ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านเหมืองแร่

รหัสโครงการ ศรร.1113-002 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.02 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน
  • เกิดฐานการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือ
  • ฐานตามรอยพระราชา (เรียนรู้เรื่องหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง
  • ฐานไก่ เป็ด ปลา น่าเรียนรู้ (เรียนรู้เรื่อง การเลี้ยงไก่ เลี้ยงเป็ด เลี้ยงปลา)
  • ฐานเชิดชูคุณธรรม (เรียนเรื่องการปลูกผักสวนครัว พิชไร่)
  • ฐานทำขยะอินทรีย์ให้มีคุณค่า (เรียนรู้เรื่อง การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ)
  • ฐานทำขยะทั่วไปให้มีราคา (เรียนรู้เรื่อง การจัดการกับถุงนม)
  • ฐานรู้รักษาวัฒนธรรม (เรียนรู้เรื่อง วัฒนธรรมชนเผ่า)
  • มีแหล่งนวัตกรรมใหม่ การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
  • มีแหล่งเรียนรู้การสร้างนวัตกรรมใหม่ banana hidro

วางแผน และแบบแปลนในการสร้างฐานการเรียนรู้ ทั้ง 6 ฐานการเรียนรู้ พร้อมทั้งโรงเรือนในการปลูกผัก ไฮโดรโปนิกส์ แบ่งผู้รับผิดชอบในแต่ละฐานและให้ครูผู้รับผิดชอบฐานแต่ละฐานช่วยกันออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ คู่มือการดำเนินกิจกรรมในฐานการเรียนรู้แต่ละฐาน แผนการจัดการเรียนรู้ในแต่ละฐานและฝึกนักเรียนแกนนำแต่ละฐานให้สามารถถ่ายทอดเรื่องราวในแต่ละฐานได้ ให้นักเรียนทุกคนในโรงเรียนได้เรียนรู้กิจกรรมในแต่ละฐานทุกฐานการเรียนรู้โดยจัดทำกิจกรรมและเนื้อหาให้เหมาะสมกับวัย และเรียนในช่วงเวลาลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ คือ ชั่วโมงสุดท้ายของวันจันทร์ถึงวันศุกร์

  • ขยายกิจกรรม หรือเพิ่มเติมกิจกรรมให้หลากหลายขึ้น เพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรลงสู่อาหารกลางวันให้มีจำนวนเพียงพอกับจำนวนนักเรียนในโรงเรียน
  • ขยายผลสู่โรงเรียนเครือข่าย และชุมชน
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

กิจกรรมสหกรณ์ร้านค้าในโรงเรียน

  • จัดสร้างห้องสหกรณ์ร้านค้าโรงเรียนบ้านเหมืองแร่
  • ระดมทุน หุ้นสหกรณ์ ของนักเรียนและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียน
  • จัดคณะกรรมการสหกรณ์โรงเรียน ทั้งระดับประถมและมัธยม
  • ติดต่อร้านค้าเพื่อซื้อของในราคาส่ง
  • นำสินค้ามาจำหน่ายในสหกรณ์โรงเรียนและลงรายการทุกครั้งที่จำหน่ายของ
  • จัดสร้างห้อง OTOP ของโรงเรียนบ้านเหมืองแร่ เพื่อจำหน่ายผลิตผล และผลิตภัณฑ์ของโรงเรียน
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

การจัดทำรายการอาหารหมุนเวียนรายเดือน ตามมารฐานโภชนาการ โดยใช้โปรแกรม TSL (Thai school lunch) ที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน

  • ครูผู้รับผิดชอบดำเนินการลงข้อมูลรายการอาหารกลางวันหมุนเวียนรายเดือน โดยใช้โปแกรม TSL และให้นักเรียนเข้าอบรมเพื่อเรียนรู้เรื่องการใช้โปรแกรม TSL ด้วย
  • จัดกิจกรรมการอบรมการใช้โปรแกรม TSL ให้กับบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ในโรงเรียน
  • จัดการอาหารตามรายการอาหาร และใช้วัตถุดิบที่มีในโรงเรียนและท้องถิ่น -อบรมนักเรียนแกนนำในการตักอาหารตามปริมารและสัดส่วนที่เหมาะสมตามหลักโภชนาการ
  • มีการจัดการอาหารกลางวันให้นักเรียนได้รับประทานทุกคนและมีขนมผลไม้เสริมอาทิตย์ละ3วัน

ขยายผลการอบรมโปรแกรมการจัดเมนูอาหารกลางวันหมุนเวียนรายเดือนโดยใช้โปรแกรม Thai school lunch ให้กับโรงเรียนเครือข่าย

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

กิจกรรม Dance your fat off

  • จัดทำฐานข้อมูลน้ำหนักส่วนสูงสมรรถภาพทางกาย และภาวะดูแลสุขภาพของนักเรียนทุกคนและการแปรผลภาวะโภชนาการและนำข้อมูลไปใช้ในการแก้ปัญหา
  • แก้ปัญหาเด็กอ้วนโดยจัดกิจกรรม Dance your fat offโดยให้นักเรียนกลุ่มเสี่ยงออกกำลังกายเต้น แอโรบิค ตอนเช้าประมาณ 15-20 นาที ของทุกวัน
  • ติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนกลุ่มเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง

จัดกิจกรรมการออกกำลังกายรูปแบบอื่นๆ เพื่อลดจำนวนเด็กกลุ่มเสี่ยงโรคอ้วน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

โครงการเสริมทักษะทางด้านดนตรีและกีฬาเพื่อพัฒนาสุขนิสัยและสุขภาพร่างกายของนักเรียน

  • จัดตั้งโครงการเสริมทักษะทางด้านดนตรีและกีฬาเพื่อพัฒนาสุขนิสัยและสุขภาพร่างกายของนักเรียน
  • ดำเนินกิจกรรมทางด้านดนตรี กีฬา ในรูปแบบของชุมนุม
  • มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จัดกิจกรรมโครงการที่ส่งเสริมสุขนิสัย และสุขภาพอนามัยที่ดีให้กับนักเรียนเพิ่มขึ้น

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

โรงเรียนมีบริการน้ำดื่มน้ำใช้ให้แก่นักเรียนมีห้องน้ำห้องส้วมที่ถูกต้องตามหลักสุขอนามัย

  • จัดบริการน้ำดื่มไว้เป็นจุดให้เพียงพอกับจำนวนนักเรียน
  • จัดโรงอาหารที่มีพื้นที่เหมาะสมและถูกสุขลักษณะ
  • จัดอบรมสุขาภิบาลในโรงเรียนโดยเชิญวิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพมาให้ความรู้แก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง
  • มีห้องน้ำ ที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ

ดำเนินการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะอย่างต่อเนื่อง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

โรงเรียนมีห้องพยาบาลเพื่อให้บริการแก่นักเรียนที่มีประสบอุบัติเหตุหรือเจ็บป่วยไม่สบาย

  • มีการตรวจสุขภาพนักเรียนประจำปีโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำตำบล
  • มีห้องพยาบาลเพื่อให้นักเรียนที่ป่วยได้รับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น

ปรับปรุงซ่อมแซมห้องพยาบาลให้มีความทันสมัยและขยายให้มีพื้นที่มากขึ้น เพื่อเป็นห้องที่ถูกสุขลักษณะ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

โรงเรียนมีหลักสูตรและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาเศรษฐกิจพอเพียง

  • จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ตามฐานการเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทั้ง 6 ฐาน
  • จัดทำคู่มือฐานการเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
  • จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ในแต่ละระดับชั้นดังนี้ ชั้นอนุบาล เรียนรู้ในห้องเรื่อง ตามรอยพระราชา ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 - 3 จัดทำแผนการเรียนรู้เรื่อง ตามรอยพระราชา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4จัดทำแผนการเรียนรู้เรื่อง ตามรอยพระราชา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5จัดทำแผนการเรียนรู้เรื่อง ไก่ เป็ด ปลา น่าเรียนรู้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6จัดทำแผนการเรียนรู้เรื่อง ผักเชิดชูคุณธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1จัดทำแผนการเรียนรู้เรื่อง ทำขยะอินทรีย์ให้มีคุณค่า ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2จัดทำแผนการเรียนรู้เรื่อง ทำขยะทั่วไปให้มีคุณค่า ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3จัดทำแผนการเรียนรู้เรื่อง รู้รักษาวัฒนธรรม

เผยแพร่ความรู้สู่โรงเรียนเครือข่าย และเป้นแหล่งเรียนรู้ให้กับชุมชน และหน่วยงานที่สนใจทั่วไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

รพ.สต ห้วยไคร้ คณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านเหมืองแร่ อบต.แม่คะ อสม.แม่คะ เครื่อข่ายผู้ปกครอง

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

โรงเรียนบ้านเหมืองแร่ได้จัดอาคารสถานที่จัดการสภาพแวดล้อมสำหรับการเรียนรู้อย่างเหมาะสมมีแผนงานโครงการงบประมาณและผู้รับผิดชอบในการปรับใช้อาคารสถานที่ สภาพแวดล้อมให้เป็นไปตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยการมีส่วนร่วมของครูและนักเรียนมีศูนย์รวมข้อมูลการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษา มีแผนผังแสดงแหล่งเรียนรู้ฐานกิจกรรมการเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา และมีสภาพแวดล้อมที่สะอาดร่มรื่นปลอดภัยเอื้อต่อการเรียนรู้ โรงเรียนจัดให้มีแหล่งเรียนรู้และฐานการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงที่สอดคล้องกับภูมิสังคมของสถานศึกษา จำนวน ๖ ฐานการเรียนรู้ มีสื่อประกอบการเรียนรู้ประจำฐานการเรียนรู้อย่างเพียงพอสามารถสื่อความได้ถูกต้องและชัดเจน มีแผนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีครูแกนนำและนักเรียนแกนนำประจำฐานการเรียนรู้ที่สามารถเป็นวิทยากรอธิบายการใช้ประโยชน์จากแหล่งการเรียนรู้ ฐานการเรียนรู้และการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงได้อย่างถูกต้องชัดเจน

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

ครูและบุคลากรของโรงเรียนบ้านเหมืองแร่ทุกคนได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของโครงการเด็กไทยแก้มใสร่วมมือในการทำงานนักเรียนโรงเรียนบ้านเหมืองแร่ทุกคน ได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ ความเข้าใจโดยมีนักเรียนแกนนำในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีบทบาทในการขยายผลสู่นักเรียนทั้งหมด ขยายผลสู่บุคคลและหน่วยงานภายนอกนักเรียนโรงเรียนบ้านเหมืองแร่มีความรู้ ความเข้าใจในภาวะโภชนาการ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียน เห็นคุณค่า รับรู้และได้รับการพัฒนาจนมีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องภาวะโภชนาการ มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนกิจกรรมของโรงเรียนมีความสามารถในการถ่ายทอดประสบการณ์สู่บุคคลและหน่วยงานภายนอก

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

จัดกิจกรรมอบรมเพื่อให้ความรู้ให้กับครู นักเรียนและผู้ที่เกี่ยวข้องให้มีความรู้ในโครงการเด็กไทยแก้มใส

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ผู้ปกครองและชุมชนให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมการอบรม ที่โรงเรียนจัดกิจกรรมเกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใส

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

โรงเรียนมีฐานการจัดการเรียนรู้ผักเชิดชูคุณธรรม เพื่อปลูกพืชผักสวนครัว และพืชไร่ตามฤดูกาล แต่ผลผลิตยังไม่เพียงพอต่อจำนวนนักเรียน

ฐานการจัดการเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ฐานผักเชิดชูคุณธรรม

ขยายพื้นที่ในการปลูกผักเพิ่มขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

โรงเรียนบ้านเหมืองแร่มีฐานการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ฐานไก่เป็ดปลาน่าเรียนรู้ เป็นฐานที่ให้ความรู้เรื่อง การเลี้ยง ไก่เนื้อและเป็ด และผลผลิตที่ได้นำไปสู่อาหารกลางวันส่วนหนึ่ง

ฐานการจัดการเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ฐานไก่ เป็ด ปลา น่าเรี่ยนรู้

ขยายโรงเรือน และเพิ่มพันธุ์ไก่ไข่ มาเลี้ยงเพื่อให้มีจำนวนเพียงพอต่อจำนวนนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

โรงเรียนบ้านเหมืองแร่มีฐานการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ฐานไก่เป็ดปลาน่าเรียนรู้ เป็นฐานที่ให้ความรู้เรื่อง การเลี้ยงปลา และผลผลิตที่ได้นำไปสู่อาหารกลางวันส่วนหนึ่ง

ฐานการจัดการเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ฐานไก่ เป็ด ปลา น่าเรี่ยนรู้

เพิ่มจำนวนพันธุ์ปลาที่เลี้ยงง่าย และเหมาะกับเมนูอาหารกลางวันเพื่อนำสู่โครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

-

-

-

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

-

-

-

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

โรงเรียนบ้านเหมืองแร่จัดรายการอาหารกลางวันให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาให้ได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม ผลไม้ 200 กรัม โดยใช้โปรแกรม Thai School lunch ในการจัดรายการอาหารกลางวัน

รายการอาหารหมุนเวียนรายเดือนตามโปรแกรม Thai School lunch

ขยายผลสู่โรงเรียนเครือข่าย และฝึกฝนนักเรียนแกนนำในการใช้โปรแกรม Thai School lunch

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

โรงเรียนบ้านเหมืองแร่จัดรายการอาหารกลางวันให้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาให้ได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม ผลไม้ 200 กรัม โดยใช้โปรแกรม Thai School lunch ในการจัดรายการอาหารกลางวัน

รายการอาหารหมุนเวียนรายเดือนตามโปรแกรม Thai School lunch

ขยายผลสู่โรงเรียนเครือข่าย และฝึกฝนนักเรียนแกนนำในการใช้โปรแกรม Thai School lunch

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

โรงเรียนมีเครือข่ายผู้ปกครอง หรือชุมชนโดยผ่านคณะกรรมการสถานศึกษาให้จำหน่ายผักปลอดสารพิษที่ได้ร่วมกับโรงเรียนในการเรียนในแหล่งเรียนรู้ให้กับโรงเรียนในราคาถูกกว่าท้องตลาด

แหล่งปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน

ประสานงานกับเครือข่ายผู้ปกครอง ชุมชน เพื่อขยายแหล่งปลูกผักปลอดสารพิษ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

โรงเรียนบ้านเหมืองแร่จัดรายการอาหารตามโปรแกรม Thai School lunch โดยครูได้รับการอบรมการใช้โปรแกรม และจะขยายผลต่อนักเรียนแกนนำต่อไป

รายการอาหารหมุนเวียนรายเดือนตามโปรแกรม Thai School lunch

จัดอบรมขยายผลสู่นักเรียนแกนนำให้มีคนใช้โปรแกรมมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

โรงเรียนบ้านเหมืองแร่มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้งได้อย่างครบถ้วนมีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เทอมละ 2 ครั้ง

เล่มสรุปภาวะโภชนาการของนักเรียน

ปรับปรุง ที่ชั่งน้ำหนัก ที่วัดส่วนสูง ให้มีความเที่ยงตรง

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/22562 1/1
เตี้ย 0.81 0.81% 0.20 0.20% 0.20 0.20% 0.60 0.60% 6.13 6.13% 5.10 5.10% 5.38 5.38% 6.35 6.35% 5.71 5.71% 6.00 6.00% 4.99 4.99% 5.52 5.52% 5.95 5.95% 5.54 5.54% 4.22 4.22% 5.62 5.62% 7.73 7.73%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 5.45 5.45% 2.79 2.79% 1.00 1.00% 3.17 3.17% 10.28 10.28% 12.42 12.42% 11.66 11.66% 12.70 12.70% 12.31 12.31% 12.22 12.22% 12.36 12.36% 12.14 12.14% 14.42 14.42% 15.01 15.01% 11.24 11.24% 13.11 13.11% 12.14 12.14%
ผอม 1.39 1.39% 0.40 0.40% 1.19 1.19% 0.20 0.20% 3.50 3.50% 2.44 2.44% 2.70 2.70% 1.36 1.36% 4.18 4.18% 2.58 2.58% 2.60 2.60% 1.55 1.55% 2.29 2.29% 2.54 2.54% 1.17 1.17% 0.94 0.94% 7.05 7.05%
ผอม+ค่อนข้างผอม 4.77 4.77% 2.79 2.79% 2.78 2.78% 1.79 1.79% 7.66 7.66% 5.10 5.10% 6.74 6.74% 3.85 3.85% 12.31 12.31% 7.14 7.14% 7.59 7.59% 5.52 5.52% 8.49 8.49% 6.00 6.00% 5.62 5.62% 4.68 4.68% 12.11 12.11%
อ้วน 2.39 2.39% 2.39 2.39% 1.79 1.79% 0.99 0.99% 3.94 3.94% 3.77 3.77% 3.60 3.60% 4.54 4.54% 2.64 2.64% 4.17 4.17% 5.21 5.21% 5.96 5.96% 4.82 4.82% 6.70 6.70% 5.62 5.62% 6.32 6.32% 6.17 6.17%
เริ่มอ้วน+อ้วน 7.55% 7.55% 5.78% 5.78% 5.57% 5.57% 5.77% 5.77% 9.19% 9.19% 7.10% 7.10% 7.64% 7.64% 9.98% 9.98% 9.01% 9.01% 10.71% 10.71% 12.36% 12.36% 12.14% 12.14% 12.39% 12.39% 14.32% 14.32% 13.58% 13.58% 13.58% 13.58% 11.45% 11.45%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

โรงเรียนบ้านเหมืองแร่มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้งได้อย่างครบถ้วนมีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เทอมละ 2 ครั้ง

เล่มสรุปภาวะโภชนาการของนักเรียน

ปรับปรุง ที่ชั่งน้ำหนัก ที่วัดส่วนสูง ให้มีความเที่ยงตรง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

โรงเรียนบ้านเหมืองแร่มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้งได้อย่างครบถ้วนมีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เทอมละ 2 ครั้ง

เล่มสรุปภาวะโภชนาการของนักเรียน

ปรับปรุง ที่ชั่งน้ำหนัก ที่วัดส่วนสูง ให้มีความเที่ยงตรง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

โรงเรียนบ้านเหมืองแร่มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้งได้อย่างครบถ้วนมีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เทอมละ 2 ครั้ง

เล่มสรุปภาวะโภชนาการของนักเรียน

ปรับปรุง ที่ชั่งน้ำหนัก ที่วัดส่วนสูง ให้มีความเที่ยงตรง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

โรงเรียนได้จัดกิจกรรม Dance your fat off เพื่อแก้ไขปัญหาสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ

  • จัดทำฐานข้อมูลน้ำหนักส่วนสูงสมรรถภาพทางกาย และภาวะดูแลสุขภาพของนักเรียนทุกคนและการแปรผลภาวะโภชนาการและนำข้อมูลไปใช้ในการแก้ปัญหา
  • แก้ปัญหาเด็กอ้วนโดยจัดกิจกรรม Dance your fat offโดยให้นักเรียนกลุ่มเสี่ยงออกกำลังกายเต้น แอโรบิค ตอนเช้าประมาณ 15-20 นาที ของทุกวัน
  • ติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนกลุ่มเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง

จัดกิจกรรมการออกกำลังกายรูปแบบอื่นๆ เพื่อลดจำนวนเด็กกลุ่มเสี่ยงโรคอ้วน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

โรงเรียนบ้านเหมืองแร่ ให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมโดยการจัดอบรมให้ความรู้ในการใช้โปรแกรมการจัดการอาหารหมุนเวียนรายเดือนให้นำไปใช้ที่บ้านของผู้ปกครองทุกคน

อบรมให้ความรู้ในการใช้โปรแกรมการจัดการอาหารหมุนเวียนรายเดือนให้นำไปใช้ที่บ้านของผู้ปกครองทุกคน

จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้กับผู้ปกครองเพื่อร่วมกันแก้ปัญหาอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

รพ.สต ห้วยไคร้ คณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านเหมืองแร่ อบต.แม่คะ อสม.แม่คะ เครื่อข่ายผู้ปกครอง

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh