคิลในการปรับภูมิทัศน์ให้ร่มรื่นสวยงามที่เอื้อต่อการเรียนรู้
    • ปลูกต้นไม้ให้ร่มรื่นสวยงาม
    • พัฒนาพื้นที่ด้านหลังบ้านพักครูที่รกร้างให้เป็นที่พื้นที่สุขภาวะ โดยทำเป็นฐานการเรียนรู้การปลูกมะนาวในวงบ่อซีเมนต์ และฐานการเรียนรู้สวนผักคนเมืองซึ่งเมื่อปรับเปลี่ยนพื้นที่แล้วทำให้โรงเรียน มีพื้นที่ในการใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น นักเรียนสามารถศึกษาหาความรู้นอกห้องเรียนได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีพื้นที่ในการใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น นักเรียนสามารถศึกษาหาความรู้นอกห้องเรียนได้

     

    239 239

    7. การพัฒนาทักษะชีวิต

    วันที่ 28 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตให้กับนักเรียน โดยใช้ - กิจกรรม Project Approch  โดยแบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 3 คน มีครูที่ปรึกษา 1 คน ให้นักเรียนคิดวิเคราะห์  สังเคราะห์ หาข้อมูลที่จะดำเนินงานโครงการของกลุ่มตนเอง ภาคเรียนละ 1 ชิ้นงาน - กิจกรรมจิตศึกษา เป็นกิจกรรมที่ฝึกฝนนักเรียนให้มีสมาธิ ทำจิตใจให้สงบก่อนเข้าเรียน - กิจกรรมชมรม เป็นกิจกรรมเลือกเรียนตามความสนใจของนักเรียน เพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเอง 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีทักษะในการทำงานกลุ่ม สามารถนำทักษะนี้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและอนาคตได้

     

    239 239

    8. การพัฒนาสภาพแวดล้อม

    วันที่ 28 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ดูแลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้สะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย  โดยการ พัฒนาพื้นที่ทั้งบริเวณหน้าโรงเรียนและบริเวณในโรงเรียน โดยใช้วัสดุเหลือใช้ เช่น ตะกร้าขนมจีน ยางล้อรถยนต์  ถุงพลาสติก ขวดพลาสติก ฯลฯ มาทำเป็นกระถางรีไซเคิล บ่อเลี้ยงปลาหาง วัสดุตกแต่งสวนหย่อม  ขอบป้ายชื่อหน้าโรงเรียน  ม้านั่ง  ตุ๊กตา เป็นต้น 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โรงเรียนมีพื้นที่สะอาด สวยงาม  เป็นระเบียบเรียบร้อย 

     

    248 239

    9. ถอนเงินเปิดบัญชีธนาคาร

    วันที่ 15 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ถอนเงินเปิดบัญชีธนาคาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ถอนเงินเปิดบัญชีธนาคาร

     

    0 0

    10. ส่งเสริมสุขภาพ

    วันที่ 19 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง เจริญเติบโตสมวัย

    • รณรงค์ให้นักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวันทุกวัน โดยการเปิดเพลงแปรงฟัน เมื่อถึงเวลาแปรงฟันของนักเรียน
    • ให้นักเรียนอสร.ฝึกสอนการล้างมือ 7 ขั้นตอน
    • การตรวจสุขภาพของนักเรียนโดย นักเรียนอสร.ทุกๆ วันจันทร์ ตรวจสุขภาพและความสะอาดของร่างกายนักเรียน โดยมีทีมอสร.แต่ละชั้นเรียนดูแลนักเรียน
    • การตรวจสุขภาพนักเรียน โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ดูแลการตรวจสุขภาพ การฉีดวัคซีนป้องกันโรค การวัดสายตา และทันตแพทย์ดูแลสุขอนามัยในช่องปากของนักเรียน
    • การพัฒนาน้ำยากำจัดเหา โดยใช้สมุนไพรที่มีในชุมชน ในการกำจัดเหา นักเรียนหญิง ในการใช้น้ำสมุนไพรผสม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนเกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง เจริญเติบโตสมวัย

     

    239 239

    11. ค่ายเด็กไทยแก้มใส

    วันที่ 19 มกราคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ค่ายการเรียนรู้ “เด็กไทยแก้มใส” ให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้นอกห้องเรียนหมุนเวียนในแต่ละฐานผ่านกิจกรรมค่ายใน 6 ฐานกิจกรรม ฐานที่ 1 Body Perfect ฐานที่ 2 อ่านเป็น กินเป็น ฐานที่ 3 มหัศจรรย์ 5 รหัสลับ ฐานที่ 4 กินเปลี่ยนชีวิต ฐานที่ 5 กินตามธงโภชนาการ ฐานที่ 6 ขยับเพลินๆ เบริ์นแคลอรี่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้รับความรู้และตระหนักถึงภาวะโภชนาการ  การพัฒนาสุขนิสัย  การส่งเสริมอนามัยของตัวเอง  การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

     

    239 251

    12. สถานศึกษาปลอดภัย สุขอนามัยดี

    วันที่ 23 มกราคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ดูแลพื้นที่และอุปกรณ์ที่ใช้ในการออกกำลังกายให้สามารถใช้งานได้  เพื่อให้นักเรียน ครู ผู้ปกครอง และชุมชนได้ใช้พื้นที่ในการออกกำลังกายและเล่นกีฬา ทั้งในตอนเช้าและเย็น 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ส่งเสริมให้บุคคลมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง สมบูรณ์ 

     

    239 239

    13. ศึกษาดูงานการจัดการเกษตรในโรงเรียน

    วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • การศึกษาดูงานการเกษตร ณ สวนลุงรีย์
    • ศึกษาดูงานศูนย์เรียนรู้ออร์แกนิคเวย์ ศึกษาดูงานการเกษตรพอเพียง เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้จริง เพื่อนำความรู้มาพัฒนางานในโรงเรียนครอบครัว และชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้รับความรู้และมีทักษะเกี่ยวกับการเกษตรต่างๆ ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้และการดำเนินชีวิตในอนาคตได้

     

    239 0

    14. จัดทำรายงานปิดโครงการ งวด 2 พร้อมคืนดอกเบี้ย

    วันที่ 6 เมษายน 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    1 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะของนักเรียนให้มีสุขภาพแข็งแรง ทั้งทางร่างกาย ทางจิตใจ ที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ และ สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของนักเรียนที่มีสุขภาพแข็งแรง ทั้งทางร่างกาย ทางจิตใจ ที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ และ สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข

     

    2 เพื่อส่งเสริมการดำเนินงานด้านโภชนาการและสุขาภิบาล นักเรียนได้รับการเฝ้าระวังภาวการณ์เจริญเติบโต มีพัฒนาการสมวัย
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของการดำเนินงานด้านโภชนาการและสุขาภิบาล นักเรียนได้รับการเฝ้าระวังภาวการณ์เจริญเติบโต มีพัฒนาการสมวัย

     

    3 เพื่อพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะของนักเรียนให้มีสุขภาพแข็งแรง ทั้งทางร่างกาย ทางจิตใจ ที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ และ สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข (2) เพื่อส่งเสริมการดำเนินงานด้านโภชนาการและสุขาภิบาล นักเรียนได้รับการเฝ้าระวังภาวการณ์เจริญเติบโต มีพัฒนาการสมวัย (3) เพื่อพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

    ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบางจาก (โกมลประเสริฐอุทิศ)

    รหัสโครงการ ศรร.1232-118 รหัสสัญญา 58-00-2265-ก.17 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

    วันที่เริ่มประเมิน

    1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    (ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    1. การเกษตรในโรงเรียน
    • การปลูกผักสวนครัวในแปลงเกษตร
    • การปลูกต้นอ่อนทานตะวัน
    • การปลูกต้นอ่อมแซบหรือต้นเบญจรงค์ 5 สี เพื่อใช้ประกอบอาหารในโครงการอาหารกลางวันของนักเรียน
    • การเลี้ยงปลาดุกในวงบ่อซีเมนต์
    • การทำปุ๋ยหมักจากใบไม้
    • การปลูกต้นมะนาวในวงบ่อซีเมนต์
    • การปลูกผักสวนครัวในแปลงเกษตร โดยผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนปลูกผักตามฤดูกาล จัดจำหน่ายให้แก่สหกรณ์นักเรียน และโครงการอาหารกลางวัน ในการประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียนรับประทานดูแลรับผิดชอบโดยนักเรียนชั้น ป.4-6
    • การปลูกต้นอ่อนทานตะวัน เพื่อจำหน่ายให้แก่สหกรณ์นักเรียน และโครงการอาหารกลางวัน ในการประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียนรับประทานดูแลรับผิดชอบโดยนักเรียนชั้น ป.4-6
    • การปลูกต้นอ่อมแซบหรือต้นเบญจรงค์ 5 สี ในบริเวณโรงเรียน ตัดจำหน่ายให้แก่สหกรณ์นักเรียน และโครงการอาหารกลางวัน เพื่อใช้ประกอบอาหารกลางวันของนักเรียน และสามารถใช้เป็นไม้ประดับตกแต่งสถานที่ให้สวยงาม
    • การเลี้ยงปลาดุกในวงบ่อซีเมนต์เลี้ยงลูกปลาดุกในวงบ่อซีเมนต์ เมื่อโตเต็มที่จับขายให้สหกรณ์ และโครงการอาหารกลางวันต่อไป
    • การทำปุ๋ยหมักจากใบไม้ โดยใช้เศษใบไม้แห้งในโรงเรียนที่มีอยู่จำนวนมาก ทำคอกหมักปุ๋ยใส่ใบไม้แห้งสลับชั้นกับปุ๋ยคอก
    • เพิ่มพื้นที่ในการปลูกผักสวนครัวให้มีความหลากหลายมากขึ้น และเพียงพอกับความต้องการ
    • เพิ่มพื้นที่ในการเลี้ยงปลาดุก
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    2. สหกรณ์นักเรียน
    • การบริหารจัดการสหกรณ์นักเรียนโดยคณะกรรมการนักเรียน
    • การจำหน่ายสินค้าด้วยหลักคุณธรรม(ความซื่อสัตย์) ในการจ่ายและทอนเงินด้วยตนเองฝึกการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และนักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านความซื่อสัตย์
    • การบริหารจัดการสหกรณ์นักเรียนโดยคณะกรรมการนักเรียน โดยแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน ตามโครงสร้างการบริหารงาน นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการทำงาน หลักฐานอ้างอิง – ภาพถ่ายกิจกรรม
    • การจำหน่ายสินค้าด้วยหลักคุณธรรม(ความซื่อสัตย์) ในการจ่ายและทอนเงินด้วยตนเอง เป็นการฝึกการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และนักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านความซื่อสัตย์
    • หลักฐานอ้างอิง – ภาพถ่ายกิจกรรม
    • จัดร้านค้าสหกรณ์นักเรียนให้มีสินค้าที่เป็นประโยชน์กับนักเรียนและหลากหลายมากขึ้น
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน
    • การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียนโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch ในการจัดอาหารให้กับนักเรียน ให้ได้รับอาหารที่ดีมีคุณภาพ
    • กลุ่มผักปลอดสารพิษผลิตผักสวนครัวจำหน่ายให้กับสหกรณ์และโครงการอาหารกลางวัน
    • ภาคีเครือข่ายผักปลอดสารพิษคลองทวีวัฒนาจัดจำหน่ายผักปลอดสารพิษให้โครงการอาหารกลางวัน ให้เพียงพอกับความต้องการ
    • การตรวจสอบคุณภาพอาหารให้มีมาตรฐานความปลอดภัย
    • ครูโภชนาการจัดรายการอาหารโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch ล่วงหน้า 1 สัปดาห์เพื่อให้ได้รายการอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วน ปริมาณเพียงพอเหมาะสม
    • แม่ครัว ประกอบอาหารให้นักเรียนโดยการดูแลของครูโภชนาการ
    • การจัดบริการอาหารให้นักเรียนเพียงตามเกณฑ์การบริโภคผัก ผลไม้
    • การประกอบอาหารที่เป็นผักโครงการฯใช้ผักปลอดสารพิษ ผลิตโดยกลุ่มผัก ยังไม่เพียงพอกับความต้องการได้ภาคีเครือข่ายผักปลอดสารพิษคลองทวีวัฒนาส่งผักปลอดสารพิษให้กับทางโรงเรียน
    • ตรวจสอบคุณภาพอาหารสด อาหารแห้ง แม่ครัว ภาชนะ และสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน โดยใช้นักเรียนชมรมอย.น้อยตรวจสอบอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
    • หลักฐานอ้างอิง ภาพถ่ายกิจกรรม
    • พัฒนาเมนูอาหารให้มีความหลากหลายมากขึ้น
    • สร้างเครือข่ายชมรม อย.น้อยให้มีความเข้มแข็งมากขึ้น
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน
    • การประเมินภาวะโภชนาการด้วยตนเองของนักเรียน โดยใช้สื่อสร้างสรรค์ “BODYPERFECTBYBANGJAK” เป็นสื่อ Board die cut ตัวเด็กชายอ้วน กับเด็กชายรูปร่างสมส่วน ยืนถือแผ่นตารางเกณฑ์การประเมินภาวะโภชนาการด้วยตนเองอยู่ตรงกลาง และสื่อตัวเด็กหญิงอ้วน กับเด็กหญิงรูปร่างสมส่วน ยืนถือแผ่นตารางเกณฑ์การประเมินภาวะโภชนาการด้วยตนเองอยู่ตรงกลางใช้ประกอบกับเครื่องชั่งน้ำหนัก และไม้วัดส่วนสูงให้นักเรียนชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูงด้วยตนเองและประเมินภาวะโภชนาการด้วยตนเองเป็นระยะๆว่า มีรูปร่างสมส่วนเหมาะสมตามวัยหรือไม่
    • การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนโดยชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูงนักเรียนภาคเรียนละ 2 ครั้ง เพื่อประเมินภาวะโภชนาการของนักเรียนและแก้ไขปัญหา และนักเรียนสามารถประเมินตัวเองได้เป็นระยะๆ โดยใช้สื่อสร้างสรรค์ “BODYPERFECTBYBANGJAK” ในการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้น ให้มีรูปร่างสมส่วนตามวัย
    • การทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียนตามเกณฑ์ของกรมพลศึกษา และกรุงเทพมหานคร
    • หลักฐานอ้างอิงภาพถ่ายกิจกรรม
    • จัดทำนวัตกรรมในการออกกำลังกายที่ช่วยส่งเสริมภาวะโภชนาการของนักเรียนให้มีรูปร่างสมส่วนตามวัย
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน
    • การส่งเสริมการแปรงฟันหลังรับประทานอาหารทุกกวัน โดยใช้เพลงแปรงฟัน รณรงค์การแปรงฟัน
    • นักเรียนอสร.ฝึกสอนการล้างมือ 7 ขั้นตอน เพื่อสุขอนามัยที่ดี
    • การทำโครงงานสบู่กระดาษสมุนไพร เพื่อใช้ล้างมือป้องกันเชื้อโรค สบู่กระดาษสามารถพกพาได้สะดวก ใช้ได้ทุกสถานที่
      ทำให้มือของเราสะอาดปราศจากโรค
    • รณรงค์ให้นักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวันทุกวัน โดยการเปิดเพลงแปรงฟัน เมื่อถึงเวลาแปรงฟันของนักเรียน
    • ให้นักเรียนอสร.ฝึกสอนการล้างมือ 7 ขั้นตอน
    • หลักฐานอ้างอิง ภาพถ่ายกิจกรรม
    • ถุงสุขภาพประจำตัวนักเรียนส่งเสริมอนามัยของนักเรียน
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
    • พัฒนาพื้นที่และสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้เป็นพื้นที่สุขภาวะ
    • ปลูกต้นไม้ให้ร่มรื่นสวยงาม
    • พัฒนาพื้นที่ด้านหลังบ้านพักครูที่รกร้างให้เป็นที่พื้นที่สุขภาวะ
    • การประเมินสุขาภิบาลอาหารและสิ่งแวดล้อม
    • พัฒนาพื้นที่และสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้เป็นพื้นที่สุขภาวะ โดยใช้ขยะรีไซเคิลในการปรับภูมิทัศน์ให้ร่มรื่นสวยงามที่เอื้อต่อการเรียนรู้
    • ปลูกต้นไม้ให้ร่มรื่นสวยงาม
    • พัฒนาพื้นที่ด้านหลังบ้านพักครูที่รกร้างให้เป็นที่พื้นที่สุขภาวะ โดยทำเป็นฐานการเรียนรู้การปลูกมะนาวในวงบ่อซีเมนต์ และฐานการเรียนรู้สวนผักคนเมือง
    • การดูแลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้สะอาดปลอดภัย โดยมีการประเมินสุขาภิบาลอาหารและสิ่งแวดล้อมอย่างสม่ำเสมอ หลักฐานอ้างอิง – ภาพถ่ายกิจกรรม
    • ปรับภูมิทัศน์ด้านข้างโรงเรียนให้เป็นพื้นที่สุขภาวะ
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน
    • การตรวจสุขภาพของนักเรียนโดย นักเรียน อสร. ทุกๆ วันจันทร์
    • การตรวจสุขภาพนักเรียน โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
    • การพัฒนาน้ำยากำจัดเหา โดยใช้สมุนไพรที่มีในชุมชน
    • การตรวจสุขภาพของบุคลากรในโรงเรียน ปีละ 1 ครั้ง
    • การตรวจสุขภาพของนักเรียนโดย นักเรียนอสร.ทุกๆ วันจันทร์ ตรวจสุขภาพและความสะอาดของร่างกายนักเรียน โดยมีทีมอสร.แต่ละชั้นเรียนดูแลนักเรียน
    • การตรวจสุขภาพนักเรียน โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ดูแลการตรวจสุขภาพ การฉีดวัคซีนป้องกันโรค การวัดสายตา และทันตแพทย์ดูแลสุขอนามัยในช่องปากของนักเรียน
    • การพัฒนาน้ำยากำจัดเหา โดยใช้สมุนไพรที่มีในชุมชน ในการกำจัดเหา
      นักเรียนหญิง ในการใช้น้ำสมุนไพรผสม ครีมนวดผม กำจัดเหานักเรียนปลอดภัยต่อนักเรียน
    • การตรวจสุขภาพของบุคลากรในโรงเรียน ปีละ 1 ครั้ง ดูแลสุขภาพแก่ บุคลากรในโรงเรียน หลักฐานอ้างอิง – ภาพถ่ายกิจกรรม

    กิจกรรมเด็กไทยไร้พุง

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย
    • จัดการเรียนรู้บูรณาการแบบ PBL ด้านเกษตร สหกรณ์ อาหารโภชนาการ และสุขภาพอนามัยทุกชั้นเรียน
    • ฐานการเรียนรู้สู่ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
    • ค่ายการเรียนรู้ “เด็กไทยแก้มใส”
    • การจัดกิจรรมพัฒนาทักษะชีวิต (Project Approach)
    • การศึกษาดูงานการเกษตร ณ สวนลุงรีย์ และศูนย์เรียนรู้ออร์แกนิคเวย์
    • จัดการเรียนรู้บูรณาการแบบ PBL ด้านเกษตร สหกรณ์ อาหารโภชนาการ และสุขภาพอนามัยทุกชั้นเรียน ให้นักเรียนเรียนรู้ตลอดปีการศึกษา
    • ฐานการเรียนรู้สู่ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส โดยพัฒนาพื้นที่ในโรงเรียนให้เป็นฐานการเรียนรู้ 7 ฐาน ให้นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนผู้สนใจได้เข้ามาเรียนรู้และนำไปต่อยอดในชีวิตประจำวัน
    • ค่ายการเรียนรู้ “เด็กไทยแก้มใส” ให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้นอกห้องเรียนหมุนเวียนในแต่ละฐานผ่านกิจกรรมค่ายใน 6 ฐานกิจกรรม ฐานที่ 1 Body Perfect ฐานที่ 2 อ่านเป็น กินเป็น ฐานที่ 3 มหัศจรรย์ 5 รหัสลับ ฐานที่ 4 กินเปลี่ยนชีวิต ฐานที่ 5 กินตามธงโภชนาการ ฐานที่ 6 ขยับเพลินๆ เบริ์นแคลอรี่
    • การจัดกิจรรมพัฒนาทักษะชีวิต (Project Approach) โดยแบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 3 คน มีครูที่ปรึกษา 1 คน ให้นักเรียนคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ หาข้อมูลที่จะดำเนินงานโครงการของกลุ่มตนเอง ภาคเรียนละ 1 ชิ้นงาน
    • การศึกษาดูงานการเกษตร ณ สวนลุงรีย์ และศูนย์เรียนรู้ออร์แกนิคเวย์ ศึกษาดูงานการเกษตรพอเพียง เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้จริง เพื่อนำความรู้มาพัฒนางานในโรงเรียนครอบครัว และชุมชน หลักฐานอ้างอิง – ภาพถ่ายกิจกรรม
    • บูรณาการการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
    • พัฒนาฐานการเรียนรู้ให้เป็นระบบมากขึ้นเชื่อมโยงในทุกมิติ
    • การศึกษาดูงานการเกษตรจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เพื่อนำมาพัฒนางาน
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    9. อื่น ๆ

     

     

     

    2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

    1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

    ปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จคือความร่วมมือในการทำงานร่วมกันทุกหน่วยงานภาคีเครือข่ายเป็นอย่างดีเยี่ยมในการแนะแนวทางและกิจกรรมพัฒนา สนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใสให้การดำเนินงานสัมฤทธิ์ผล จาก ศูนย์วิจัยเพื่อการพัฒนาชุมชน(ศวพช.) มหาวิทยาลัยสยามชุมชนศิรินทร์ และเพื่อนบริษัท ซีพีออลล์ (มหาชน)จำกัด ศูนย์บริการสาธารณสุข 47 มหาวิทยาลัยมหิดล สถานีตำรวจนครบาลภาษีเจริญ ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยมูลนิธิ Save the children ธนาคารออมสิน สาขาเนติบัณฑิตยสภา สำนักงานเขตภาษีเจริญ บริษัทสวนเงินมีมา กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกลุ่มผักปลอดสารพิษคลองทวีวัฒนา และผู้ปกครองนักเรียน

    2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

    ปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จคือพื้นที่โรงเรียนมีขนาด 5 ไร่ กว้างขวางเพียงพอสำหรับให้นักเรียนได้ทำกิจกรรมต่างๆ อย่างเต็มที่สภาพแวดล้อมร่มรื่นสวยงาม บรรยากาศเอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียน ในการทำกิจกรรมฐานการเรียนรู้สู่ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส การผลิตผักปลอดสารพิษใช้ในโครงการอาหารกลางวัน

    3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

    ปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จคือ บุคลากรทุกคนในโรงเรียนที่คอยขับเคลื่อนการทำงาน ฟันเฟืองทุกตัวทำให้งานเกิดประสิทธิผลและความร่วมมือร่วมใจในการทำงานเป็นทีมบุคลากรเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ซึ่งกันและกันและผู้บริหารสถานศึกษา คอยผลักดัน ส่งเสริม สนับสนุน ให้คำแนะนำแนวทางในการทำงาน ให้กำลังใจในการพัฒนางานต่างๆ ให้เป็นโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

    4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

    ปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จคือ การเรียนรู้แบบบูรณาการ(PBL)การเรียนรู้โดยใช้ประสบการณ์จริง นักเรียนได้เรียนรู้และลงมือปฏิบัติงานด้วยตนเอง ส่งผลให้นักเรียนมีพัฒนาการทางการเรียนรู้ที่ดี สามารถนำความรู้ไปใช้นาการพัฒนางานในโรงเรียน และครอบครัว

    5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

    ปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จคือ การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและคณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองที่คอยผลักดัน ส่งเสริม สนับสนุน ให้คำแนะนำแนวทางในการทำงาน การพัฒนางานต่างๆ ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีเยี่ยม ให้เป็นโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

    กลุ่มผักปลอดสารพิษปลูกผักในแปลงเกษตรโดยนักเรียนชั้น ป.4-6 เป็นผู้ดูแล

    • ผักกวางตุ้งปริมาณเดือนละ 15 กก.
    • ผักบุ้งจีน ปริมาณเดือนละ 15 กก.
    • ผักบ๊อคฉ่อย ปริมาณ 7 กก.
    • ผักโขม ปริมาณ 5 กก.
    • ผักอ่อมแซบ ปริมาณ 10กก.
    • ผักหัวไช้เท้า ปริมาณ 14 กก.
    • ต้นอ่อนทานตะวันปริมาณ 5กก.

    ปริมาณของผักที่ผลิตในโรงเรียนไม่เพียงพอ

    บัญชีกิจกรรมผักปลอดสารพิษ

    ผลิตผักให้หลากหลายและมีปริมาณเพิ่มมากขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

    ทางโรงเรียนไม่มีการดำเนินงานเนื่องจากโรงเรียนอยู่ใกล้ชุมชน ไม่สามารถเลี้ยงได้

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

    กลุ่มการเลี้ยงปลาดุก เลี้ยงปลาดุกในวงบ่อซีเมนต์ปริมาณ 10กก. ปริมาณไม่เพียงพอกับความต้องการ

    บัญชีกิจกรรมการเลี้ยงปลาดุก

    พัฒนาระบบการบริหารจัดการให้ดีขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

    มีโครงการอาหารเช้าให้กับนักเรียน หัวละ 5 บาท โดยให้แม่ครัวประกอบอาหารหมุนเวียนรายการอาหารในแต่ละสัปดาห์

    -โครงการอาหารเช้าของกรุงเทพมหานคร -ภาพถ่ายกิจกรรม

    -จัดรายการอาหารให้หลากหลาย

    5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

     

    -โครงการอาหารกลางวัน -ภาพถ่ายกิจกรรม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ ให้เด็กประถม 6-12 ปี ได้รับผัก ไม่น้อยกว่า 60 กรัม ผลไม้ 100 กรัม เป็นประจำสัปดาห์ละ 4 วัน อีก 1 วันเป็นขนมไทย

    -โครงการอาหารกลางวัน -ภาพถ่ายกิจกรรม

    -จัดผักและผลไม้ให้นักเรียนได้รับประทานหลากหลายชนิดมากขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

    ทางโรงเรียนได้จัดหาเครือข่ายผักปลอดสารพิษจากคลองทวีวัฒนามาส่งผักให้กับทางโรงเรียนให้เพียงพอกับความต้องการ

    -บิลใบเสร็จซื้อผักจากคุณอเนก เครือข่ายผักปลอดสารพิษจากคลองทวีวัฒนา

    -ให้เครือข่ายผักปลอดสารพิษจากคลองทวีวัฒนามาส่งผักให้กับทางโรงเรียนอย่างสม่ำเสมอ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

    -

    -

    -

    4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

    ครูโภชนาการที่ดูแลโครงการอาหารกลางวันจัดทำรายการอาหารล่วงหน้า 1 สัปดาห์ ตามโปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์

     

    -โปรแกรม Thai School Lunchควรมีรายการอาหารที่หลากหลายมากขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

    ครูอนามัยมีการชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูงประเมินติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้งครบถ้วน เพื่อดูพัฒนาการและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน

    -แฟ้มการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน

     

    3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

    สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

    ภาวะ2558 1/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/2
    เตี้ย 2.18 2.18% 3.15 3.15% 0.90 0.90% 1.36 1.36% 0.92 0.92% 0.48 0.48% 1.92 1.92% 2.94 2.94% 0.95 0.95% 1.42 1.42%
    เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 7.86 7.86% 9.01 9.01% 6.31 6.31% 5.91 5.91% 5.50 5.50% 5.26 5.26% 7.21 7.21% 7.84 7.84% 7.58 7.58% 7.11 7.11%
    ผอม 1.75 1.75% 0.45 0.45% 2.25 2.25% 0.91 0.91% 0.92 0.92% 0.46 0.46% 2.40 2.40% 2.45 2.45% 2.37 2.37% 0.47 0.47%
    ผอม+ค่อนข้างผอม 7.42 7.42% 4.05 4.05% 6.31 6.31% 4.55 4.55% 7.80 7.80% 9.13 9.13% 8.65 8.65% 9.31 9.31% 9.00 9.00% 4.27 4.27%
    อ้วน 5.24 5.24% 4.95 4.95% 8.11 8.11% 5.91 5.91% 7.80 7.80% 6.39 6.39% 5.77 5.77% 5.39 5.39% 5.69 5.69% 5.21 5.21%
    เริ่มอ้วน+อ้วน 7.86% 7.86% 8.56% 8.56% 13.51% 13.51% 12.73% 12.73% 13.30% 13.30% 12.79% 12.79% 11.54% 11.54% 11.76% 11.76% 10.90% 10.90% 11.37% 11.37%
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร
    • นักเรียนที่ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนมีกิจกรรมการออกกำลังกายในโครงการเด็กไทยไร้พุง
    • นักเรียนที่ภาวะค่อนข้างผอมและผอมให้อาหารเสริมนม
    • โครงการเด็กไทยไร้พุง
    • โครงการอาหารนมเสริม
    • นักเรียนที่ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนมีกิจกรรมการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้นในโครงการเด็กไทยไร้พุงและโครงการส่งเสริมการบริโภคลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผักและผลไม้
    • นักเรียนที่ภาวะค่อนข้างผอมและผอมให้อาหารเสริมนม และเพิ่มไข่ต้ม หรือกล้วยน้ำว้า
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร
    • ผู้ปกครองให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมกับทางโรงเรียนอย่างดี โดยทางโรงเรียนได้จัดตั้ง LINE กลุ่มเครือข่ายผู้ปกครองในการให้ข้อมูลด้านความรู้สุขภาพที่เป็นประโยชน์
    • จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ลดอ้วน ลดพุง หุ่นดี” ให้กับนักเรียนและผู้ปกครองนักเรียน โดยเชิญวิทยากรจากศูนย์บริการสาธารณสุข 47 คลองขวางมาให้ความรู้เพื่อดูแลนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการเกิน
    • โครงการ
    • ภาพถ่ายกิจกรรม
    • พัฒนาเครือข่าย LINE กลุ่มเครือข่ายผู้ปกครอง
    • ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพกับนักเรียนและผู้ปกครอง
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

    -

    -

    -

    5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

    ปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จคือความร่วมมือในการทำงานร่วมกันทุกหน่วยงานภาคีเครือข่ายเป็นอย่างดีเยี่ยมในการแนะแนวทางและกิจกรรมพัฒนา สนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใสให้การดำเนินงานสัมฤทธิ์ผล จาก ศูนย์วิจัยเพื่อการพัฒนาชุมชน(ศวพช.) มหาวิทยาลัยสยามชุมชนศิรินทร์ และเพื่อนบริษัท ซีพีออลล์ (มหาชน)จำกัด ศูนย์บริการสาธารณสุข 47 มหาวิทยาลัยมหิดล สถานีตำรวจนครบาลภาษีเจริญ ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยมูลนิธิ Save the children ธนาคารออมสิน สาขาเนติบัณฑิตยสภา สำนักงานเขตภาษีเจริญ บริษัทสวนเงินมีมา กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกลุ่มผักปลอดสารพิษคลองทวีวัฒนา และผู้ปกครองนักเรียน

    หมายเหตุ *

    • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    โรงเรียนบางจาก (โกมลประเสริฐอุทิศ) จังหวัด กรุงเทพมหานคร

    รหัสโครงการ ศรร.1232-118

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวอมรา โรจนเมธินทร์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด