แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านโป่งสวองคีรีวรรณ์


“ โรงเรียนบ้านโป่งสวองคีรีวรรณ์ ”

ตำบลซับจำปา อำเภอท่าหลวง จังหวัดลพบุรี

หัวหน้าโครงการ
นายนิมิตร โลหะเวช

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านโป่งสวองคีรีวรรณ์

ที่อยู่ ตำบลซับจำปา อำเภอท่าหลวง จังหวัดลพบุรี จังหวัด ลพบุรี

รหัสโครงการ ศรร.1212-031 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ก.1

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านโป่งสวองคีรีวรรณ์ จังหวัดลพบุรี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลซับจำปา อำเภอท่าหลวง จังหวัดลพบุรี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านโป่งสวองคีรีวรรณ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านโป่งสวองคีรีวรรณ์



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านโป่งสวองคีรีวรรณ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลซับจำปา อำเภอท่าหลวง จังหวัดลพบุรี รหัสโครงการ ศรร.1212-031 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านโป่งสวองคีรีวรรณ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 159 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียน บ้านโป่งสวองคีรีวรรณ์ จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะในการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริงได้
  2. เพื่อค้นหารูปแบบและลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของนักเรียน ให้มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
  3. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและคนในชุมชน ให้มีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหารที่ดีต่อสุขภาพ และสร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน
  4. เพื่อสร้างความตระหนักและความตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภขนาการ และสุขภาพของนักเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียนลดน้อยลง
    2. นักเรียนมีสุขภาวะที่ดี มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรงและเติบโตสมวัย
    3. นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันครบทุกคน มีความสะอาด ปลอดภัยและถูกหลักอนามัย
    4. น้ำหนักและส่วนสูงของนักเรียนเป็นไปตามเกณฑ์
    5. นักเรียนได้รับประทานอาหารครบทั้ง 5 หมู่
    6. พัฒนาการทางสติปัญญาทางการเรียนรู้ของนักเรียนเพิ่มมากขึ้น
    7. นักเรียนปฏิบัติตามหลักสุขบัญญัติแห่งชาติได้
    8. การจัดการระบบสุขาภิบาลอาหารปลอดภัยในโรงเรียน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมชี้แจงโครงการ

    วันที่ 18 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมผู้ปครองนักเรียนชี้แจงรายละเอียดของโครงการเด็กไทยแก้มใส ต้งแต่ปีที่1  จนต่อเนื่องเป็นศูนย์เรียนรู้  ในปีที่ 2 การได้รับความร่วมมือจากองค์กรอื่นๆ  เช่น  สำนักงานเกษตรและสหกรณ์การเกษตรจังหวัดลพบุรี ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวลพบุรี  องค์การบริหารส่วนจังหวัดลพบุรี  องค์การบริหารส่วนตำบลซับจำปา รพ.สต.ซับจำปา ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านหนองผักแว่น(บ้านไร่มอญพันธ์)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้ปกครองนักเรียน นักเรียน  ครูและบุคลากรของโรงเรียนให้ความร่วมมือในโครงการเป็นอย่างดี  ผู้ปกครองเข้าร่วมกิจกรรมการประชุม 100 คน  โดยเฉพาะผู้ปกครองนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์  รพ.สต.ซับจำปาให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการ ปัญหาของนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินกว่าเกณฑ์ที่กำหนด และความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน

     

    258 223

    2. การประเมินภาวะโภชนาการนักเรียนทุกช่วงชั้น โดยใช้โปรแกรม............ ช่วงต้นเทอม 1

    วันที่ 23 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงนักเรียนทุกคน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนรู้และเปรียบเทียบน้ำหนักส่วนสูงของตนเองได้

     

    139 139

    3. กิจกรรมการเสริมสร้างภาวะโภชนาการ(เติบโตสมวัย) เครื่องชั่งน้ำหนัก

    วันที่ 31 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูง ของนักเรียนทุกคน  และนำไปกรอกในโปรแกรมเพื่อหาภาวะโภชนาการ และให้นักเรียนได้ออกกำลังกายตามความเหมาะสม ทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียนเทอมละ 1 ครั้ง  ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงนักเรียนทุกคน เทอมละ 2 ครั้ง คือ ต้นเทอมและปลายเทอม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนรู้น้ำหนักและส่วนสูงของตัวเอง สามารถเปรียบเทียบได้และเลือกออกกำลังกายอย่างเหมาะสม สามารถนำไปปฏิบัติต่อได้ โดยภาพรวมของโรงเรียนจะมีนักเรียนได้ชั่งน้ำหนักและวัดส่วยสูงครบทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100

     

    144 139

    4. กิจกรรมการพัฒนาระบบสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน(ถังดักไขมันพร้อมอุปกรณ์)

    วันที่ 29 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ซื้อถังดักไขมันและอุปกรณ์ข้อต่อต่างๆ มาติดตั้ง เพื่อติดตั้งระบบบำบัดน้ำเสีย ลดปัญหาน้ำเน่าเหม็น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีถังดักไขมันที่สามารถใช้งานได้ เพื่อความสะอาดของน้ำที่จะทิ้ง นักเรียนสามารถใช้งานได้ ระบบสุขาภิบาลที่ดี ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของนักเรียน ร้อยละ 100

     

    138 138

    5. อบรมการจัดการสหกรณ์นักเรียน

    วันที่ 7 กรกฎาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เจ้าหน้าที่จากสหกรณ์มาให้ความรู้แก่นักเรียนในโรงเรียน โดยมีโรงเรียนเครือข่ายมาเข้าร่วมกิจกรรม ชั้น ป.4-6 จำนวน 3 โรงเรียน คือ โรงเรียนบ้านบ่อคู่ โรงเรียนบ้านหนองจาน  โรงเรียนบ้านทุ่งดินแดง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมเข้าใจในระบบสหกรณ์มากขึ้น สามรถนำความรู้ที่ได้มาปฏิบัติต่อได้ร้อยละ 70 สามารถจัดทำบัญชีรายรับ รายจ่ายของตนเองได้ถูกต้องคิดเป็นร้อยละ 70

     

    55 88

    6. เวชภัณฑ์ยาและการดูแลเบื้องต้น

    วันที่ 16 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ยาสามัญประจำบ้านให้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนได้ใช้ในยามเจ็บป่วยเบื้องต้น และอุปกรณ์ปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อเจออุบัติเหตุที่ไม่ร้ายแรง 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนสามารถรักษาพยาบาลได้เบื้องต้น สามารถใช้ยาได้ถูกวิธี การปฐมพยาบาลเบื้องต้นก่อนนำส่งไปรักษาต่อ จัดเวรห้องพยาบาลเพื่อดูแลเบื้องต้น ซึ่งเมื่อเจอปัญหาสามารถแจ้งกับคุณครูพยาบาลได้ถูกต้องและรวดเร็ว

     

    30 139

    7. เลี้ยงไก่ไข่เพิ่ม

    วันที่ 26 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำแม่ไก่ไข่มาเลี้ยง จำนวน 50 ตัว  ซื้ออาหารไก่ไข่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนสามารถนำกิจกรรมการเลี้ยงไก่ไข่ไปปฏิบัติต่อที่บ้านได้โดยร่วมกับผู้ปกครองนักเรียน มีไข่ไก่ส่งเข้าสู่โครงการอาหารกลางวัน นักเรียนได้รับประทานไข่ไก่ที่มีโปรตีนสูง ทุกคน
    ซื้ออาหารไก่ไข่แล้ว 4 ลูก

     

    80 86

    8. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 และขอเบิกเงินงวดที่ 2

    วันที่ 16 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงรายละเอียดเพิ่มเติมให้ครบถ้วนและแก้ไขเพิ่มเติมหลักฐานทางการเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครูเข้ารับการประชุมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 2 คน พร้อมทั้งนำเอกสารทางการเงินกลับมาแก้ไขเพิ่มเติมให้ครบถ้วน ถูกต้อง

     

    2 2

    9. ซื้ออาหารไก่ไข่เพิ่ม(จากกิจกรรมเลี้ยงไก่ไข่เพิ่ม)

    วันที่ 21 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อาหารไก่ไข่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีอาหารสำหรับไก่ไข่ที่เพียงพอกับไก่ในระยะเวลาหนึ่ง

     

    139 90

    10. ซื้อ ฮูล่าฮูป จานทวิสและเชือกกระโดด

    วันที่ 28 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเตรียมอุปกรณ์ ตรวจสภาพความปลอดภัยของอุปกรณ์ เพื่อความปลอดภัยของนักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดกิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสมสำหรับเด็กในแต่ละช่วงวัยโดยคำนึงถึงความปลอดภัยของนักเรียนทุกคนนักเรียนได้ออกกำลังกายด้วยกัน อย่างน้อยวันละ 30 นาทีโดยใช้อุปกรณ์ที่จัดหามาให้

     

    139 139

    11. ทำไวนิลธงโภชนาการและสุขบัญญัติ 10 ประการ

    วันที่ 10 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้ายไวนิล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ประกอบอาหาร ได้ศึกษาข้อมูลและปฏิบัติตามป้ายไวนิลเกี่ยวกับธงโภชนาการและสุขบัญญัติ 10 ประการ

     

    136 136

    12. อบรมภาวะโภชนาการ

    วันที่ 11 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมบุคลากรที่เกี่ยวข้อง จัดทำกำหนดการอบรม เชิญผู้ที่ต้องเข้าร่วมกิจกรรม 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้ปกครองเข้าร่วมร้อยละ 100  ผู้ปกครองให้ความร่วมมือในการอบรมเป็นอย่างดี

     

    259 241

    13. การประเมินภาวะโภชนาการนักเรียนทุกช่วงชั้น โดยใช้โปรแกรม............ ช่วงต้นเทอม 2 ครั้งที่ 3

    วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงของนักเรียนตามรอบที่กำหนดไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้รับการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงครบทุกคน

     

    139 141

    14. การประเมินภาวะโภชนาการนักเรียนทุกช่วงชั้น โดยใช้โปรแกรม............ ช่วงปลายเทอม 2 ครั้งที่ 4

    วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดนักเรียนทุกชั้น ให้ได้รับการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงของทุกคน และนำข้อมูลที่ได้ กรอกเข้าโปรแกรมเพื่อหาภาวะโภชนาการของนักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงกันทุกคน ร้อยละ  100 และะมีการกรอกข้อมูลลงโปรแกรมเพื่อคำนวณหาภาวะโภชนาการทุกคน

     

    126 128

    15. ซื้อกระดาษ A4 สำหรับบันทึกภาวะโภชนาการและะสมรรถภาพนักเรียนรายบุคคล

    วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ใช้ถ่ายเอกสารแบบบันทึกสมรรถภาพทางกายของนักเรียนทุกคน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนผ่านการทดสอบสรรถภาพทางกายและมีการบันทึกผลทุกคน ร้อยละ 100

     

    139 139

    16. อบรมการเกษตรในโรงเรียน

    วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กำหนดวันในการจัดการอบรม ทำหนังสือเชิญให้โรงเรียนเครือข่ายเข้าร่วมกิจกรรม มีกิจกรรม 4 ฐาน ดังนี้ 1.การทำเชื้อเห็ดนางฟ้า 2.การเพาะทานตะวันอ่อน 3.การทำน้ำหมักชีวภาพ 4.การเลี้ยงไส้เดือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมในแต่ละฐานครบทุกฐาน ร้อยละ 100 โดยวิทยากรที่มีความรู้ในแต่ละฐาน

     

    125 105

    17. ซื้ออาหารไก่ไข่เพิ่ม

    วันที่ 6 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ซื้ออาหารสำหรับไก่ไข่เพิ่ม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ซื้อาหารไก่ไข่สำหรับแม่ไก่ที่กำลังออกไข่ครบ ร้อยละ 100

     

    146 140

    18. ป้ายประชาสัมพันธ์มารยาทในการรับประทานอาหาร

    วันที่ 6 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้ายไวนิลมารยาทในการรับประทานอาหาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้เรียนรู้มารยาทในการรับประทานอาหารร้อยละ 100

     

    130 140

    19. การอบรมการสุขาภิบาลอาหาร

    วันที่ 28 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดการอบรมเรื่องการสุขาภิบาลอาหาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้ปกครองและนักเรียนได้เข้ารับการอบรมในเรื่องการสุขาภิบาลอาหารครบทุกคน ร้อยละ 100

     

    45 45

    20. จัดทำรายงานปิดโครงการ งวด 2 พร้อมคืนดอกเบี้ย

    วันที่ 7 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนดอกเบี้ยโครงการให้ สสส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้คืนดอกเบี้ยให้ สสส. จำนวน 33.25  บาท 

     

    1 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะในการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริงได้
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดี มีทักษะและสามารถนำไปใช้ในชิวิตประจำวันได้ ร้อยละ 80

    นักเรียนในโรงเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการทางด้านร่างกายสมบูรณื แข็งแรง มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดี สามารถนำทักษะจากการปฏิบัติงานไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ร้อยละ 75

    2 เพื่อค้นหารูปแบบและลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของนักเรียน ให้มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด : ปัญหาทางด้านสุขภาพและโภชนาการลดน้อยลง นักเรียนมีความรู้ในการดูและส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ80

    นักเรียนมีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเองและด้านทุพโภชนาการโดยรวม ร้อยละ 60

    3 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและคนในชุมชน ให้มีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหารที่ดีต่อสุขภาพ และสร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน
    ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน ตลอดจนการจัดการสิ่งแวดล้อมทางอาหารที่ดีต่อสุขภาพร้อยละ 80

    ผู้ปกครองและชุมชนให้ความร่วมมือในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียนทุกคน ร้อยละ 80

    4 เพื่อสร้างความตระหนักและความตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภขนาการ และสุขภาพของนักเรียน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความตระหนักและตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพ ร้อยละ80

    ความตื่นตัวและตระหนักในเรื่องของการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของนักเรียน ดีขึ้นจากเดิม ร้อยละ 80

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะในการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริงได้ (2) เพื่อค้นหารูปแบบและลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของนักเรียน ให้มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและคนในชุมชน ให้มีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหารที่ดีต่อสุขภาพ และสร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน (4) เพื่อสร้างความตระหนักและความตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภขนาการ และสุขภาพของนักเรียน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านโป่งสวองคีรีวรรณ์

    รหัสโครงการ ศรร.1212-031 รหัสสัญญา 58-00-2265-ก.1 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    ใช้หญ้าเนเปียร์ซึ่งมีอยู่ในชุมชนเป็นจำนวนมากและมีโปรตีนสูงมาเป็นอาหารเสริมให้กับไก่ไข่

    ชุมชนเลี้ยงวัวนม โดยใช้หญ้าเนเบียร์เป็นอาหาร ทางโรงเรียนได้นำหญ้ามาสับ เพื่อให้ไก่ได้จิกกิน ซึ่งเป็นการเพิ่มโปรตีนให้กับไข่ไก่ โดยใช้เครื่องสับหญ้า

    นำหญ้าเนเปียร์มาปลูกเพิ่มในโรงเรียนเพื่อใช้เป็นอาหารเสริมให้กับไก่ไข่

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โรงเรียนบ้านโป่งสวองคีรีวรรณ์ จังหวัด ลพบุรี

    รหัสโครงการ ศรร.1212-031

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายนิมิตร โลหะเวช )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด