แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย


“ โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย ”

ตำบลตาพระยา อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว

หัวหน้าโครงการ
นายวิเชษฐ นวนแก้ว

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย

ที่อยู่ ตำบลตาพระยา อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว จังหวัด สระแก้ว

รหัสโครงการ ศรร.1212-046 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ก.14

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย จังหวัดสระแก้ว" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาพระยา อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาพระยา อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว รหัสโครงการ ศรร.1212-046 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 229 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น สถานการณ์ของโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย(ภาวะสุขภาพนักเรียน /ภาวะพฤติกรรมสุขภาพนักเรียน) จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียน บ้านแก้วเพชรพลอยจึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้ โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอยได้ดำเนินการตามกิจกรรมและได้ผลที่เกิดกับนักเรียน ทำให้นักเรียนโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอยทุกคนมีสุขภาพกาย สุขนิสัยที่ดีขึ้นรู้จักดูแลสุขภาพร่างกายมีสุขภาพปากและฟันดีขึ้นนักเรียนทุกคนได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีอย่างน้อย 1ครั้ง/ปีโดยเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลตาพระยาโดยมีการตรวจสุขภาพช่องปากตรวจวัดสายตาและอื่นๆและผลจากกิจกรรมได้เกิดผลที่ดีกับนักเรียนดังนี้ นักเรียนร้อยละ 2.83 ที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน(นักเรียนที่มีน้ำหนักต่อส่วนสูงเกินเกณฑ์มาตรฐาน : มากกว่าหรือเท่ากับ +2 S.D ขึ้นไป)ซึ่งลดลง จากสถานการณ์เดิมของโรงเรียน นักเรียนร้อยละ 19 ที่มีภาวะผอม (นักเรียนที่มีน้ำหนักต่อส่วนสูงเกินเกณฑ์มาตรฐาน : มากกว่าหรือเท่ากับ +2 S.D ขึ้นไป)ซึ่งลดลง จากสถานการณ์เดิมของโรงเรียน นักเรียนร้อยละ 56 ที่มีภาวะเตี้ย (นักเรียนที่มีน้ำหนักต่อส่วนสูงเกินเกณฑ์มาตรฐาน : มากกว่าหรือเท่ากับ +2 S.D ขึ้นไป) ซึ่ง ยังเป็นปัญหาของโรงเรียนที่ต้องทำการแก้ไข
นักเรียนร้อยละ 37ที่มีส่วนสูงระดับดีและสมส่วนซึ่งทางโรงเรียนยังต้องคิดหากิจกรรมมาเพื่อพัฒนาต่อไป นักเรียนร้อยละ 12.76ที่เป็นโรคฟันผุ ซึ่งลดลง จากสถานการณ์เดิมของโรงเรียน นักเรียนร้อยละ 92.26 ที่ไม่เป็นเหา ซึ่งสูงขึ้น จากสถานการณ์เดิมของโรงเรียน นักเรียนร้อยละ 100โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอยที่มีสุขนิสัยที่พึงประสงค์ นักเรียนร้อยละ 70 โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอยที่มีความรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการและสุขภาพระดับดีขึ้นจากสถานการณ์เดิมของโรงเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการและสุขภาพของนักเรียนโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย
  2. 2.เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีทักษะและทัศนคติที่ดีทางการเกษตร
  3. 3.เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบ
  4. 4.เพื่อเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตในอนาคต

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ได้น้อมนำโครงการพระราชดำริฯสมเด็จพระเทพฯมาปฎิบัติและพัฒนานักเรียน
    2. นักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการและสุขภาพดีขึ้น
    3. นักเรียนมีทักษะและทัศนคติที่ดีทางการเกษตร
    4. โรงเรียนและชุมชน องค์กร มีการประสานความร่วมมือในการพัฒนานักเรียน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมระบบติดตามออนไลน์เด็กไทยแก้มใส

    วันที่ 27 มีนาคม 2559 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ปฏิบัติได้ 100%

     

    2 2

    2. การเพาะเห็ดนางฟ้า

    วันที่ 29 กันยายน 2559 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วิธีดำเนินการ

    กิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ การเพาะเห็ดนางฟ้าภูฏานในโรงเรือน ขั้นตอนการดำเนินงาน 1ประชุมคณะครูปรึกษาหารือ 2แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ 3ดำเนินการตามกิจกรรม -สำรวจพื้นที่ -ปรับปรุงและก่อสร้างโรงเรือน -จัดหาซื้อเชื้อและวัสดุอุปกรณ์ - แบ่งกลุ่มนักเรียนตามกลุ่มสนใจ - ดำเนินการจัดทำและจำหน่ายผลผลิต 4ประเมินผลเมื่อสิ้นสุดกิจกรรม 5สรุปวิเคราะห์รายงานผล

    พ.ค. 59 พ.ค. 59 มิ.ย. 59 มิ.ย. 59 มิ.ย. 59 มิ.ย. 59 มิ.ย.55
    ก.ค. เม.ย. 60 เม.ย. 60

    ผู้บริหารโรงเรียน และคณะครู

    นายชิราวุธ นายชิราวุธ นายชิราวุธ นายชิราวุธ นายชิราวุธ ผู้บริหารโรงเรียน และคณะครู


    4.งบประมาณ 4.1งบประมาณ13,000 บาท
    รายละเอียดงบประมาณ ค่าตอบแทน………………………บาท ค่าใช้สอย…………….……………บาท ค่าวัสดุ…………13,000………..บาท อื่นๆ………………….………….…บาท

    4.2รายละเอียดกิจกรรมการใช้งบประมาณ กิจกรรมและงบประมาณ งบประมาณ ลักษณะงบประมาณที่ใช้ สถานที่ ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ อื่นๆ
    กิจกรรมที่ 1เพาะเห็ดฟางภูฏาน 13,000


    -

    - 13,000

    รร.บ้านแก้วเพชรพลอย รวมงบประมาณ 13,000 13,000

    5.การติดตามกำกับและประเมินผล 5.1กำกับติดตามรายงานความก้าวหน้าภายในมีนาคม2560 5.2การประเมินผล ตัวบ่งชี้และสภาพความสำเร็จ วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผล -นักเรียนมีความรู้ในการเพาะเห็ดฟาง -นักเรียนมีความรู้ในเรื่องการทำอาชีพ - ตรวจสอบผลผลิต -การปฏิบัติงาน - บันทึกรายงานการดำเนินงาน - ผลิตและบัญชีรับ-จ่าย - บันทึกการสังเกตพฤติกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.นักเรียนจำนวน  70  คน  ได้เรียนรู้การเพาะเห็ดนางฟ้า 2.นักเรียนร้อยละ 50 มีผลผลิตมาจำหน่ายให้กับสหกรณ์

     

    70 70

    3. ค่าปุ๋ยคอก

    วันที่ 29 กันยายน 2559 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -จัดหาซื้อปุ๋ยคอกตามจำนวน -นักเรียนนำไปลงแปลงปลูกพืชผักทางการเกษตรตามจำนวนความเหมาะสม -สังเกตุการเจริญเติบโตของพืชผักทางการเกษตร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ปุ๋ยคอกตามจำนวน 40 ถุง นักเรียนร้อยละ 50 มีผลผลิตทางการเกษตรมาจำหน่ายให้กับสหกรณ์นักเรียน

     

    70 73

    4. จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ สื่อการจัดการเรียนการสอน

    วันที่ 29 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คุณภาพของผู้เรียนจะได้มาตรฐานตามความต้องการก็ต่อเมื่อโรงเรียนมีการวางแผนงานให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน และสามารถพัฒนาผู้เรียนได้ครอบคลุมทุกๆด้าน กระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพเป็นหัวใจหลักสำหรับผู้เรียนซึ่งถ้าไม่มีการพัฒนาผู้เรียนแล้วนั้นการพัฒนาการเรียนการสอนย่อมไม่สำเร็จผล  ดังนั้นทางโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย จึงส่งเสริมคุณภาพผู้เรียน และประสิทธิภาพของผู้เรียนเพื่อเป็นการพัฒนาทางด้านการเรียนการสอนสำหรับผู้เรียนให้มีความสามารถในการเรียนทุกกลุ่มสาระวิชาและกิจกรรมต่างๆสำหรับผู้เรียนอย่างหลากหลายและตามความสนใจเพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้เต็มศักยภาพและมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 1.ครูผู้สอนจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการด้านการเกษตร  สหกรณ์  อาหาร โภชนาการและสุขอนามัยครบทั้ง 8 ชั้นเรียน 2. ครูผู้จัดทำสื่อการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการด้านการเกษตร  สหกรณ์  อาหาร โภชนาการและสุขอนามัยครบทั้ง 8 ชั้นเรียน 3. ครูผู้สอนนำแผนและสื่อมาจัดการเรียนการสอนให้ครบทั้ง 8 เรียน  วัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้


    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต ครูจำนวน  12คน มีแผนจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการเกษตร โภชนาการและสุขภาพทุกชั้นเรียน -นักเรียนจำนวน  183  คน ได้เรียนรู้การเกษตร โภชนาการและสุขภาพ ผลลัพธ์ -ครูมีแผนจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการเกษตร โภชนาการและสุขภาพทุกชั้นเรียนและดำเนินกการตามแผน -นักเรียนร้อยละ  80 มีความรู้เรื่องการเกษตรโภชนาการและสุขภาพ

     

    195 195

    5. ประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำรายงานศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 และขอเบิกงวดที่ 2

    วันที่ 26 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานศูนย์การเรียนรู้ตันแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 และขอเบิกงวดที่ 2

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    บรรลุตามเป้าหมาย 100%

     

    2 3

    6. กิจกรรมล้างมือ กินร้อนช้อนกลาง

    วันที่ 12 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1 วางแผน 2 ผู้รับผิดชอบ 3. กำหนดกิจกรรม 4. ดำเนินตามแผน ประเมินผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนจ านวน
    183
    คน
    ได้เข้าร่วมในกิจกรรมนักเรียน สุขภาพดี นักเรียนร้อยละ
    80
    มี สุขภาพแข็งแรง

     

    183 183

    7. กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ

    วันที่ 15 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1ตามแผนงานอนามัยโรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียน จานวน 183 คน ได้รับการติดตามภาวะโภชนากการ นักเรียนที่ได้รับการติดตามและประเมินผลภาวะโภชนาการมีภาวะโภชนากการที่ดีขึ้น

     

    183 183

    8. เลี้ยงปลาดุก

    วันที่ 19 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กิจกกรมเลี้ยงปลาดุก

    1.      ชื่อกิจกรรม เลี้ยงปลาดุก
    2.      หลักการและเหตุผล           เด็กในวัยเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน ควรจะได้รับการส่งเสริมด้านโภชนาการให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณภาพและปริมาณที่เพียงพอเหมาะสมกับวัย  ซึ่งจะทำให้สุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์  สติปัญญาดี  อาหารกลางวันจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่นักเรียนจะต้องได้รับประทานทุกคน และได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบทั้ง 5 หมู่  เพื่อให้เด็กนักเรียน เติบโตเป็นบุคคลที่มีคุณภาพ มาพัฒนาประเทศชาติ ต่อไป           โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอยมีบ่อดิน และได้จัดสร้างบ่อเลี้ยง อยู่แล้ว จึงมีกิจกรรมเลี้ยงปลาเพื่อสนับสนุนโครงการอาหารกลางวันอย่างยั่งยืนต่อไป
    3.      วัตถุประสงค์           2.1.  เพื่อให้เด็กนักเรียนมีอาหารกลางวันรับประทาน           2.2  เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีประโยชน์ ครบทั้ง 5 หมู่ 2.3    เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีประสบการณ์การประกอบอาชีพทางการเกษตร (เลี้ยงปลาดุก)
    4.      เป้าหมาย           4.1  ผลผลิตจำนวน 50% ใช้เป็นอาหารกลางวันสำหรับเด็ก
              4.2  ผลผลิตจำนวน  25% นำไปแปรรูปเพื่อใช้เป็นทุนหมุนเวียนโครงการ           4.3  ผลผลิตจำนวน  25% นำไปจำหน่ายในแหล่งชุมชน
    5.      กิจกรรม / ขั้นตอนดำเนินการและการใช้งบประมาณ ที่ กิจกรรม งบประมาณ วัน เดือน ปี ที่ปฏิบัติ ค่าตอบแทน ค่าใช้ สอย ค่า วัสดุ รวม 1 2 3


    4 5 ประชุมวางแผน แต่งตั้งผู้รับผิดชอบโครงการ ดำเนินการจัดเตรียมสถานที่/วัสดุ - ลูกพันธุ์ปลาดุก
    - อาหารปลา
    ดำเนินการเพาะเลี้ยงปลาดุก ติดตาม สรุปผล รายงานผล





    7500

    6000



    6.      งบประมาณ     งบประมาณ  13500 บาท
    7.      การวัดผล/รายงานผล           7.1  จัดทำบัญชีต้นทุน           7.2  ทำรายละเอียดความคืบหน้าโครงการเป็นระยะ           7.3  วัดผลโดยจำนวนผลผลิต หรือประมาณ 80% ของจำนวนปลาที่เลี้ยง
    8.      ผลที่คาดว่าจะได้รับ     นักเรียนโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย มีอาหารกลางวันที่มีประโยชน์รับประทาน และเจริญเติบโตเป็นบุคคลที่มีคุณภาพเพื่อพัฒนาประเทศชาติต่อไป
    9.      ผู้รับผิดชอบโครงการ         โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย
    10.  สถานที่ดำเนินโครงการ     บ่อเลี้ยงปลาดุก โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต  นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 -6โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย ผลลัพธ์  นักเรียนสามารถปลูกพืชผัก เลี้ยงปลาเพื่อนำมาจำหน่าย ให้โครงการอาหารกลางวัน และนำมาบริโภคได้

     

    70 0

    9. เมล็ดพันธุ์พืช

    วันที่ 22 ธันวาคม 2559 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กิจกรรมเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    1. หลักการเหตุผล นักเรียนในโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย มีความสัมพันธ์กับการเกษตรเป็นอย่างยิ่ง อาหารที่รับประทานมาจากผลผลิตทางการเกษตรเป็นหลัก ถ้านักเรียนทุกคนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่  1-6  ทุกคนสามารถปลูกพืช และเลี้ยงสัตว์  หรือหาผลผลิตทางการเกษตรที่ทำได้ง่าย ลงทุนไม่มาก ใช้เวลาน้อย มาทำการเกษตร เพื่อสนับสนุนโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน  จะทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายได้มากเป็นการปลูกฝังค่านิยมที่ดี ฝึกอาชีพ และความรับผิดชอบของนักเรียน

    2. วัตถุประสงค์

      1. นักเรียนโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย ได้รับประทานอาหารกลางวันทุกคน
      2. มีพืช ผัก สนับสนุนการประกอบอาหารกลางวัน
      3. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ปลูกผักทุกคน
      4. นักเรียน ครู ผู้ปกครองได้พบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และดูแลนักเรียนได้ทั่วถึง
    3. เป้าหมายโครงการ ด้านปริมาณ 1.  นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ปลูกพืช ที่แปลงเกษตรในโรงเรียน 2.  มีพืชผัก สนับสนุนอาหารกลางวันของโรงเรียน 3.  นักเรียน ครู ผู้ปกครองได้พบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และดูแลนักเรียน ด้านคุณภาพ 1.  นักเรียนมีอาหารรับประทานเพียงพอทำให้ร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์ 2.  นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้น 3.  มีพืชผักปลอดสารพิษสนับสนุนอาหารกลางวัน








      4  กิจกรรม ขั้นตอนการดำเนินงาน และระยะเวลาดำเนินการ กิจกรรมที่ดำเนินการ จำนวนที่ดำเนินการ/หน่วยนับ งบประมาณที่ใช้ในแต่ละกิจกรรม ผลที่คาดว่าจะได้รับ ระยะเวลาดำเนินการ จำนวนที่คาดว่าจะไ ด้รับ คิดเป็นมูลค่า(บาท)

    4. ค่าเมล็ดพันธุ์ผัก 2000 มีผักปลอดสารพิษสนับสนุนอาหารกลางวัน

    5.  งบประมาณ    จำนวน      2,000  บาท

    6.  การประเมินผล
    ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีการวัดประเมินผล เครื่องมือ 1. บันทึกการปฏิบัติงาน - ตรวจแบบบันทึกการปฏิบัติงาน - แบบบันทึกการปฏิบัติงาน 2. ตรวจผลงาน - ตรวจผลการปฏิบัติงาน - แบบตรวจผลการปฏิบัติงาน 3. สังเกตการปฏิบัติงาน - สังเกตการปฏิบัติงาน - แบบสังเกตการปฏิบัติงาน 4. สัมภาษณ์ - สัมภาษณ์การปฏิบัติงาน และความพึงพอใจในผลงาน - แบบสัมภาษณ์


    7.  ผลที่คาดว่าจะได้รับ ทางโรงเรียนมีวัสดุที่ใช้ในการประกอบอาหารที่เกิดจากผลผลิตของนักเรียน นักเรียนมีร่างกายสมบูรณ์ แข็งแรง และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการ  โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย


    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต  นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 -6โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย ผลลัพธ์  นักเรียนสามารถปลูกพืชผัก เลี้ยงปลาเพื่อนำมาจำหน่าย ให้โครงการอาหารกลางวัน และนำมาบริโภคได้

     

    70 0

    10. กิจกรรมอบรมณ์ระบบสหกรณ์

    วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    โครงการ  ประชุมนักบัญชีน้อยโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย ……………………………………………………………. 1. หลักการและเหตุผล โครงการนักบัญชีน้อยโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย เป็นกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปลูกฝังอุดมการณ์ คุณธรรมในการดำรงชีวิตร่วมกันในสังคม โดยกระบวนการสหกรณ์ ฝึกฝนให้นักเรียนมีความรู้ และทักษะที่จำเป็นในการทำงานสหกรณ์  เช่น  การทำงานร่วมกัน  การประชุม  การทำบัญชี  การค้าขาย ตลอดขั้นตอนของการดำเนินงาน เด็กนักเรียนจะได้รับการปลูกฝัง และพัฒนาทักษะและลักษณะนิสัยของการพึ่งตนเอง การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน  รู้จักเสียสละเพื่อส่วนรวม  การทำงานร่วมกันอย่างมีระบบและแบบแผน  การจดบันทึก  การจัดทำบัญชี  หลักประชาธิปไตย 2.วัตถุประสงค์ 1. เพื่อฝึกฝนให้นักเรียนโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย มีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการทำงานสหกรณ์ เช่น  การทำงานร่วมกัน  การประชุม  การทำบัญชี  การค้าขาย 2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนประหยัด รู้จักออม  และใช้จ่ายในสิ่งที่จำเป็น
    3. เพื่อเป็นศูนย์การเรียนรู้ ขยายผลการจัดกิจกรรมสหกรณ์ไปสู่ชุมชน 3.เป้าหมาย             3.1.  เชิงปริมาณ                 - คณะครู นักเรียนโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย จำนวน 100 คน           3.2.  เชิงคุณภาพ                 - นักเรียนจะได้รับการปลูกฝัง และพัฒนาทักษะและลักษณะนิสัยของการพึ่งตนเอง การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน รู้จักเสียสละเพื่อส่วนรวม การทำงานร่วมกันอย่างมีระบบและแบบแผน การจดบันทึก  การจัดทำบัญชี หลักประชาธิปไตย

    4 .กิจกรรมและวิธีดำเนินการ               กิจกรรมและรายละเอียดการใช้งบประมาณ  ใช้งบประมาณทั้งสิ้น  8,400 บาท

    ที่ กิจกรรมและรายละเอียด งบประมาณ ระยะเวลาการปฏิบัติงาน ค่าตอบแทน ค่าจ้าง ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ
    1 เสนอโครงการ มกราคม  2560 2 แต่งตั้งคณะกรรมการ มกราคม  2560 3 ค่าเอกสารประกอบการอบรม 2,000 4 กุมภาพันธ์ 2560 4 ค่าป้ายการจัดกิจกรรม 600 4 กุมภาพันธ์ 2560 5 จ้างประกอบอาหาร 5,800 4 กุมภาพันธ์ 2560 * ถัวเฉลี่ยทุกรายการ


    5. ระยะเวลาในการดำเนินการ 4 กุมภาพันธ์ 2560 6. สถานที่ดำเนินการ โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย  ตำบลตาพระยา  อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว 7. ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวพนิดา ปุ่มหล้า 8. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการนี้         1. เพื่อฝึกฝนให้นักเรียนโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย มีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการทำงานสหกรณ์ เช่น  การทำงานร่วมกัน  การประชุม  การทำบัญชี  การค้าขาย 2. นักเรียนจะได้รับการปลูกฝัง และพัฒนาทักษะและลักษณะนิสัยของการพึ่งตนเอง การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน รู้จักเสียสละเพื่อส่วนรวม เรียนรู้หลักประชาธิปไตย 2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนประหยัด รู้จักออม  และใช้จ่ายในสิ่งที่จำเป็น
    3. เพื่อเป็นศูนย์การเรียนรู้ ขยายผลการจัดกิจกรรมสหกรณ์ไปสู่ชุมชน

                                    ผู้เสนอโครงการ   


                                (  นางสาวพนิดา  ปุ่มหล้า )
        ครูโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย

              ผู้เห็นชอบโครงการ   


                                (  นางอินทิรา  คิดเห็น )
        ครูโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย


      ผู้อนุมัติโครงการ   


                                (  นายวิเชษฐ  นวนแก้ว )
    ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย บัญชีลงเวลา
    ประชุมนักบัญชีน้อยโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย วันที่………………..เดือน………………….พ.ศ. …………. ณ  ลานอเนกประสงค์โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย

    ที่ ชื่อ-สกุล ลายมือชื่อ เวลามา ลายมือชื่อ เวลากลับ หมายเหตุ

    กำหนดการประชุมนักบัญชีน้อยโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย วันที่………………..เดือน………………….พ.ศ. …………. ณ  ลานอเนกประสงค์โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย

        เวลา กิจกรรม 08.00 - 09.00 น. ลงทะเบียน /รับอาหารเช้า 09.00 - 10.00 น. กิจกรรมนันทนาการ /ประวัติสหกรณ์ /วันสหกรณ์สากล 10.00 - 11.00 น. ประวัติสหกรณ์ในประเทศไทย 11.00 - 12.00 น. พระราชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ /สหกรณ์นักเรียน 12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหาร 13.00 – 14.00 น. กิจกรรมนันทนาการ /ระเบียบสหกรณ์
    14.00 – 15.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง /บัญชีครัวเรือน 15.00 – 16.00 น. ฝึกปฏิบัติการบันทึกบัญชีรายรับ – รายจ่าย / สรุปการประชุม ร่วมกันแสดงความคิดเห็น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต  -นักเรียน ครูจานวน 80 คน ได้รับการอบรมการจัดทาบัญชีระบบสหกรณ์ ผลผลิต  -นักเรียนร้อยละ 70จัดทาบัญชีระบบสหกรณ์ได้

     

    80 100

    11. ค่าจ้างบุคคลประกอบอาหาร

    วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต-นักเรียน ครูจานวน 80 คน ได้รับการอบรมการจัดทาบัญชีระบบสหกรณ์ ผลลัพธ์ นักเรียนร้อยละ 70จัดทาบัญชีระบบสหกรณ์ได้

     

    0 0

    12. จ่ายค่าอาหารปลาดุก

    วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ซื้ออาหารปลารอบที่ 2

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • นักเรียนจานวน 70 คน ได้เรียนรู้การเลี้ยงปลาดุก -นักเรียนร้อยละ 50 มีผลผลิตมาจาหน่ายให้กับสหกรณ์

     

    0 0

    13. จัดประชุมชี้แจงผู้ปกครองนักเรียนสร้างความเข้าใจตระหนัก ในการจัดบริการอาหาร (ครูและบุคลากรทางการศึกษา แม่ครัว ผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน และนักเรียน)

    วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    โครงการประชุมชี้แจงผู้ปกครองนักเรียนเพื่อสร้าง ความเข้าใจตระหนักในการจัดบริการอาหารกลางวัน

    หลักการและเหตุผล โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย  ต.ตาพระยา  อ.ตาพระยา จ.สระแก้ว  มีการจัดการบริการอาหารกลางวันให้เด็กปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษาเพื่อให้อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการเหมาะสมตามความต้องการของเด็กจะส่งเสริมให้เด็กมีการเจริญเติบโตตามวัย  และมีพัฒนาการทางสติปัญญาอย่างเต็มศักยภาพได้  การจัดการนอกจากคำนึงถึงปริมาณเด็กอิ่มท้องแล้วยังต้องคำนึงถึงคุณค่าทางสารอาหาร  เช่นโปรตีน  แคลเซียม  วิตามินต่างๆ  เนื่องจากอาหารแต่ละชนิดจะประกอบไปด้วยสารอาหารในปริมาณมากน้อยต่างกัน ไม่มีอาหารชนิดใดชนิดหนึ่งมีปริมาณสารอาหารต่างๆ ครบปริมาณที่ร่างกายต้องการในหนึ่งวัน
    โดยใช้โปรแกรม Thai  School  lunch  สามารถวางแผนรายการหรือสำรับอาหารที่ได้มาตรฐานความต้องการสารอาหาร ของเด็กตามวัยไว้เป็นเมนูหมุนเวียนล่วงหน้าเป็นรายเดือน  โดยมีการแสดงผลรายงานของปริมาณวัตถุดิบอาหารงบประมาณค่าวัตถุดิบอาหารและคะแนนคุณภาพอาหารตามจำนวนเด็กที่รับบริการข้อมูลจากรายงานนี้ สามารถใช้ในการตัดสินใจกำหนดเมนูหมุนเวียน และวางแผนการจัดบริการอาหารให้เหมาะสมกับงบประมาณ และวัตถุดิบอาหารที่มีในท้องถิ่นหรือฤดูกาลได้และสามารถขยายผลไปยังผู้ประกอบการอาหารกลางวันในโรงเรียนสำหรับนักเรียน ให้สามารถประกอบอาหารได้อย่างมีคุณภาพและถูกสุขลักษณะ อันเกิดประโยชน์สูงสุดต่อนักเรียนในการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนให้หมดไป ดังนั้นการให้ความรู้ด้านโภชนาการที่ถูกต้องแก่ผู้ปกครองให้เข้าใจระบบการจัดการอาหารกลางวันของโรงเรียนจึงเป็นสิ่งสำคัญ  เพื่อยึดเป็นแนวปฏิบัติให้สอดคล้องกันทั้งในโรงเรียนและที่บ้านของนักเรียน  ให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณภาพตามความต้องการ ส่งเสริมศักยภาพทางร่างกายจิตใจเจริญเติบโตเหมาะสมกับช่วงวัยต่อไป

    วัตถุประสงค์ 1. สร้างความตระหนักในการจัดบริการอาหารให้เด็กได้รับสารอาหารครบถ้วนเหมาะสมตามช่วงวัย 2. สร้างความเข้าในการบริการหารอาหารของโรงเรียนให้เด็กนักเรียนโดยใช้โปรแกรมThai School lunch กลุ่มเป้าหมาย   ผู้ปกครอง  นักเรียน  ผู้นำชุมชน  ครู  และบุคลาการทางการศึกษาโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย  จำนวน  100  คน

    กระบวนการอบรม 1.  การบรรยายความรู้  หลักการด้านอาหารและโภชนาการโดยใช้โปรแกรมThai School lunch 2.  แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์ระหว่างผู้ปกครองและผู้เข้าร่วมประชุม

    ระยะเวลาอบรม  19  กุมภาพันธ์  2560

    สถานที่จัดอบรม ลานอเนกประสงค์โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย

    ค่าใช้จ่ายในการอบรม 1. ค่าอาหาร 6,000  บาท 2. ค่าเอกสารการประชุม 20  บาท100  คน 2,000  บาท 3. ค่าวัสดุอุปกรณ์กิจกรรมสร้างทักษะการจัดบริการอาหาร 2,000  บาท

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้เข้ารับการอบรมมีความตระหนักในการจัดบริการอาหารให้เด็กได้รับสารอาหารครบถ้วนเหมาะสมตามช่วงวัย
    2. ผู้เข้ารับการอบรมมีความเข้าในการบริการหารอาหารของโรงเรียนให้เด็กนักเรียนโดยใช้โปรแกรมThai School lunch คณะวิทยากร คณะครูโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย

                  ผู้เสนอโครงการ  
      
      
              (  นางสาวกฤษณา  ราชสมบัติ )
              ครูโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย
      
                  ผู้เห็นชอบโครงการ
      
      
               ( นางอินทิรา  คิดเห็น )
              ครูโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย
      

    ผู้อนุมัติโครงการ


    ( นายวิเชษฐนวนแก้ว ) ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย








    กำหนดการโครงการประชุมชี้แจงผู้ปกครองนักเรียนเพื่อสร้าง ความเข้าใจตระหนักในการจัดบริการอาหารกลางวัน


    เวลา กิจกรรม 08.30-09.00น. ลงทะเบียนรับเอกสาร  รับอาหารว่างเช้า เปิดอบรม 09.00-09.30น. ผ่อนคลายก่อนเริ่มรายการอาหารที่จัดที่บ้าน 09.30-10.15น. ความสำคัญสารอาหาร 5  หมู่ในการจัดอาหารกลางวันเพื่อการเจริญเติบโต 10.20 – 11.10น. กินอย่างไรจึงจะได้สารอาหารเพียงพอ  และการเฝ้าระวังการเจริญเติบโต  ภาวะโภชนาการ 11.10 - 12.00น. หลักและแนวทางการจัดสำรับอาหารกลางวันให้ได้คุณภาพ
    มาตรฐานอาหารกลางวัน 12.00-13.00น. พักกลางวัน 13.00-14.00oน. สาธิตการจัดสำรับอาหารโดยใช้โปรแกรม Thai school lunch 14.00-15.00น. ฝึกปฏิบัติจัดสำรับอาหาร  และตักเสิร์ฟสำรับเด็ก
    15.00-16.00น. ซักถาม/สรุปผลการจัดการอบรม





    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต  นักเรียน ครู ผู้ปกครองแม่ครัว จานวน 100 คน ได้เข้ารับการอบรมและสร้างความเข้าใจด้านการจัดบริการอาหาร ผลลัพธ์  นักเรียน ครู ผู้ปกครองแม่ครัวมีเข้าใจและตระหนักถึงความ สาคัญเรื่องโภชนาการ

     

    100 0

    14. จ่ายค่าวัสดุอุปกรณ์จัดป้ายนิเทศ

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้ายไวนิล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต  นักเรียนจานวน 183 คน ได้เข้าร่วมในกิจกรรมนักเรียนสุขภาพดี ผลลัพธ์  มีห้องพยาบาลที่ถูกสุขลักษณะและได้มาตรฐาน นักเรียนร้อยละ 80 มีสุขภาพแข็งแรง

     

    183 183

    15. ค่าวัสดุอุปกรณ์

    วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ค่าวัสดุอุปกรณ์ทำความสะอาดห้องน้ำ และจัดตกแต่งห้องน้ำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต นักเรียน จานวน 183 คน ได้เข้าร่วมในกิจกรรมโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ผลลัพธ์ -สิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนได้รับการพัฒนา             -นักเรียนร้อยละ 75 มีความรับผิดชอบในหน้าที่ของตนเอง

     

    183 183

    16. เจลล้างมือ วัสดุอุปกรณ์จัดทำสื่อ

    วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดซื้อเจลล้างมือ วัสดุในการจัดทำสื่อ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต  นักเรียน จานวน 183 คนได้เข้าร่วม ในกิจกรรมการพัฒนาสุขนิสัยและส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน ผลลัพธ์ - นักเรียนร้อยละ 80 มีสุขนิสัย สุขภาพอนามัยที่ดี

     

    183 183

    17. สื่อส่งเสริมสุขภาพ ป้ายสติ๊กเกอร์Pp ป้ายไวนิล

    วันที่ 1 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    โครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ


    1.หลักการและเหตุผล นักเรียนทุกคนจะสามารถศึกษาหาความรู้ได้อย่างเต็มศักยภาพและความสามารถของตนนั้น ทุกคนล้วนแล้วแต่มีความสามารถเท่ากันทุกคนดังนั้นในการศึกษาหาความรู้ของนักเรียนนั้นจะมีประสิทธิภาพได้มากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับความสามารถของ แต่ละบุคคลและที่สำคัญเด็กที่จะเก่งและเฉลียวฉลาด และมีการพัฒนาการที่แข็งแรงสมบูรณ์สมวัยนั้นต้องเริ่มต้นมาจากการที่นักเรียนจะต้องมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์มาก่อนเป็นอันดับแรก  ดังนั้นโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย จึงได้จัดตั้งโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพซึ่งจะเป็นการช่วยพัฒนาคุณภาพของนักเรียนและส่งผลต่อการเรียนการสอนและผลสัมฤทธิ์ที่สูงขึ้นของนักเรียนด้วย

    2.วัตถุประสงค์
    2.1  เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง 2.2  เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดีต่อการรักษาสุขภาพร่างกาย
    2.3  เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ 2.4  เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 2.5 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพและรักษาสุขภาพของตนเองอย่างสม่ำเสมอ

    3.  เป้าหมาย 3.1 เชิงปริมาณ               3.1.1 นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ร้อยละ 90

    3.2 เชิงคุณภาพ               3.2.1 นักเรียนมีความสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์               3.2.2 นักเรียนสามารถปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีในรักษาสุขภาพอนามัย               3.2.3 นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพและรักษาสุขภาพของตนเองอย่างสม่ำเสมอ   3.2.4 นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดีต่อการรักษาสุขภาพร่างกาย


    4.  กิจกรรมและรายละเอียดการใช้งบประมาณ  ใช้งบประมาณทั้งสิ้น  21,000  บาท

    กิจกรรมและรายละเอียด ในการใช้งบประมาณ งบประมาณจำแนกตามหมวดรายจ่าย ระยะเวลาการ          ปฏิบัติงาน ผู้รับผิดชอบ กิจกรรม ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ
    1.เสนอโครงการ อมรัตน์ 2.แต่งตั้งคณะกรรมการ ผู้บริหาร 3.ดำเนินการตามโครงการ คณะครู 3.1 ตกแต่งห้องพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ อมรัตน์ 3.2 ซื้อเวชภัณฑ์ยาและอุปกรณ์เครื่องมือ อมรัตน์ 3.3  กิจกรรมรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออก อมรัตน์ 3.4  กิจกรรมกำจัดเหา อมรัตน์ 3.5 กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการ คณะครู 3.6  กิจกรรมผู้นำนักเรียน อมรัตน์ 3.7  กิจกรรมบริการนักเรียน                      ที่ป่วย อมรัตน์ 3.8  กิจกรรมสุขาน่าใช้ อมรัตน์ 3.9 นิเทศ-กำกับติดตาม ผู้บริหาร 4. ประเมินผล/สรุปโครงการ อมรัตน์ 5. รายงานโครงการ อมรัตน์ ถัวจ่ายทุกรายการ


    5.การประเมินผล

    ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีวัดและการประเมินผล เครื่องมือที่ใช้วัด                            และประเมินผล 1.นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์ การสำรวจ การทดสอบสุขภาพ แบบสำรวจ แบบทดสอบสุขภาพ 2.นักเรียนมีสุขภาพจิตที่ดี การสังเกต แบบสังเกต 3.นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดี                          การสังเกต แบบสังเกต 4.นักเรียนพึงพอใจ และมีความสุขในโรงเรียน การประเมินความพึงพอใจ แบบประเมิน

    1. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1 .นักเรียนมีความสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 2 .นักเรียนสามารถปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีในรักษาสุขภาพอนามัย 3 .นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพและรักษาสุขภาพของตนเองอย่างสม่ำเสมอ 4.นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดีต่อการรักษาสุขภาพร่างกาย


                  ผู้เสนอโครงการ             ผู้อนุมัติโครงการ


                (นางสาวอมรัตน์  จรัสพันธ์)             (นายวิเชษฐ    นวนแก้ว)
                ครูผู้ช่วยโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย           ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย


    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต  นักเรียน จานวน 183 คน ได้เข้าร่วมในกิจกรรมโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ผลลัพธ์ -สิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนได้รับการพัฒนา             -นักเรียนร้อยละ 75 มีความรับผิดชอบในหน้าที่ของตนเอง

     

    183 183

    18. กิจกรรมตรวจสุขภาพนักเรียนประจำสัปดาห์ (สุขบัญญัติ 10 ประการ)

    วันที่ 10 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตามแผนการบริการอาหารกลางวันของโรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนที่ได้รับการติดตามและประเมินผลภาวะโภชนาการมีภาวะโภชนากการที่ดีขึ้น

     

    183 183

    19. จัดบริการอาหารเสริมเพิ่มน้ำหนัก

    วันที่ 10 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตามแผนงานอาหารกลางวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียน จานวน 183 คน ได้รับการติดตามภาวะโภชนากการ นักเรียนที่ได้รับการติดตามและประเมินผลภาวะโภชนาการมีภาวะโภชนากการที่ดีขึ้น

     

    183 183

    20. กิจกรรมออกกำลังกายเพิ่มความสูง /ลดน้ำหนัก

    วันที่ 12 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    โครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ


    1.หลักการและเหตุผล นักเรียนทุกคนจะสามารถศึกษาหาความรู้ได้อย่างเต็มศักยภาพและความสามารถของตนนั้น ทุกคนล้วนแล้วแต่มีความสามารถเท่ากันทุกคนดังนั้นในการศึกษาหาความรู้ของนักเรียนนั้นจะมีประสิทธิภาพได้มากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับความสามารถของ แต่ละบุคคลและที่สำคัญเด็กที่จะเก่งและเฉลียวฉลาด และมีการพัฒนาการที่แข็งแรงสมบูรณ์สมวัยนั้นต้องเริ่มต้นมาจากการที่นักเรียนจะต้องมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์มาก่อนเป็นอันดับแรกดังนั้นโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย จึงได้จัดตั้งโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพซึ่งจะเป็นการช่วยพัฒนาคุณภาพของนักเรียนและส่งผลต่อการเรียนการสอนและผลสัมฤทธิ์ที่สูงขึ้นของนักเรียนด้วย

    2.วัตถุประสงค์ 2.1เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง 2.2เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดีต่อการรักษาสุขภาพร่างกาย
    2.3เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ 2.4เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 2.5 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพและรักษาสุขภาพของตนเองอย่างสม่ำเสมอ

    1. เป้าหมาย 3.1 เชิงปริมาณ 3.1.1 นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ร้อยละ 90

    3.2 เชิงคุณภาพ 3.2.1 นักเรียนมีความสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 3.2.2 นักเรียนสามารถปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีในรักษาสุขภาพอนามัย 3.2.3 นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพและรักษาสุขภาพของตนเองอย่างสม่ำเสมอ 3.2.4 นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดีต่อการรักษาสุขภาพร่างกาย


    4.กิจกรรมและรายละเอียดการใช้งบประมาณใช้งบประมาณทั้งสิ้น21,000บาท

    กิจกรรมและรายละเอียด ในการใช้งบประมาณ งบประมาณจำแนกตามหมวดรายจ่าย ระยะเวลาการ ปฏิบัติงาน ผู้รับผิดชอบ กิจกรรม ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ
    1.เสนอโครงการ อมรัตน์ 2.แต่งตั้งคณะกรรมการ ผู้บริหาร 3.ดำเนินการตามโครงการ คณะครู 3.1 ตกแต่งห้องพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ อมรัตน์ 3.2 ซื้อเวชภัณฑ์ยาและอุปกรณ์เครื่องมือ อมรัตน์ 3.3กิจกรรมรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออก อมรัตน์ 3.4กิจกรรมกำจัดเหา อมรัตน์ 3.5 กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการ คณะครู 3.6กิจกรรมผู้นำนักเรียน อมรัตน์ 3.7กิจกรรมบริการนักเรียนที่ป่วย อมรัตน์ 3.8กิจกรรมสุขาน่าใช้ อมรัตน์ 3.9 นิเทศ-กำกับติดตาม ผู้บริหาร 4. ประเมินผล/สรุปโครงการ อมรัตน์ 5. รายงานโครงการ อมรัตน์ ถัวจ่ายทุกรายการ


    5.การประเมินผล

    ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีวัดและการประเมินผล เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผล 1.นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์ การสำรวจ การทดสอบสุขภาพ แบบสำรวจ แบบทดสอบสุขภาพ 2.นักเรียนมีสุขภาพจิตที่ดี การสังเกต แบบสังเกต 3.นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดีการสังเกต แบบสังเกต 4.นักเรียนพึงพอใจ และมีความสุขในโรงเรียน การประเมินความพึงพอใจ แบบประเมิน

    1. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1 .นักเรียนมีความสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 2 .นักเรียนสามารถปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีในรักษาสุขภาพอนามัย 3 .นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพและรักษาสุขภาพของตนเองอย่างสม่ำเสมอ 4.นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดีต่อการรักษาสุขภาพร่างกาย



      ผู้เสนอโครงการผู้อนุมัติโครงการ


      (นางสาวอมรัตน์ จรัสพันธ์) (นายวิเชษฐ นวนแก้ว) ครูผู้ช่วยโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต  นักเรียน จานวน 183 คน ได้รับการติดตามภาวะโภชนากการ ผลลัพธ์ นักเรียนที่ได้รับการติดตามและประเมินผลภาวะโภชนาการมีภาวะโภชนากการที่ดีขึ้น

     

    183 0

    21. วัสดุทำความสะอาด ค่าไม้กวาดทางมะพร้าว ไม้กวาดดอกหญ้า

    วันที่ 14 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ปรับภูมิทัศน์ จัดสภาพแวดล้อม พัฒนาแหล่งเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง

    1. หลักการและเหตุผล แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ภูมิทัศน์ที่สวยงาม สภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย ภายในโรงเรียน ย่อมส่งผลดีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู นักเรียนมีความสุขที่ได้มาโรงเรียน รักโรงเรียน เกิดสมาธิ มีความใคร่ใฝ่รู้ใฝ่เรียน เกิดความคิดสร้างสรรค์  เกิดจินตนาการที่ดี โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย ได้ตระหนักถึงความสำคัญของแหล่งเรียนรู้  ภูมิทัศน์ และสภาพแวดล้อม จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
      โดยเชื่อมั่นว่าจะส่งผลดีต่อคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแก้ว เขต 2  และของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามลำดับ

    2.  วัตถุประสงค์ 2.1  เพื่อปรับภูมิทัศน์ สภาพแวดล้อมภายในโรงเรียนให้สวยงาม ร่มรื่น เป็นระเบียบ และปลอดภัย 2.2  เพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนให้หลากหลาย ใช้ประโยชน์ได้เต็มที่ คุ้มค่า ส่งผลดีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และคุณภาพการศึกษา

    3.  เป้าหมาย       3.1 เชิงปริมาณ 3.1.1  นักเรียนโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย ร้อยละ 95  พึงพอใจภูมิทัศน์ สภาพแวดล้อมภายในโรงเรียน 3.1.2  นักเรียนโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย ร้อยละ 90  สามารถใช้แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนพัฒนาตนเองได้       3.2  เชิงคุณภาพ         3.2.1  นักเรียนโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย มีความสุข ความปลอดภัย กับการใช้ชีวิตภายในรั้วโรงเรียน
    3.2.2  นักเรียนโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย มีความรู้ความสามารถ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ได้ ด้วยตนเอง และสามารถพัฒนาการใช้แหล่งเรียนรู้อย่างมีระบบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต  นักเรียน จานวน 183 คน ได้เข้าร่วมในกิจกรรมโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ผลลัพธ์ -สิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนได้รับการพัฒนา             -นักเรียนร้อยละ 75 มีความรับผิดชอบในหน้าที่ของตนเอง

     

    183 183

    22. เจลล้างมือ ยาสีฟัน

    วันที่ 16 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดให้มีบริการเจลล้างมือเพียงพอต่อจำนวนนักเรียน จัดยาสีฟันบริการสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพฟัน ให้มีสุขภาพฟันที่ดี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต  นักเรียนจานวน 183 คนได้เข้าร่วมในกิจกรรมนักเรียนสุขภาพดี ผลลัพธ์ -มีห้องพยาบาลที่ถูกสุขลักษณะและได้มาตรฐาน             - นักเรียนร้อยละ 80 มีสุขภาพแข็งแรง

     

    183 183

    23. ค่าปลาหมอ

    วันที่ 20 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตามแผนงานเกษตรในโรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต- นักเรียนจ านวน
    70
    คน  ได้

    ปลูกพืชผักสวนครัว

    นักเรียนจ านวน
    70
    คน  ได้

    เรียนรู้การเพาะเห็ดนางฟ้า

    นักเรียนจ านวน
    70
    คน ได้ เรียนรู้การเลี้ยงปลาดุก ผลลัพธ์ นักเรียนร้อยละ
    50
    มี ผลผลิตมาจ าหน่ายให้กับ สหกรณ์

     

    70 70

    24. จ่ายค่าอาหารปลา

    วันที่ 24 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตามแผนกิจกรรมเกษตรในโรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต- นักเรียนจ านวน
    70
    คน ได้ เรียนรู้การเลี้ยงปลาดุก

    ผลลัพธ์

    นักเรียนร้อยละ
    50
    มี ผลผลิตมาจ าหน่ายให้กับ สหกรณ์

     

    0 0

    25. จัดทำรายงานปิดโครงการ งวด 2 พร้อมคืนดอกเบี้ย

    วันที่ 5 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำรายงานปิดโครงการ งวด 2 พร้อมคืนดอกเบี้ย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    1 1

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการและสุขภาพของนักเรียนโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย
    ตัวชี้วัด : นักเรียน จำนวน 183 คน ที่ได้รับการติดตามและประเมินผลภาวะโภชนาการมีภาวะโภชนากการที่ดีขึ้น

    นักเรียน จำนวน 183 คน ที่ได้รับการติดตามและประเมินผลภาวะโภชนาการมีภาวะโภชนากการที่ดีขึ้น

    2 2.เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีทักษะและทัศนคติที่ดีทางการเกษตร
    ตัวชี้วัด : นักเรียน ครูผู้ปกครอง แม่ครัวมีเข้าใจและตระหนักถึงความ สำคัญเรื่องโภชนาการ

    นักเรียน ครูผู้ปกครอง แม่ครัวมีเข้าใจและตระหนักถึงความ สำคัญเรื่องโภชนาการ

    3 3.เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบ
    ตัวชี้วัด : -ครูมีแผนจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการเกษตร โภชนาการและสุขภาพทุกชั้นเรียนและดำเนินกการตามแผน -นักเรียนร้อยละ80 มีความรู้เรื่องการเกษตรโภชนาการและสุขภาพ

    ครูมีแผนจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการเกษตร โภชนาการและสุขภาพทุกชั้นเรียนและดำเนินกการตามแผน -นักเรียนร้อยละ100 มีความรู้เรื่องการเกษตรโภชนาการและสุขภาพ

    4 4.เพื่อเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตในอนาคต
    ตัวชี้วัด : -นักเรียนร้อยละ 50 มีผลผลิตมาจำหน่ายให้กับสหกรณ์ สามารถเป็นอาชีพเสริมได้

    นักเรียนร้อยละ 50 มีผลผลิตมาจำหน่ายให้กับสหกรณ์ สามารถเป็นอาชีพเสริมได้

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการและสุขภาพของนักเรียนโรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย (2) 2.เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีทักษะและทัศนคติที่ดีทางการเกษตร (3) 3.เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบ (4) 4.เพื่อเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตในอนาคต

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย

    รหัสโครงการ ศรร.1212-046 รหัสสัญญา 58-00-2265-ก.14 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    ปลูกพืชผักสวนครัว/ประมง

    ลักษณะเป็นการปลูกพืชแบบผสมผสาน การเลี้ยงไก่ กบ ปลา ขั้นตอน ปลูกพืชผักสวนครัว มีการเตรียมแปลงแบ่งสัดส่วนที่ชัดเจนเน้นให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมทุกระดับชั้นเรียนตั้งแต่อนุบาล 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้ลงมือปฏิบัติจริง หลักฐาน เอกสารบันทึกผลผลิตชั้นเรียน ภาพถ่าย

    ด้านการเกษตรเน้นนักเรียนได้เรียนรู้และลงมือปฏิบัติ จัดไว้ในแผนงานของโรงเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน นักบัญชีน้อย

    ลักษณะกิจกรรม จัดกิจกกรรมสหกรณ์นักเรียน แต่งตั้งประธาน เลขา ครูที่ปรึกษากิจกรรม ให้นักเรียนสมัครเข้าร่วมเป็นสมาชิก ได้เรียนรู้หลักการสหกรณ์ มีการซื้อขายแลกเปลี่ยนผลผลิตทางการเกษตรในแต่ละชั้นเรียน มีการประชุมระบบสหกรณ์ให้นักเรียน อ้างอิงจากกิจกรรมนักบัญชีน้อย ภาพถ่ายกิจกรรม

    โรงเรียนดำเนินการต่อเนื่องมีการรับซือและจำหน่ายผลผลิตจากนักเรียนและชุมชนผ่านระบบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    สร้างความเข้าใจ ตระหนัก/ ในการจัดบริการอาหารกลางวัน

    ลักษณะกิจกรรม 1จัดให้ครูได้รับการอบรม Thai School liunhโดยจัดเมนูอาหารเป็นรายเดือน จัดให้มีผลไม้สัปดาห์ละ 3 วัน เมนูไข่สัปดาห์ละ 2 วัน2 จัดประชุมชี้แจงผู้ปกครองนักเรียนสร้างความเข้าใจตระหนักในการจัดบริการอาหาร ประกอบด้วย ครู บุคคลากรทางการศึกษา แม่ครัว ผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน และนักเรียน อ้างอิงจากกิจกกรรมภาพถ่ายกิจกรรม

    โรงเรียนมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องมีการติดตามและประเมินผล มีให้ชุมชนนำผลไม้และผักมาจำหน่ายให้กับโครการ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    ติดตามภาวะโภชนากการ อาหารเสริมเพิ่มน้ำหนัก

    1.จัดให้บริการอาหารเสริมเพื่อเพื่มน้ำหนักให้กับนักเรียนทุกคน (ผลไม้นม ไข่ )
    2. มีการติดตามเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของนักเรียนรายบุคคล ภาคเรียนละ 2 ครั้งและแก้ไขปัญหา โดยให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วม มีการจัดกิจกรรมออกกำลังกายเพิ่มความสูง/ลดน้ำหนัก 4 ทดสอบสมรรถภาพนักเรียนรายบุคคล อ้างอิง สารสนเทศน้ำหนัก ส่วนสูง

    โรงเรียนมีการดำเนินการติดตามและเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง มีการวัดผล ประเมินผล

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

    1กิจกรรม ล้างมือกินร้อนช้อนกลาง2.กิจกรรมตรวจสอบสุขภาพนักเรียน3.สื่อกิจกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติ10ประการ 4.โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 5.มีเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลออกมาให้บริการในการตรวจสุขภาพนักเรียน 6. การตรวจเหา ฉีดวัคซีนป้องกันโรคอ้างอิงจากโครงการ กิจกรรม แบบตรวจสุขภาพนักเรียน

    โรงเรียนจัดให้มีโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพเป็นโครงการต่อเนื่องจัดไว้ในแผนงานของโรงเรียน มีการติดตามประเมิน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

    โรงเรียนได้จัดโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพไว้ในแผนงานของโรงเรียน เพื่อพัฒนาสุขภาพนักเรียน ให้สมบูรณ์แข็งแรง ทั้งทางร่างกาย และจิตใจ ในแผนงานโครงการก็ประกอบด้วยกิจกรรมหลายกิจกรรม ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาสภาพแวดล้อม ห้องน้ำ ห้องส้วมที่ถูกสุขลักษณะ มีการจัดให้นักเรียนได้ฝึกการรับผิดชอบในการดูแลรักษาความสะอาด มีเวรตรวจและรายงานผล มีครูเป็นที่ปรึกษา. กิจกรรมห้องพยาบาลมีเจ้าหน้าที่ห้องพยาบาลคอยบริการโดยครูให้คำแนะนำและเป็นที่ปรึกษา

    โรงเรียนจัดให้เป็นโครงการต่อเนื่องในทุกปีการศึกษา มีการติดตาม ประเมินผลโครงการ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โรงเรียนบ้านแก้วเพชรพลอย จังหวัด สระแก้ว

    รหัสโครงการ ศรร.1212-046

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายวิเชษฐ นวนแก้ว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด