ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะในการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริงได้
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดี มีทักษะและสามารถนำไปใช้ในชิวิตประจำวันได้ ร้อยละ 80

นักเรียนในโรงเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการทางด้านร่างกายสมบูรณื แข็งแรง มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดี สามารถนำทักษะจากการปฏิบัติงานไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ร้อยละ 75

2 เพื่อค้นหารูปแบบและลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของนักเรียน ให้มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : ปัญหาทางด้านสุขภาพและโภชนาการลดน้อยลง นักเรียนมีความรู้ในการดูและส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ80

นักเรียนมีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเองและด้านทุพโภชนาการโดยรวม ร้อยละ 60

3 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและคนในชุมชน ให้มีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหารที่ดีต่อสุขภาพ และสร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน ตลอดจนการจัดการสิ่งแวดล้อมทางอาหารที่ดีต่อสุขภาพร้อยละ 80

ผู้ปกครองและชุมชนให้ความร่วมมือในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียนทุกคน ร้อยละ 80

4 เพื่อสร้างความตระหนักและความตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภขนาการ และสุขภาพของนักเรียน
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความตระหนักและตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพ ร้อยละ80

ความตื่นตัวและตระหนักในเรื่องของการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของนักเรียน ดีขึ้นจากเดิม ร้อยละ 80

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะในการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริงได้ (2) เพื่อค้นหารูปแบบและลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของนักเรียน ให้มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและคนในชุมชน ให้มีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหารที่ดีต่อสุขภาพ และสร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน (4) เพื่อสร้างความตระหนักและความตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภขนาการ และสุขภาพของนักเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh