แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนชุมชนวัดน้ำพุ (น้ำพุพิทยาคาร)


“ โรงเรียนชุมชนวัดน้ำพุ (น้ำพุพิทยาคาร) ”

ตำบลสี่ร้อย อำเภอวิเศษไชยชาญ จังหวัดอ่างทอง

หัวหน้าโครงการ
นายชำนาญ สกุลนี

ชื่อโครงการ โรงเรียนชุมชนวัดน้ำพุ (น้ำพุพิทยาคาร)

ที่อยู่ ตำบลสี่ร้อย อำเภอวิเศษไชยชาญ จังหวัดอ่างทอง จังหวัด อ่างทอง

รหัสโครงการ ศรร.1212-121 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ก.20

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนชุมชนวัดน้ำพุ (น้ำพุพิทยาคาร) จังหวัดอ่างทอง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสี่ร้อย อำเภอวิเศษไชยชาญ จังหวัดอ่างทอง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนชุมชนวัดน้ำพุ (น้ำพุพิทยาคาร) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนชุมชนวัดน้ำพุ (น้ำพุพิทยาคาร)



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนชุมชนวัดน้ำพุ (น้ำพุพิทยาคาร) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสี่ร้อย อำเภอวิเศษไชยชาญ จังหวัดอ่างทอง รหัสโครงการ ศรร.1212-121 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนชุมชนวัดน้ำพุ (น้ำพุพิทยาคาร) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 267 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับ การสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วน ไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ

1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่ม รสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาล จากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ 2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนชุมชนวัดน้ำพุ(น้ำพุพิทยาคาร) จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการที่ดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้

โรงเรียนชุมชนวัดน้ำพุ (น้ำพุพิทยาคาร)ได้ดำเนินกิจกรรมตามโครงการเด็กไทยแก้มใส 8กิจกรรมคือ

  1. กิจกรรมการเกษตรในโรงเรียน โรงเรียนชุมชนวัดน้ำพุ (น้ำพุพิทยาคาร) ได้จัดกิจกรรมทางการเกษตร 4 กิจกรรมคือกิจกรรมการเลี้ยงปลาดุกกิจกรรมการเพาะเห็ดนางฟ้ากิจกรรมการเลี้ยงกบและกิจกรรมการปลูกพืชผักสวนครัวโดยแต่ละกิจกรรมนักเรียนได้เป็นผู้ปฏิบัติและมีครูเป็นที่ปรึกษาดังนั้นนักเรียนจึงได้รับประสบการณ์ตรงและสามารถ นำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน
  2. กิจกรรมสหกรณ์นักเรียนผลผลิตที่ได้จากกิจกรรมการเกษตรจะถูกส่งต่อไปยังสหกรณ์เพื่อนักเรียนได้เรียนรู้ระบบการซื้อขายการกำหนดราคาสินค้าการจัดทำบัญชี
  3. กิจกรรมการจัดบริการอาหารของโรงเรียนโรงเรียนได้จัดบริการอาหารให้กับนักเรียนโดยจัดซื้อวัตถุดิบในการประกอบอาหารจากสหกรณ์โรงเรียนเช่นผลผลิตทางการเกษตรในโรงเรียนนอกจากนี้โรงเรียนได้กำหนดรายการอาหาร ที่หมุนเวียนอย่างต่อเนื่องเพื่อให้นักเรียนได้รับคุณค่าทางอาหารที่ครบถ้วนและในอัตราส่วนที่เหมาะสมกับวัย
  4. กิจกรรมการติดตามภาวะโภชนาการโรงเรียนได้มีการสำรวจภาวะโภชนาการของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง เช่น การชั่งน้ำหนักการวัดส่วนสูงและมีการสรุปข้อมูลภาคเรียนละ 1 ครั้ง นอกจากนี้ได้จัดกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาให้กับนักเรียนที่อยู่ในภาวะโภชนาการที่ไม่เหมาะสมกับวัยเช่นกิจกรรมออกกำลังกายเพื่อลดพุง เป็นต้น
  5. กิจกรรมการพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียนโรงเรียนได้จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง เพื่อสุขนิสัยที่ดีของนักเรียนเช่นการเข้าแถวรับบริการอาหารการล้างมือก่อนรับประทานอาหารการใช้ช้อนกลางในการรับประทานอาหารการแปรงฟันหลังรับประทานอาหาร ฯลฯจากกิจกรรมดังกล่าวได้บ่มเพาะคุณลักษณะนิสัยที่ดีและถือปฏิบัติเป็นนิสัย
  6. กิจกรรมการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนที่ถูกสุขลักษณะโรงเรียนได้จัดสิ่งแวดล้อมภายในให้เหมาะสมกับการเรียนรู้ของนักเรียน
  7. กิจกรรมจัดบริการสุขภาพโรงเรียนได้ดูแลและตรวจสุขภาพของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังได้รับ ความร่วมมือจากโรงพยาบาลวิเศษชัยชาญโรงพยาบาลสถานีอนามัยประจำตำบลเข้ามาช่วยดูแลสุขภาพนักเรียนทุกด้าน
  8. กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ เกษตรโภชนาการและสุขภาพอนามัย โรงเรียนได้จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อบูรณาการกิจกรรมต่างๆให้สอดคล้องกับหลักสูตรเพื่อนักเรียนได้ประสบการณ์และความรู้ที่ครบองค์รวม นอกจากนี้ได้เชิญวิทยาการภายในท้องถิ่นมาให้ความรู้กับนักเรียนเพิ่มเติม จากผลการดำเนินงานทั้ง8กิจกรรมทำให้โรงเรียนมีการทำงานอย่างเป็นระบบสอดคล้องกันทุกกิจกรรมนักเรียนมีสุขภาพและสุขนิสัยที่ดีมากขึ้นในทุกๆ ด้านนอกจากนี้ชุมชนเข้ามาส่วนร่วมกับการทำกิจกรรมของโรงเรียนมากขึ้นเช่น การดูแลสุขภาพสุขนิสัยของนักเรียนส่งผลให้โรงเรียนและชุมชนมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพด้านโภชนาการที่มีคุณภาพ
  2. เพื่อสร้างกระบวนการประเมินติดตามและเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
  3. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี
  4. เพื่อขยายผลโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสสู่โรงเรียนเครือข่ายจำนวน 3 โรงเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนทุกคนมีภาวะโภชนาการที่ดี ได้รับประทานอาหารถูกหลักโภชนาการ และอาหารปลอดภัย ในทุกมื้อ
    2. โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการเกษตร
    3. นักเรียนได้เรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ ที่บูรณาการจากภูมิปัญญาท้องถิ่น
    4. นักเรียนมีความรู้ด้านสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยของตนเอง และสามารถดูแลสุขอนามัยของตนเองได้
    5. นักเรียนได้รับการดูแลและเฝ้าระวังการเจริญเติบโตและสมรรถภาพทางกายของนักเรียนทุกคนเทอมละ 2 ครั้งเพื่อดูพัฒนาการการเจริญเติบโตด้านร่างกายให้เหมาะสมกับวัย
    6. บุคลากรเกิดความตระหนักในการดูแลนักเรียนในด้านต่างๆ
    7. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมต่างๆ ตามโครงการเด็กไทยแก้มใส ส่งผลให้นักเรียนเกิดความรับผิดชอบในการทำงานและมีความรู้จากการทำกิจกรรมต่างๆ ตลอดจนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ที่บ้านได้
    8. ชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ได้รับความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็ก และนำความรู้ที่ได้รับไปดูแลบุตรหลานของตนเองได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมระบบติดตามออนไลน์เด็กไทยแก้มใส

    วันที่ 27 มีนาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ครู 2 คน เข้ารับอบรมระบบติดตามออนไลน์เด็กไทยแก้มใส ระหว่างวันที่ 27 - 28 มีนาคม 2559 ณ โรงแรมเอบีน่าเฮาส์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับความรู้ที่เป็นประโยชน์เพื่อนำมาใช้ในการรายงานผลการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใสผ่านทางระบบติดตามออนไลน์

     

    2 0

    2. จัดซื้อวัสดุสำหรับเลี้ยงกบ เลี้ยงปลาดุก และการเพาะเห็ดนางฟ้า

    วันที่ 25 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ในวันที่ 25 พฤษภาคม 2559 ทางโรงเรียนดำเนินกิจกรรมส่งเสริมผลผลิตทางการเกษตร โดยได้จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ทางการเกษตรดังต่อไปนี้

    1. จัดซื้อพันธุ์กบ จำนวน 1,500 ตัว ตัวละ 4 บาท รวมเป็นเงิน 6,000 บาท
    2. จัดซื้ออาหารกบ จำนวน 13 ถุง ถุงละ 590 บาท รวมเป็นเงิน 7,670 บาท
    3. จัดซื้อพันธุ์ปลาดุดจำนวน 1,500 ตัว ตัวละ 3 บาทรวมเป็นเงิน 4,500 บาท
    4. จัดซื้ออาหารปลาดุก จำนวน 13 ถุง ถุงละ 430 บาท รวมเป็นเงิน 5,590 บาท
    5. จัดซื้อก้อนเชื้อเห็ดนางฟ้า จำนวน 1,500 ก้อน ก้อนละ 10 บาทรวมเป็นเงิน 15,000 บาท จากการจัดซื้อทั้ง 5 รายการ ข้างต้น รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 38,760 บาท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดซื้อวัสดุสำหรับกิจกรรม 3 กิจกรรม 

     

    0 0

    3. ปลูกผักสวนครัว

    วันที่ 30 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การปฏิบัติกิจกรรมการเพาะเห็ดนางฟ้า ทางโรงเรียนเริ่มดำเนินการตั้งแต่วันที่ 30 พฤษภาคม 2559 โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. วันที่ 30 พฤษภาคม 2559 ทางโรงเรียนจัดซื้อเมล็ดพันธุ์ผักและปุ๋ยคอก 2. ให้นักเรียนช่วยกันเตรียมแปลงปลูกผัก โดยนำปุ๋ยคอกที่สั่งซื้อมาผสมลงในแปลงผักที่นักเรียนเตรียม 3. เมื่อเตรียมแปลงผักเสร็จแล้ว นำเมล็ดพันธุ์ผักที่ซื้อไว้ มาโรบลงบนแปลง แล้วรดน้ำ 4. นักเรียนช่วยกันดูแลแปรงผัก โดยแบ่งผู้รับผิดชอบดูแลออกเป็นกลุ่มๆ ซึ่งสิ่งที่นักเรียนต้องช่วยกันดูแล คือ การถอนหญ้าในแปลงผักทิ้งและดูแลรอบๆ บริเวณแปลงผักของตนเองไม่ให้หญ้าขึ้นรก (ในส่วนของการรดน้ำ ทางโรงเรียนติดตั้งสปริงเกอร์เปิด/ปิด เป็นเวลา 5. เมื่อผักโตพอ นักเรียนช่วนกันตัดผักไปขายให้สหกรณ์โรงเรียน แล้วโรงอาหารก็มาซื้อที่สหกรณ์เพื่อนำไปประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียนรับประทาน (ส่วนผักที่เหลือจากการประกอบอาหารไม่หมดทางโรงเรียนนำไปขายต่อให้นักเรียนและชุมชนโดยรอบโรงเรียนต่อไป และส่วนหนึ่งก็แบ่งแจกให้นักเรียนที่ดูแลนำไปประกอบอาหารที่บ้าน)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนปลูกพืชผักสวนครัวเป็น
    2. ได้ผักจากโครงการมาประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียนรับประทาน
    3. มีแหล่งเรียนรู้ทางการเกษตรให้นักเรียนศึกษา

     

    276 276

    4. ศึกษาดูงานโรงเรียนวัดศรีนวลธรรมวิมล

    วันที่ 5 สิงหาคม 2559 เวลา 05:30 - 16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    05.30 น.รถออกเดินทางจากโรงเรียนชุมชนวัดน้ำพุ (น้ำพุพิทยาคาร)

    08.30 - 12.00 น.ฟังบรรรยาย เรื่อง การสร้างความตระหนักในภา

    12.00 - 13.00 น.รับประทานอาหารกลางวันที่โรงเรียนวัดศรีนวลธรรมวิมล

    13.00 - 14.30 น.ศึกษาดูงานกิจกรรมภายในโรงเรียนวัดศรีนวลธรรมวิมล ชมนิทรรศการและกิจกรรมเด่น

    16.00 น. เดินทางกลับโรงเรียนชุมชนวัดน้ำพุ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    บุคลากรภายในโรงเรียนผู้ปกครองและชุมชน ได้รับความรู้และแนวทางในการจัดกิจกรรมต่างๆ ภายในโรงเรียน ได้แก่
    1. กิจกรรมการปลูกพืชผักสวนครัว เพื่อส่งผลผลิตไปยังสหกรณ์และส่งต่อไปยังโครงการอาหารกลางวัน

    1. กิจกรรการดำเนินงานสหกรณ์ในโรงเรียน

    2. การแปลรูปผลผลิตต่างๆ ที่ได้ และนำมาจำหน่ายสู่ชุมชน

     

    17 50

    5. กิจกรรมหุ่นสวยสมวัย

    วันที่ 8 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วันที่ 8 สิงหาคม 2559 ดำเนินการจัดซื้ออุปกรณ์กีฬาที่จำเป็นต่อนักเรียน เพื่อให้นักเรียนได้มีอุปกรณ์กีฬาเล่นในช่วงเวลาพักกลางวันเวลาว่าง และในชั่วโมงเรียนวิชาพลศึกษา ในตลอดปีการศึกษา หรือ ตลอดอายุการใช้งานของอุปกรณ์กีฬานั้นๆ โดยอุปกรณ์ที่จัดซื้อได้แก่

    1. เชือกกระโดด จำนวน 40 เส้น
    2. ไม้แบดมินตัน จำนวน 8 คู่
    3. ลูกแบดมินตัน จำนวน 3 โหล
    4. วอลเลย์บอลหญิง จำนวน 3 ลูก
    5. ฟุตบอลหนังอัด เบอร์ 3จำนวน 2 ลูก
    6. ฟุตบอลหนังเย็บเบอร์ 4 จำนวน 1 ลูก
    7. รั้วล้มลุก จำนวน 1 ชุด
    8. ห่วงยาง จำนวน 1 โหล

    เมื่อได้อุปกรณ์กีฬาที่สั้งซื้อมาครบแล้ว ก็จัดให้นักเรียนได้ยืมอุปกรณ์กีฬาไปเล่นในเวลาว่าง หรือในชั่วโมงกิจกรรมกีฬา และอุปกรณ์กีฬาบางชนิดก็สามารถนำไปใช้สอนในชั่วโมงเรียนวิชาพลศึกษาด้วย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีอุปกรณ์กีฬาเล่นในช่วงเวลาพักกลางวันเวลาว่าง และในชั่วโมงเรียนวิชาพลศึกษา ในตลอดปีการศึกษา หรือ ตลอดอายุการใช้งานของอุปกรณ์กีฬานั้นๆ
    2. นักเรียนทุกคนได้ออกกำลังกายโดยใช้อุปกรณ์กีฬาที่ตนเองถนัดและสนใจ

     

    265 265

    6. กิจกรรม Big Cleaning Day

    วันที่ 8 สิงหาคม 2559 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. วันที่ 8 สิงหาคม 2559 โรงเรียนจัดซื้อหัวเชื้อน้ำยาทำความสะอาดห้องน้ำและโรงอาหารจำนวน 40 ชุด x 195 บาท รวมเป็นเงิน 7,800 บาท
    2. นักเรียนผสมน้ำยาจากหัวเชื้อที่จัดซื้อมา เพื่อเตรียมไว้ใช้ทำความสะอาดภายในโรงเรียน โดยจะใช้ทำความสะอาดห้องน้ำและโรงอาหารเป็นหลัก
    3. เมื่อผสมน้ำยาเสร็จ ให้นักเรียนช่วยกันกรอกน้ำยาใส่ขวดเพื่อเตรียมไว้ให้นักเรียนมาเบิกไปใช้
    4. คณะครูและนักเรียนร่วมกันทำความสะอาดทั่วบริเวณโรงเรียน ในทุกๆ วันศุกร์สุดท้ายของเดือน หรือวันอื่นๆ ตามความเหมาะสม โดยนำน้ำยาที่ผสมขึ้นมานี้ไปทำความสะอาดห้องน้ำและโรงอาหาร นอกจากนี้แล้วยังใช้น้ำยาในการทำความสะอาดห้องน้ำโรงเรียนและบริเวณโรงเรียนเป็นประจำทุกวันด้วย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. โรงเรียนมีน้ำยาที่ใช้ในการทำความสะอาดทั้งบริเวณพื้นที่โรงอาหารและห้องน้ำไว้ใช้ ซึ่งประหยัดกว่าการซื้อน้ำยาสำเร็จตามท้องตลาด
    2. โรงอาหาร  ห้องน้ำ และทั่วบริเวณโรงเรียนมีความสะอาด
    3. นักเรียนตระหนักถึงการดูแลรักษาความสะอาดบริเวณโรงเรียน

     

    268 135

    7. กิจกรรมอบรมระบบสหกรณ์

    วันที่ 26 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ในวันที่ 26 สิงหาคม 2559 ทางโรงเรียนจัดการอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3-6 เกี่ยวกับการดำเนินงานสหกรณ์โรงเรียน โดยเชิญวิทยากรภายนอก (เจ้าหน้าที่สหกรณ์จังหวัดอ่างทอง) มาให้การอบรม ดังนี้

    1. วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับระบบสหกรณ์ในโรงเรียน โดยการนำเสนอเป็นสไลด์และให้นักเรียนดูเอกสารประกอบการอบรม
    2. เมื่อให้ความรู้เสร็จให้นักเรียนได้ทำกิจกรรมกลุ่มตามรูปแบบของวิทยากร โดยให้นักเรียนเลือกประธานกลุ่มรองประธานและเหรัญญิก
    3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันระดมความคิดในการทำงานตามหัวข้อที่กำหนด
    4. แต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานบนเวที และวิทยากรให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
    5. นักเรียนร่วมกันให้คะแนนของกลุ่มต่างๆ และวิทยากรสรุปความรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้รับความรู้เรื่องระบบสหกรณ์ในโรงเรียน

    2. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานกลุ่ม ได้แสดงความคิดเห็นและเสนอแนวความคิดได้ตรงตามประเด็น

     

    168 169

    8. การเลี้ยงปลาดุก

    วันที่ 28 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ในกิจกรรมการเลี้ยงปลาดุก ทางโรงเรียนมีการดำเนินงานตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภาคม 2559 ดังต่อไปนี้

    1. วันที่ 25 พฤษภาคม 2559 ทางโรงเรียนจัดซื้อลูกพันธุ์ปลาดุก
    2. นำลูกพันธุ์ปลาดุกที่ได้มาไปเลี้ยงในอ่างซีเมนต์ที่เตรียมไว้ (อ่างซีเมนต์เป็นบ่อเก่าที่โรงเรียนเคยใช้เลี้ยงปลาดุกมาก่อนแล้ว)
    3. ครูและนักเรียนช่วยกันดูแลถ่ายน้ำและให้อาหารตามเวลา
    4. เมื่อปลาเริ่มโตก็เปลี่ยนอาหาร และนำผักตบชวาไปใส่ไว้ในอ่างเลี้ยงปลาเพื่อให้ปลากิน (ปลาจะตอดกินผักตบชวา ซึ่งจะลดปริมาณการกินอาหารของปลา)
    5. เมื่อปลาโตได้ตามขนาดที่จะจับขายได้ ก็จับส่งขายไปยังสหกรณ์โรงเรียนแล้วโรงอาหารก็มาซื้อต่อจากสหกรณ์โรงเรียน สำหรับปลาส่วนที่เหลือสหกรณ์โรงเรียนขายต่อให้กับผู้ต้องการซื้อต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนเลี้ยงปลาดุกเป็น
    2. นำปลาดุกมาประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียนรับประทาน

     

    276 275

    9. การเลี้ยงกบ

    วันที่ 29 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การปฏิบัติกิจกรรมการเลี้ยงกบ ทางโรงเรียนมีการดำเนินงานตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภาคม 2559 ดังต่อไปนี้

    1. เมื่อโรงเรียนเปิดเทอมให้นักเรียนช่วยกันทำความสะอาดบ่อเลี้ยงกบ
    2. แบ่งหน้าที่นักเรียนรับผิดชอบดูแลในการทำความสะอาดบ่อกบและให้อาหารกบ
    3. วันที่ 25 พฤษภาคม 2559 ทางโรงเรียนจัดซื้อลูกพันธุ์กบ
    4. นำลูกพันธ์ุกบที่สั่งซื้อมาไปปล่อยลงบ่อเลี้ยง
    5. นักเรียนผู้รับผิดชอบทำความสะอาดบ่อกบทุกวันโดยการถ่ายน้ำและกวาดทำความสะอาดก้นบ่อ เพื่อไล่เศษอาหารและขี้กบที่ตกค้างออกไป เพื่อไม่ให้มีการสะสมของอาหารที่กบกินไม่หมด โดยมีครูเป็นผู้ดูแล
    6. นักเรียนผู้รับผิดชอบให้อาหารกบทุกวันในช่วงเวลาเช้า/เย็น โดยมีครูเป็นผู้ดูแล
    7. เมื่อกบโตพอที่จะจับขายได้ก็จับขายไปยังสหกรณ์โรงเรียน แล้วโรงอาหารก็มาซื้อที่สหกรณ์เพื่อนำไปประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียนรับประทาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนเลี้ยงกบเป็น
    2. มีแหล่งการเรียนรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงกบให้นักเรียนได้เรียนรู้ในโรงเรียน
    3. ได้กบมาประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียนรรับประทาน

     

    275 271

    10. เพาะเห็ดนางฟ้า

    วันที่ 29 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การปฏิบัติกิจกรรมการเพาะเห็ดนางฟ้า ทางโรงเรียนมีการดำเนินงานตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภาคม 2559 ดังต่อไปนี้

    1. วันที่ 25 พฤษภาคม 2559 ทางโรงเรียนจัดซื้อก้อนเชื้อเห็ดนางฟ้า
    2. เมื่อได้ก้อนเชื้อเห็ดนางฟ้ามาแล้ว ให้นักเรียนช่วยกันแกะเอาวัสดุปิดก้อนเชื้อเห็ดออก
    3. นำก้อนเชื้อเห็ดนางฟ้าที่แกะวัสดุปิดออกแล้วไปเข้าโรงเรือนที่เตรียมไว้
    4. ครูและนักเรียนดูแลรดน้ำเห็ดตามเวลา
    5. เมื่อเมื่อเห็ดเริ่มออกดอก ก็เก็บขายไปยังสหกรณ์โรงเรียน แล้วโรงอาหารก็มาซื้อที่สหกรณ์เพื่อนำไปประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียนรับประทาน
    6. ในช่วงที่เห็ดออกดอกมากๆ ทางโรงเรียนไม่สามารถนำมาประกอบอาหารให้นักเรียนรับประทานได้หมด ก็นำเห็ดขายต่อให้นักเรียนและชุมชนโดยรอบโรงเรียนต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนเพาะและดูแลเห็ดนางฟ้าเป็น
    2. ได้เห็ดนางฟ้ามาประกอบอาหารให้นักเรียนรับประทาน
    3. มีแหล่งการเรียนรู้ด้านการเพาะเห็ดนางฟ้าในโรงเรียนให้นักเรียนได้ศึกษา

     

    276 276

    11. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1 และขอเบิกเงินงวดที่ 2

    วันที่ 16 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วันที่ 16 พศจิกายน 2559 ครูผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 2 คน เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1 และขอเบิกเงินงวดที่ 2

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. การรายงานการเงินงวดที่ 1 เสร็จเรียบร้อยแล้ว

     

    2 2

    12. ฟิวเจอร์บอร์ดความรู้เกี่ยวกับกิจกรรมส่งเสริมผลผลิตทางการเกษตร

    วันที่ 28 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ครูออกแบบแผ่นป้ายต่างๆ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์

    2. นำแผ่นป้ายที่ออกแบบได้ไปให้ที่ร้านปริ้นเป็นแผ่นป้ายขนาดจริง

    3. นำแผ่นป้ายไปติดบริเวณที่ทำกิจกรรมต่างๆ ตามป้าย ได้แก่ หน้าห้องเพาะเห็ดหน้าบ่อเลี้ยงกบหน้าบ่อเลี้ยงปลาดุก และบริเวณที่ทำปุ๋ยและน้ำหมักชีวภาพ เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลเพิ่มเติมให้นักเรียนได้ศึกษาข้อมูลต่างๆ เพิ่มเติมการการที่ได้ลงมือปฏิบัติ

    4. คุณครูพานักเรียนไปศึกษาความรู้จากป้ายต่างๆ โดยใช้เวลาในรายวิชาการงานอาชีพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. มีแผ่นป้ายให้ความรู้เกี่ยวกับกิจกรรมต่างๆ ไว้ให้นักเรียนศึกษา
    2. นักเรียนทุกคนมีความรู้เพิ่มเติมจากการศึกษาความรู้จากป้าย

     

    276 260

    13. อบรมให้ความรู้ด้านสุขนิสัยและส่งเสริมสุขภาพอนามัย

    วันที่ 29 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ทำหนังสือเชิญวิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำพุ
    2. เตรียมจัดทำเอกสารประกอบการอบรม
    3. จัดซื้อวัสดุ/อุปกรณ์ ต่างๆ ที่ต้องใช้ปฏิบัติในการฝึกอบรมตามที่วิทยากรกำหนด
    4. จัดอบรมขึ้นในวันพฤหัสบดี ที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2559ดังนี้

    4.1 นายชำนาญสกุลณี ผู้อำนวยการโรงเรียนชุมชนวัดน้ำพุ (น้ำพุพิทยาคาร) กล่าวเปิดการอบรม

    4.2 วิทยากรให้ความรู้ เรื่อง การรักษาสุขภาพตามหลักสุขบัญญัติแห่งชาติ 10 ประการ

    4.3 วิทยากรให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มย่อย และให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานหน้าห้องอบรม โดยวิทยากรจะสรุป และให้ข้อเสนอแนะทุกๆ กลุ่ม ภายหลังจากจบการนำเสนอผลงาน

    4.4 วิทยากรให้ความรู้เพิ่มเติมเรื่องวิธีการดูแลสุขภาพของตจนเอง

    4.5 ตัวแทนนักเรียนกล่าวขอบคุณวิทยากรที่มาให้ความรู้

    4.6 คุณครูมอบของขวัญให้วิทยากร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. จากการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มนักเรียนสามารถทำงานได้ถูกต้องตามโจทย์ที่วิทยากรกำหนด
    2. นักเรียนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพและปฏิบัติตามหลักสุขบัญญัติแห่งชาติ 10ประการได้
    3. นักเรียนมีสุขภาพและสุขนิสัยที่ดีขึ้นกว่าเดิม

     

    157 159

    14. อบรมและเผยแพร่ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการ สู่นักเรียน ผู้ปกครอง แม่ครัว ครู และชุมชน

    วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมวางแผนการจัดกิจกรรมการอบรม

    2. ดำเนินกิจกรรมการอบรมในวันศุกร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2560 โดยดำเนินกิจกรรมดังนี้

    2.1 ครูบรรยายให้ความรู้ เรื่อง การกำหนด “มาตรฐานอาหารกลางวันไทย” สำหรับ 5 วันทำการ และ หลักการนำมาตรฐานอาหารกลางวันสู่การวางแผนเมนูอาหารหมุนเวียน

    2.2 ครูชี้แจงวิธีการและหลักการจัดอาหารกลางวันของโรงเรียนชุมชนวัดน้ำพุ

    2.3 ครูนำอาหารชนิดต่างๆ มาให้นักเรียน ช่วยกันบอกประโยชน์ที่ได้รับจากการรับประทานอาหารนั้นๆ พร้อมกับให้คำอธิบายเพิ่มเติม

    2.4 แบ่งกลุ่มนักเรียนให้ทำกิจกรรม โดยการให้นักเรียนศึกษาจากแผ่นภาพที่ครูเตรียมให้นักเรียน

    2.5 ครูให้นักเรียนเรียนแต่ละกลุ่มแข่งขันตอบปัญหาสะสมคะแนนเพื่อชิงรางวัล

    2.6 ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลงอาหารหลัก 5 หมู่

    2.7 ครูสรุปคะแนนของแต่ละกลุ่มพร้อมกับมอบรางวัลให้นักเรียนกลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุด

    1. ปิดการอบรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนและผู้ปกครอง ได้รับความรู้เกี่ยวกับการกำหนด “มาตรฐานอาหารกลางวันไทย” สำหรับ 5 วันทำการ และ หลักการนำมาตรฐานอาหารกลางวันสู่การวางแผนเมนูอาหารหมุนเวียน
    2. นักเรียนได้ปฏิบัติกิจกรรม และได้เรียนรู้เกี่ยวกับสารอาหารและพลังงานที่ได้รับจากอาหารชนิดต่างๆ

     

    120 120

    15. แผ่นพับเผยแพร่ความรู้ด้านสุขนิสัยและส่งเสริมสุขภาพอนามัย

    วันที่ 6 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ออกแบบแผ่นพับ เกี่ยวกับการปฏิบัติตนตามหลักสุขบัญญัติแห่งชาติ
    2. ปริ้นท์แผ่นพับที่ออกแบบเสร็จ ออกมา
    3. นำแผ่นพับไปถ่ายเอกสาร แจกให้กับนักเรียนทุกคน เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษา และนำไปเผยแพร่ต่อผู้ปกครองต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนปฏิบัติตนได้ถูกต้องตามสุขบัญญัติแห่งชาติ
    2. ผู้ปกครองปฏิบัติตนได้ถูกต้องตามสุขบัญญัติแห่งชาติ

     

    265 512

    16. จัดทำรายงานปิดโครงการ งวด 2 พร้อมคืนดอกเบี้ย

    วันที่ 7 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำรายงานปิดโครงการ งวด 2 พร้อมคืนดอกเบี้ย 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทำรายงานปิดโครงการ งวด 2 พร้อมคืนดอกเบี้ย 

     

    1 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพด้านโภชนาการที่มีคุณภาพ
    ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมเกษตรคิดเป็นร้อยละ 80 ของนักเรียนทั้งหมด และโรงเรียนเป็นแหล่งการเรียนรู้ด้านการเกษตรให้กับชุมชน 2. มีการนำผลผลิตทางการเกษตรและสัตว์ส่งผ่านสหกรณ์นักเรียนเพื่อนำไปใช้ในกิจกรรมอาหารกลางวันคิดเป็นร้อยละ 100 และนักเรียนได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัย 3. จัดกิจกรรมอบรมเรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ ที่บูรณาการจากภูมิปัญญาท้องถิ่น จำนวน 4 ครั้ง โดยผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้ในเรื่องดังกล่าว 4. มีสื่อและนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการด้านเกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย 1 ชุด
    1. การร่วมกิจกรรมของนักเรียน/ภาพการร่วมกิจกรรมของนักเรียน

    2. บันทึก/บัญชีการขายของให้สหกรณ์นักเรียน

    3. รายชื่อนักเรียนเรียน/ผู้เกี่ยวข้อง ที่เข้ารับการอบรม

    4. ภาพสื่อและนวัตกรรมที่สร้างขึ้น

    2 เพื่อสร้างกระบวนการประเมินติดตามและเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
    ตัวชี้วัด : 1. โรงเรียนนำ Thai School Lunch Program มาวางแผนปรับปรุง การประกอบอาหารกลางวันให้ถูกตามหลักโภชนาการ ในทุกเดือน 2. มีรายการอาหารหมุนเวียนราย 1 เดือน ตามมาตรฐานโภชนาการ โดยการนำ Thai School Lunch Program มาวางแผนในการจัดอาหารหมุนเวียน 4. ปรุง ประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาล และอาหารปลอดภัย ในทุกมื้อ 5. นักเรียนได้รับประทานอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของมาตรฐานโภชนาการในทุกมื้อ 6. มีรายงานเฝ้าระวังการเจริญเติบโตและสมรรถภาพทางกายของนักเรียนทุกคนเทอมละ 2 ครั้ง 7. นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพทุกคนเทอมละ 1 ครั้ง และให้การดูแลช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างเหมาะสม
    1. รายการอาหารที่จัด โดยใช้โปรแกรมThai School Lunch Program

    2. ภาพการประกอบอาหาร

    3. รายการอาหาร/ภาพอาหารที่โรงเรียนจัดบริการให้กับนักเรียน

    4. รายงานเฝ้าระวังการเจริญเติบโตและสมรรถภาพทางกายของนักเรียน

    5. บัตรบันทึกสุขภาพประจำตัวนักเรียน (สศ.3)

    3 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี
    ตัวชี้วัด : 1.จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ด้านสุขนิสัยและส่งเสริมสุขภาพอนามัยให้กับนักเรียนโดยได้รับความร่วมมือจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำพุ 1 ครั้ง 2.จัดกิจกรรมศึกษาดูงานที่โรงเรียนวัดศรีนวลธรรมวิมล เพื่อสร้างความตระหนักด้านอาหารและโภชนาการให้กับผู้ปกครองและชุมชน
    1. ภาพกิจกรรม/รายชื่อนักเรียน ที่เข้ารับอบรมให้ความรู้ด้านสุขนิสัยและส่งเสริมสุขภาพอนามัย

    2. ภาพกิจกรรม/รายชื่อผู้ไปศึกษาดูงานที่โรงเรียนวัดศรีนวลธรรมวิมล

    4 เพื่อขยายผลโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสสู่โรงเรียนเครือข่ายจำนวน 3 โรงเรียน
    ตัวชี้วัด : 1.ขยายผลโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสสู่โรงเรียนเครือข่ายจำนวน 3 โรงเรียน คือ โรงเรียนวัดสี่ร้อย โรงเรียนวัดบางจักร และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลบางจัก
    1. รูปการดำเินกิจกรรมของแต่ละโรงเรียนที่เป็นโรงเรียนเครือข่าย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพด้านโภชนาการที่มีคุณภาพ (2) เพื่อสร้างกระบวนการประเมินติดตามและเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน (3) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี (4) เพื่อขยายผลโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสสู่โรงเรียนเครือข่ายจำนวน 3 โรงเรียน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โรงเรียนชุมชนวัดน้ำพุ (น้ำพุพิทยาคาร)

    รหัสโครงการ ศรร.1212-121 รหัสสัญญา 58-00-2265-ก.20 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    1.กิจกรรมการเลี้ยงกบ 2.กิจกรรมการเลี้ยงปลาดุก 3.กิจกรรมการเพาะเห็ดนางฟ้า 4.กิจกรรมการปลูกพืชผักสวนครัว

    โรงเรียนชุมชนวัดนำ้พุ (นำ้พุพิทยาคาร) ได้ดำเนินการกิจกรรมการเกษตรภายในโรงเรียนประกอบด้วย 4 กิจกรรมคือ
    1.กิจกรรมการเลี้ยงกบ โดยทางโรงเรียนจะซื้อพันธ์ลูกกบจากแหล่งจำหน่ายใช้เวลาเลี้ยงประมาณ 3-4 เดือนโดยนักเรียนเป็นผู้ดูแลผลผลิตที่ได้ส่งขายยังสหกรณ์โรงเรียนและทางโรงอาหารมารับซื้อเพื่อนำไปประกอบอาหารให้กับเด็กนักเรียน
    2.กิจกรรมการเลี้ยงปลาดุก โดยทางโรงเรียนจะซื้อพันธ์ลูกปลาดุกจากแหล่งจำหน่ายใช้เวลาเลี้ยงประมาณ 3 เดือนโดยนักเรียนเป็นผู้ดูแลผลผลิตที่ได้ส่งขายยังสหกรณ์โรงเรียนและทางโรงอาหารมารับซื้อเพื่อนำไปประกอบอาหารให้กับเด็กนักเรียน
    3.กิจกรรมการเพาะเห็ดนางฟ้า โดยทางโรงเรียนจะซื้อเชื้อเห็ดนางฟ้าจากแหล่งจำหน่ายโดยนักเรียนเป็นผู้ดูแลผลผลิตที่ได้ส่งขายยังสหกรณ์โรงเรียนและทางโรงอาหารมารับซื้อเพื่อนำไปประกอบอาหารให้กับเด็กนักเรียน
    4.กิจกรรมการปลูกพืชผักสวนครัว นักเรียนเป็นผู้ปลูกและดูแลพืชผักสวนครัวเมื่อผลผลิตเจริญเติบโตสามารถเก็บได้นักเรียนจะเก็บผลผลิตและจำหน่ายไปยังสหกรณ์นักเรียนโดยทางโรงอาหารมารับซื้ัอเพื่อนำไปประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียน

    เนื่องจากกิจกรรมทั้ง 4 กิจกรรมผลผลิตที่ได้สามารถนำมาแปรรูปเป็นอาหารกลางวันให้กับเด็กนักเรียนได้ ดังนั้นทางโรงเรียนจะยังคงดำเนินการต่อไปและจะเพิ่มปริมาณให้เพียงพอกับความต้องการของปริมาณเด็กนักเรียนภายในโรงเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    โรงเรียนชุมชนวัดนำ้พุ (น้ำพุพิทยาคาร) ได้จัดตั้งสหกรณ์นักเรียนขึ้นและได้ดำเนินการ 2 กิจกรรมคือ 1. กิจกรรมสหกรณ์ร้านค้า
    2.กิจกรรมออมทรัพย์

    โรงเรียนชุมชนวัดนำ้พุ (น้ำพุพิทยาคาร) ได้จัดตั้งสหกรณ์นักเรียนขึ้นและได้ดำเนินการ 2 กิจกรรมคือ 1. กิจกรรมสหกรณ์ร้านค้า โดยสหกรณ์ได้ดำเนินการขายสินค้าอุปกรณ์เครื่องเขียนอาหารเครื่องครัวให้กับนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนนอกจากนี้สินค้าที่ทางโรงเรียนผลิตได้ทุกชนิดจะทำการซื้อขายโดยระบบสหกรณ์นักเรียนโดยนักเรียนเป็นผู้ดำเนินการภายใต้การดูแลและควบคุมของครู 2.กิจกรรมออมทรัพย์ โรงเรียนได้ดำเนินการรับฝาก - ถอน เงินให้กับนักเรียนเพื่อฝึกนิสัยการออมทรัพย์ตั้งแต่วัยเยาว์

    เนื่องจากการดำเนินการระบบสหกรณ์ภายในโรงเรียนนั้นใช้ระบบการซื้อ-ขายผ่านระบบโปรแกรมมินิมาร์ทแต่เนื่องจากโปรแกรมที่ใช้ปัจุบันยังมีข้อผิดพลาดไม่สมบูรณ์การดำเนินการขั้นต่อไปทางโรงเรียนจะได้ทำการพัฒนาระบบเพื่อการใช้งานที่สมบูรณ์

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    โรงเรียนชุมชนวัดน้ำพุได้รับเงินสนับสนุนจากรัฐบาลเพื่อจัดทำอาหารให้กับนักเรียนดังนั้นทางโรงเรียนจึงได้จัดบริหารอาหารให้กับนักเรียนดังนี้ 1.อาหารเช้า (ข้าวต้ม) 2.อาหารกลางวัน

    โรงเรียนชุมชนวัดน้ำพุได้จัดบริการอาหารกลางวันให้กับนักเรียนโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunchซึ่งทำให้ทราบว่าอาหารที่จัดนั้นนักเรียนได้ประโยชน์จากคุณค่าทางอาหารมากน้อยแค่ไหนและภายในเวลา1 เดือน โรงเรียนพยายามจัดอาหารที่หลากหลายซึ่งอาหารที่จัดมีดังนี้ 1.อาหารเช้าโรงเรียนจัดบริหารอาหารเช้าให้กับนักเรียนทุกวัน ซึ่งอาหารที่จัดโดยส่วนใหญ่เป็นข้าวต้ม 2.อาหารกลางวัน ภายในหนึ่งเดือนโรงเรียนได้พยายามจัดอาหารที่หลากหลายไม่ให้ซ้ำกันในหนึ่งวันประกอบด้วยกับข้าว2 อย่างมีผลไม้ให้บริการทุกวันและในหนึ่งสัปดาห์ได้จัดทำขนมหวานให้เด็กรับประทานอย่างน้อยอาทิตย์ละ 1 วัน นอกจากนี้วัตถุดิบที่ใช้ในการประกอบอาหารบางชนิดโรงเรียนเป็นผู้ผลิตเช่น ปลาดุกกบเห็ด และผัก

    วัตถุดิบที่นำมาใช้ประกอบเป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียนนั้นบางส่วนได้มาจากผลิตที่โรงเรียนผลิตขึ้นแต่บางชนิดอาจยังไม่เพียงพอกับความต้องการดังนั้นทางโรงเรียนต้องเพิ่มผลผลิตดังกล่าวให้มากขึ้นหรืออาจเปลี่ยนเมนูอาหารให้ตรงกับผลิตที่่ทางโรงเรียนมีและพอที่จะหาได้ภายในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    โรงเรียนชุมชนวัดน้ำพุ ได้จัดกิจกรรมการติดตามภาวะโภชนาการโรงเรียนโดยมีการสำรวจภาวะโภชนาการของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง

    โรงเรียนชุมชนวัดนำ้พุ ได้จัดกิจกรรมติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนเช่น การชั่งน้ำหนักการวัดส่วนสูงและมีการสรุปข้อมูลภาคเรียนละ 1 ครั้ง นอกจากนี้ได้จัดกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาให้กับนักเรียนที่อยู่ในภาวะโภชนาการที่ไม่เหมาะสมกับวัยเช่นกิจกรรมออกกำลังกายเพื่อลดพุง เป็นต้น

    โรงเรียนชุมชนวัดน้ำพุได้พยายามแก้ปัญหาให้กับเด็กอ้วนเกินไปโดยจะหากิจกรรมออกกำลังกายที่หลากหลายเพื่อให้นักเรียนเกิดความสนุกสนานไม่เบื่อหน่าย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    โรงเรียนชุมชนวัดน้ำพุ จัดกิจกรรมการพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียนโรงเรียน จัดอบรมให้ความรู้กับนักเรียน

    โรงเรียนชุมชนวัดน้ำพุได้จัดกิจกรรมการพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียนอย่างต่อเนื่องเพื่อสุขนิสัยที่ดีของนักเรียนเช่น การเข้าแถวรับบริการอาหารการล้างมือก่อนรับประทานอาหารการใช้ช้อนกลางในการรับประทานอาหารการแปรงฟันหลังรับประทานอาหาร การกำจัดเหาการตรวจความสะอาดของร่างกายฯลฯนอกจากนี้โรงพยาบาลได้เข้ามาตรวจสุขภาพฟัน ตรวจสายตาหากนักเรียนคนใดเกิดปัญหาทางโรงพยาบาลได้ทำการส่งไปรักษาและติดตามผลอย่างต่อเนื่องและทางโรงเรียนได้จัดกิจกรรมอบรมเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนเข้าใจวิธีการรักษาความสะอาดในด้านต่างๆอย่างถูกต้อง

    จัดกิจกรรมที่หลากหลายเพื่อให้นักเรียนได้ปฏิบัติบ่มเพาะคุณลักษณะนิสัยที่ดีและถือปฏิบัติเป็นนิสัย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    โรงเรียนชุมชนวัดน้ำพุจัดกิจกรรมการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนที่ถูกสุขลักษณะโรงเรียนได้จัดสิ่งแวดล้อมภายในให้เหมาะสมกับการเรียนรู้ของนักเรียน

    โรงเรียนชุมชนวัดน้ำพุ ได้จัดกิจกรรมการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ ดังนี้ 1. ทำความสะอาดพื้นที่ต่างๆภายในโรงเรียน 2. ติดตั้งน้ำดื่มที่สะอาดเพื่อให้บริการกับเด็กนักเรียน 3. มีบ่อพักไขมันเศษอาหารในบริเวณโรงอาหาร

    จัดสิ่งแวดล้อมภายในให้เหมาะสมกับการเรียนรู้ของนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โรงเรียนชุมชนวัดน้ำพุ (น้ำพุพิทยาคาร) จังหวัด อ่างทอง

    รหัสโครงการ ศรร.1212-121

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายชำนาญ สกุลนี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด