ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านพรุจูด


“ โรงเรียนบ้านพรุจูด ”

หมู่ที่ 2 ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายสุวิทย์ ดาวังปา

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านพรุจูด

ที่อยู่ หมู่ที่ 2 ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ ศรร.1411-123 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ต.26

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2016 ถึง 30 เมษายน 2017


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านพรุจูด จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 2 ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านพรุจูด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านพรุจูด



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านพรุจูด " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 2 ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ศรร.1411-123 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านพรุจูด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 105 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ

สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น

จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านพรุจูด จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1) เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตาม เฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
  2. 2) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. โรงเรียนบ้านพรุจูด ได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก สสส. ในการดำเนินงานตามโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
    2. นักเรียน และผู้ปกครองมีความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีโภชนาการเจริญเติบโตสมวัย โดยการรับประทานอาหารครบทั้ง 5 หมู่ และได้รับสารอาหารที่มีคุณค่าต่อสุขภาพ สะอาด ปลอดภัย
    3. บุคลากรในโรงเรียนได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพ ด้านการจัดการอาหารและโภชนาการ แบบครบวงจร
    4. โรงเรียนได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการต่อไป
    5. นักเรียนมีสุขภาพที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย และจิตใจ เพื่อเตรียมพร้อมที่จะเรียนรู้
    6. นักเรียนสามารถหารายได้ระหว่างเรียนและสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปต่อยอดกับกิจกรรมในครอบครัวได้
    7. นักเรียนมีความสุขในการเรียน และปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    8. โรงเรียนและชุมชนมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. เพาะเห็ดนางฟ้า

    วันที่ 4 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. กำหนดรายละเอียดของกิจกรรมการเพาะเลี้ยงเห็ดนางฟ้า
    2. กำหนดครูและนักเรียนผู้รับผิดชอบ
    3. จัดเตรียมสถานที่ในการเพาะเลี้ยง
    4. จัดซื้อก้อนเชื้อเห็ดนางฟ้า จำนวน 410 ก้อน
    5. นักเรียนจัดเรียงก้อนเห็ดนางฟ้า
    6. รดน้ำก้อนเชื้อเช้า-เย็น โดยต้องรดน้ำให้ชุ่มทั่วทั้งก้อน แต่ห้ามให้น้ำกระเด็นไปโดนบริเวณปากถุงที่เปิดเพื่อให้เห็ดงอก
    7. เก็บผลผลิตที่โตเต็มที่
    8. นำผลผลิตที่ได้แบ่งขายให้สหกรณ์นักเรียน
    9. บันทักบัญชีรับ-จ่าย
    10. สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้รับผิดชอบในการเพาะเลี้ยงเห็ดนางฟ้า ซึ่งนักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการดูแลเห็ดนางฟ้า การเก็บผลผลิต การแบ่งขาย และการจัดทำบัญชีรับ-จ่าย

     

    201 10

    2. ประชุมตรวจเอกสารการดำเนินงาน (งวด 1)

    วันที่ 13 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม
    2. แยกกลุ่มตามโรงเรียน โดยแต่ละโรงเรียนจะได้รับความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ของส่วนกลาง
    3. บันทึกรายละเอียดในระบบ
    4. ตรวจสอบความถูกต้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ครูในโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติงาน ตามรูปแบบที่ สสส. กำหนด
    2. ครูสามารถบันทึกความก้าวหน้าของกิจกรรมได้อย่างถูกต้อง

     

    2 1

    3. สหกรณ์ของฉัน

    วันที่ 17 ตุลาคม 2016 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. นักเรียนลงทะเบียนเพื่อเข้าอบรม
    2. วิทยากรนำเสนอข้อมูลของสหกรณ์
    3. วิทยากรนำเสนอการบริหารจัดการบัญชีสหกรณ์
    4. นักเรียนทดลองปฏิบัติจริง
    5. สรุปผบการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้เรียนรู้รูปแบบ และกระบวนการดำเนินงานของสหกรณ์
    2. คณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน ได้ฝึกปฏิบัติการดำเนินงานสหกรณ์จริง

     

    106 0

    4. การพัฒนาบุคลากรเรื่องการเกษตร

    วันที่ 21 ตุลาคม 2016 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ลงทะเบียนเข้าอบรมด้านเกษตรในโรงเรียน
    2. วิทยากรบรรยายการจัดการเกษตรในโรงเรียนด้านต่าง ๆ เช่น การปลูกผัก การเลี้ยงไก่ไข่ การเลี้ยงปลาดุก
    3. นักเรียนร่วมกิจกรรม โดยทดลองลงมือปฏิบัติจริง
    4. สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้เรียนรู้การทำเกษตรในโรงเรียนจากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน พร้อมได้ทดลองลงมือปฏิบัติจริง

     

    40 0

    5. การปลูกพืชผักสวนครัว

    วันที่ 31 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. แบ่งกลุ่มและเขตพื้นที่รับผิดชอบ
    2. แต่ละกลุ่มกำหนดชนิดของผักที่ต้องการปลูก
    3. เตรียมแปลงปลูก
    4. ปลูกผักและดูแลตามหน้าที่รับผิดชอบ
    5. เก็บผลผลิตนำส่งขายที่สหกรณ์นักเรียน
    6. ทำบัญชีรายรับ-จ่าย
    7. ประเมินผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้ฝึกทักษะงานเกษตร
    2. นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจและรับประทานผักได้มากขึ้น
    3. นักเรียนรู้จักการทำงานร่วมกัน

     

    105 42

    6. ชุมนุมอาชีพขนมโค

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. นักเรียนที่สนใจทำขนมโค สมัครเข้าร่วมกิจกรรม
    2. ครูและนักเรียน ประชุม เพื่อมอบหมายภาระงานและเตรียมความพร้อมก่อนทำกิจกรรม
    3. ดำเนินการทำขนมโค
    4. นำขนมขาย
    5. บันทึกรายรับ-จ่าย
    6. จัดทำรายงานผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำขนมโค
    2. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม และการยอมรับความเห็นของผู้อื่น
    3. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำบัญชี

     

    24 10

    7. ชุมนุมอาชีพขนมลา

    วันที่ 8 พฤศจิกายน 2016 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. นักเรียนที่สนใจทำขนมลา สมัครเข้าร่วมกิจกรรม
    2. ครูและนักเรียน ประชุม เพื่อมอบหมายภาระงานและเตรียมความพร้อมก่อนทำกิจกรรม
    3. ดำเนินการทำขนมลา
    4. นำขนมขาย
    5. บันทึกรายรับ-จ่าย
    6. จัดทำรายงานผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำขนมโค
    2. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม และการยอมรับความเห็นของผู้อื่น
    3. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำบัญชี

     

    12 15

    8. ชุมนุมอาชีพขนมทอดมัน

    วันที่ 15 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. นักเรียนที่สนใจทำขนมทอดมัน สมัครเข้าร่วมกิจกรรม
    2. ครูและนักเรียน ประชุม เพื่อมอบหมายภาระงานและเตรียมความพร้อมก่อนทำกิจกรรม
    3. ดำเนินการทำขนมทอดมัน
    4. นำขนมขาย
    5. บันทึกรายรับ-จ่าย
    6. จัดทำรายงานผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำขนมโค
    2. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม และการยอมรับความเห็นของผู้อื่น
    3. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำบัญชี

     

    18 0

    9. ชุมนุมอาชีพกล้วยฉาบ

    วันที่ 22 พฤศจิกายน 2016 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมคณะครู และนักเรียน เพื่อร่วมกันกำหนดชุมนุม
    2. คัดเลือกชุมนุมที่นักเรียนสนใจ
    3. ดำเนินการชุมนุม
    4. ประเมินผล และสรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำขนมกล้วยฉาบ
    2. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม และการยอมรับความเห็นของผู้อื่น
    3. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำบัญชี

     

    16 14

    10. ชุมนุมอาชีพขนมจาก

    วันที่ 29 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. นักเรียนที่สนใจทำขนมจาก สมัครเข้าร่วมกิจกรรม
    2. ครูและนักเรียน ประชุม เพื่อมอบหมายภาระงานและเตรียมความพร้อมก่อนทำกิจกรรม
    3. ดำเนินการทำขนมจาก
    4. นำขนมขาย
    5. บันทึกรายรับ-จ่าย
    6. จัดทำรายงานผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำขนมจาก
    2. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม และการยอมรับความเห็นของผู้อื่น
    3. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำบัญชี

     

    15 15

    11. ชุมนุมอาชีพขนมข้าวต้มมัด

    วันที่ 6 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. นักเรียนที่สนใจทำขนมข้าวต้มมัด สมัครเข้าร่วมกิจกรรม
    2. ครูและนักเรียน ประชุม เพื่อมอบหมายภาระงานและเตรียมความพร้อมก่อนทำกิจกรรม
    3. ดำเนินการทำขนมข้าวต้มมัด
    4. นำขนมขาย
    5. บันทึกรายรับ-จ่าย
    6. จัดทำรายงานผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำขนมข้าวต้มมัด
    2. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม และการยอมรับความเห็นของผู้อื่น
    3. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำบัญชี

     

    12 10

    12. ชุมนุมอาชีพขนมบัวลอย

    วันที่ 13 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. นักเรียนที่สนใจทำขนมบัวลอย สมัครเข้าร่วมกิจกรรม
    2. ครูและนักเรียน ประชุม เพื่อมอบหมายภาระงานและเตรียมความพร้อมก่อนทำกิจกรรม
    3. ดำเนินการทำขนมบัวลอย
    4. นำขนมขาย
    5. บันทึกรายรับ-จ่าย
    6. จัดทำรายงานผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำขนมบัวลอย
    2. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม และการยอมรับความเห็นของผู้อื่น
    3. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำบัญชี

     

    16 18

    13. จัดซื้อแม่พันธุ์ไก่ไข่และอาหารไก่

    วันที่ 15 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เตรียมพื้นที่สำหรับเลี้ยงไก่ไข่
    2. จัดซื้อแม่พันธุ์ไก่ไข่ พร้อมอาหาร และยา
    3. ดูแลไก่ตามวิธีการ
    4. เก็บเกี่ยวผลผลิต และนำส่งขายสหกรณ์โรงเรียน
    5. บันทึกรายรับ-รายจ่าย
    6. รายงานผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้บริโภคไข่ไก่ที่มีคุณภาพ
    2. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการเลี้ยงไก่ไข่
    3. นักเรียนมีรายได้จากการขายปุ๋ยมูลไก่
    4. นักเรียนมีความรับผิดชอบมากขึ้น

     

    201 113

    14. การติดตามภาวะโภชนาการอาหารเสริมเพิ่มน้ำหนัก

    วันที่ 18 ธันวาคม 2016 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดทำกำหนดการอบรม
    2. เชิญวิทยากร / ผู้เชี่ยวชาญ เพื่อบรรยายให้ความรู้
    3. จัดอบรมตามกำหนดการ
    4. สอบถามความพึงพอใจ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียน มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการอาหารเสริมเพิ่มน้ำหนักและได้รับการคัดกรองอย่างเหมาะสม
    2. นักเรียนและผู้ปกครอง ได้เรียนรู้วิธีการรักษาช่องปาก และฟันอย่างถูกวิธี
    3. นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติการแปรงฟันอย่างถูกวิธี
    4. นักเรียนและผู้ปกครองมีสุขภาพช่องปากและฟันที่ดีขึ้น

     

    64 64

    15. ชุมนุมอาชีพขนมต้มลาว

    วันที่ 20 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. นักเรียนที่สนใจทำขนมต้มลาว สมัครเข้าร่วมกิจกรรม
    2. ครูและนักเรียน ประชุม เพื่อมอบหมายภาระงานและเตรียมความพร้อมก่อนทำกิจกรรม
    3. ดำเนินการทำขนมต้มลาว
    4. นำขนมขาย
    5. บันทึกรายรับ-จ่าย
    6. จัดทำรายงานผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำขนมต้มลาว
    2. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม และการยอมรับความเห็นของผู้อื่น
    3. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำบัญชี

     

    16 12

    16. ชุมนุมอาชีพขนมต้ม

    วันที่ 20 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. นักเรียนที่สนใจทำขนมข้าวต้มมัด สมัครเข้าร่วมกิจกรรม
    2. ครูและนักเรียน ประชุม เพื่อมอบหมายภาระงานและเตรียมความพร้อมก่อนทำกิจกรรม
    3. ดำเนินการทำขนมข้าวต้มมัด
    4. นำขนมขาย
    5. บันทึกรายรับ-จ่าย
    6. จัดทำรายงานผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนที่สนใจทำขนมข้าวต้มมัด สมัครเข้าร่วมกิจกรรม
    2. ครูและนักเรียน ประชุม เพื่อมอบหมายภาระงานและเตรียมความพร้อมก่อนทำกิจกรรม
    3. ดำเนินการทำขนมข้าวต้มมัด
    4. นำขนมขาย
    5. บันทึกรายรับ-จ่าย
    6. จัดทำรายงานผล

     

    11 11

    17. ศึกษาดูงาน

    วันที่ 21 ธันวาคม 2016 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เดินทางถึงโรงเรียนบ้านลำทับ
    2. ผู้อำนวยการโรงเรียน กล่าวต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากโรงเรียนบ้านพรุจูด
    3. คณะครู และนักเรียน นำคณะศึกษาดูงาน ดูงานตามฐานการเรียนรู้ต่าง ๆ ตลอดทั้งวัน
    4. คณะศึกษาดูงานกล่าวขอบคุณและมอบขอบที่ระลึก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โรงเรียนบ้านลำทับ อ.ลำทับ จ.กระบี่ เป็นโรงเรียนมีสามารถดำเนินกิจกรรมศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใสได้อย่างดีเยี่ยม ทุกองค์ประกอบมีกระบวนการ และผลการดำเนินงานที่ชัดเจน คณะครูและนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

     

    30 30

    18. ชุมนุมอาชีพขนมเทียน

    วันที่ 27 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. นักเรียนที่สนใจทำขนมเทียน สมัครเข้าร่วมกิจกรรม
    2. ครูและนักเรียน ประชุม เพื่อมอบหมายภาระงานและเตรียมความพร้อมก่อนทำกิจกรรม
    3. ดำเนินการทำขนมเทียน
    4. นำขนมขาย
    5. บันทึกรายรับ-จ่าย
    6. จัดทำรายงานผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำขนมเทียน
    2. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม และการยอมรับความเห็นของผู้อื่น
    3. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำบัญชี

     

    11 0

    19. ชุมนุมอาชีพขนมไข่นก

    วันที่ 27 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. นักเรียนที่สนใจทำขนมไข่นก สมัครเข้าร่วมกิจกรรม
    2. ครูและนักเรียน ประชุม เพื่อมอบหมายภาระงานและเตรียมความพร้อมก่อนทำกิจกรรม
    3. ดำเนินการทำขนมไข่นก
    4. นำขนมขาย
    5. บันทึกรายรับ-จ่าย
    6. จัดทำรายงานผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำขนมไข่นก
    2. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม และการยอมรับความเห็นของผู้อื่น
    3. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำบัญชี

     

    17 12

    20. ชุมนุมอาชีพบ๊ะจ่าง

    วันที่ 3 มกราคม 2017 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ซื้อวัตถุดิบเพื่อทำกิจกรรม
    2. แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
    3. ดำเนินกิจกรรม
    4. ขายผลิตภัณฑ์
    5. ทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำบ๊ะจ่าง
    2. นักเรียนได้บริโภคข้าวต้มมัดที่สะอาด และมีคุณค่าทางโภชนาการ

     

    19 19

    21. อาหารและโภชนาการ

    วันที่ 14 มกราคม 2017 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดทำกำหนดการอบรม
    2. เชิญวิทยากร / ผู้เชี่ยวชาญ เพื่อบรรยายให้ความรู้
    3. จัดอบรมตามกำหนดการ
    4. สอบถามความพึงพอใจ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนและผู้ปกครอง ได้เรียนรู้วิธีเลือกอาหารและรับประทานอย่างเหมาะสม
    2. นักเรียนและผู้ปกครอง ได้รู้วิธีสังเกตุอาการ หรือลักษณะผิดปกติของร่างกาย เพื่อคัดกรองตัวเองเบื้องต้น

     

    105 0

    22. จัดซื้ออาหารไก่

    วันที่ 8 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ให้อาหารไก่ตามปริมาณที่เหมาะสม
    2. ตรวจสอบปริมาณอาหารคงเหลือ
    3. จัดซื้ออาหารเพิ่มเติม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ไก่ได้รับอาหารในปริมาณที่เหมาะสม
    2. นักเรียนรู้จักแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
    3. นักเรียนรู้จักบันทึกปริมาณการให้อาหาร และสังเกตอาการของไก่

     

    2 16

    23. คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ

    วันที่ 3 เมษายน 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนดอกเบี้ยโครงการให้กับ สอส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คืนดอกเบี้ยโครงการให้กับ สอส. เรียบร้อย

     

    0 0

    24. ประชุมตรวจเอกสารการดำเนินงาน (งวด 3)

    วันที่ 3 เมษายน 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม
    2. แยกกลุ่มตามโรงเรียน โดยแต่ละโรงเรียนจะได้รับความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ของส่วนกลาง
    3. บันทึกรายละเอียดในระบบ
    4. ตรวจสอบความถูกต้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ครูในโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติงาน ตามรูปแบบที่ สสส. กำหนด
    2. ครูสามารถบันทึกความก้าวหน้าของกิจกรรมได้อย่างถูกต้อง

     

    2 1

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1) เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตาม เฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนเจริญเติบโตสมวัยโดยมี - ภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน ไม่เกิน7% - ภาวะผอมไม่เกิน 7%ดูน้ำหนักตามเกณฑ์และส่วนสูง - ภาวะเตี้ย ไม่เกิน 7%

    ผลการประเมินตามตัวชี้วัด พบว่า 1. นักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน อยู่ในระดับ 8.42% ซึ่งเกินระดับตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ แต่ผลการประเมินดังกล่าว มีแนวโน้มลดลง
    2. นักเรียนมีภาวะผอมอยู่ในระดับ 4.21% เป็นไปตามตัวชี้วัดที่ตั้งไว้ 3. นักเรียนมีภาวะเตี้ย อยู่ในระดับ 2.11% เป็นไปตามตัวชี้วัดที่ตั้งไว้

    2 2) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร
    ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนได้กินผัก – ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้นในมื้อกลางวัน เฉลี่ย - ผักวันละประมาณ 40-100 กรัม (อนุบาล 3 ช้อน (50กรัม)ประถม4 ช้อน (70กรัม) - ผลไม้(อนุบาล 1/2ส่วนประถม 1ส่วน) ต่อมื้อ ต่อคน 2. ระดับความสำเร็จของโรงเรียนชุมชนในการพัฒนาด้านการจัดการเชื่อมโยงอาหาร โภชนาการ สุขภาพ อยู่ในระดับ 4
    1. โรงเรียนได้ดำเนินการบันทึกข้อมูลรายการอาหารโดยโปรแกรม Thai School Lunch
    2. โรงเรียนและชุมชนได้ประสานการดำเนินงาน สามารถสร้างเครือข่ายเชื่อมโยงอาหาร โภชนาการ สุขภาพ อยู่ในระดับ 4

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1) เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตาม เฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน (2) 2) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

    ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านพรุจูด

    รหัสโครงการ ศรร.1411-123 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.26 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

    วันที่เริ่มประเมิน

    1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    (ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    1. การเกษตรในโรงเรียน

    การเลี้ยงไก่ไข่เพื่ออาหารกลางวัน เนื่องจากการเลี้ยงไก่ไข่ในเชิงพาณิชย์มีต้นทุนที่ค่อนข้างสูง โรงเรียนจึงไม่มีงบประมาณในการปฏิบัติกิจกรรม แต่หลังจากได้รับอนุมัติโครงการจาก สสส. ทำให้โรงเรียนมีต้นทุนในการดำเนินการ ซึ่งจากการปฏิบัติดังกล่าว ทำให้นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการเลี้ยงไก่ไข่ จากผู้เชี่ยวชาญ และได้ลงมือปฏิบัติจริงอย่างครบวงจร ทำให้นักเรียนสามารถนำไปต่อยอดในการสร้างอาชีพในครอบครัวได้

    1. โครงการ
    2. ภาพถ่่าย
    3. บันทึกรายรับ-รายจ่าย
    4. บันทึกจำนวนไข่ไก่ในแต่ละวัน

    ให้ผู้ปกครองหรือชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแล บริหารจัดการร่วมกัน

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    2. สหกรณ์นักเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

    การจัดกิจกรรมอาหารกลางวัน โดยใช้โปรแกรม Thai School lunch

    1. ผู้รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวัน จัดทำรายการอาหารเป็นรายเดือน บันทึกวัสดุตามรายการอาหารลงในโปรแกรมอาหารกลางวัน Thai School lunch แล้วตรวจสอบวัตถุดิบ และคุณค่าอาหาร ให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ นำรายการอาหารไปติดป้ายประกาศที่โรงอาหาร ครูที่รับผิดชอบ จัดซื้อ จัดหาวัตถุดิบที่ปลอดสารพิษเป็นประจำทุกวัน และมอบให้ผู้ประกอบการอาหารกลางวัน ผู้ประกอบการอาหารกลางวัน ได้รับการอบรมจาก โรงพยาบาลประจำอำเภอ และผ่านการตรวจสุขภาพ

    ประชาสัมพันธ์ ให้ผู้ปกครองและชุมชนเข้าร่วมกิจกรรม "อาหารปลอดภัย สุขภาพแข็งแรง" เพื่อพัฒนาและส่งเสริมสุขภาวะของนักเรียน

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

    คัดกรองนักเรียน

    1. ครูประจำชั้นดำเนินการคัดกรองนักเรียนตามแบบฟอร์มของโรงเรียน ประกอบด้วย SDQ และการคัดกรองด้านสุขภาพของนักเรียน
    2. ครูอนามัยโรงเรียนสรุปผลการคัดกรองในภาพรวมของโรงเรียน
    3. ผู้บริหารวางแผนการแก้ไขปัญหา โดยบูรณาการดำเนินงานกับภาคีเครือข่าย

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

    กิจกรรมแม่ไม้มวยไทย

    เป็นกิจกรรมออกกำลังกายในตอนเช้าหลังกิจกรรมเข้าแถวเคารพธงชาติ ซึ่งนักเรียนทุกคนจะได้ออกกำลังกาย โดยเต้นแอโรบิคในท่าแม่ไม้มวยไทย

    ประกวดเต้นแอโรบิคแม่ไม้มวยไทย และรณรงค์ให้ชุมชนได้มี่ส่วนร่วมใจกิจกรรม

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

    กิจกรรมคัดแยกขยะ

    โรงเรียนได้รับการสนุนสนุนจากภาคีเครือข่าย คือ องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน ให้ดำเนินกิจกรรมแยกขยะ โดยขยะทั้งหมดจะแบ่งเป็นขยะที่สามารถนำไปขายได้ ส่วนขยะเปียกที่เกิดจากเศษอาหาร จะนำไปทำเป็นปุ๋ยจุลินทรีย์ เพื่อใช้ในการเกษตรในโรงเรียน

    กิจกรรมขยะแลกไข่ เนื่องจากโรงเรียนมีผลผลิตคือ ไข่ จากกิจกรรมเลี้ยงไก่ไข่เพื่ออาหาารกลางวัน ซึ่งมีปริมาณเกินความต้องการบริโภคของนักเรียนในแต่ละวัน จึงเห็นควรจัดกิจกรรมขยะแลกไข่ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนและชุมชนได้คัดแยกขยะ และให้ได้บริโภคไข่ไก่ที่มีคุณภาพต่อไป

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน
    1. ตรวจสุขภาวะทั่วไปของนักเรียน
    2. กำจัดเหา
    3. ตรวจสุขภาพประจำภาคเรียน

    โรงเรียนได้ดำเนินกิจกรรมที่เป็นการบริการสุขภาพของนักเรียน เพื่อให้สามารถดูแลสุขภาวะของนักเรียนได้อย่างครบถ้วน ซึ่งมีกิจกรรมที่ดำเนินการประกอบด้วย กิจกรรมตรวจสุขภาวะทั่วไปของนักเรียน ซึ่งจะดำเนินการทุกสัปดาห์ ประกอบด้วย ตรวจผม ตรวจเหา ตรวจเล็บ ตรวจฟัน ตรวจความสะอาดทั่วไปของร่างกาย หลังจากนั้น หากพบนักเรียนเป็นเหา จะดำเนินกิจกรรมกำจัดเหา โดยได้รับความร่วมมือจากโรงพยาบาลสิเกา และผู้ปกครองนักเรียนกลุ่มที่มีปัญหาช่วยดำเนินกิจกรรม และสุดท้ายจะมีการตรวจสุขภาพนักเรียนประจำภาคเรียน ดำเนินการโดยเจ้าหน้าที่พยาบาลจากโรงพยาบาลสิเกา ครูประจำชั้น

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

    ได้จัดการเรียนเรียนรู้เกษตรทั้งภายในโรงเรียนและขยายสู่ชุมชน จัดตั้งสหกรณ์นักเรียน มีนักเรียนเป็นผู้ดำเนินการ แต่ยังไม่มีการรับซื้อผลผลิตจากเกตรในโรงเรียนและชุมชนยังไม่มาก

    รับผลผลิตจากเกษตรในโรงเรียนและชุมชน มาและจัดส่งสู่อาหารลางวัน

    จะทำเกษตรแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและชุมชนที่ต่อเนื่อง

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    9. อื่น ๆ

     

     

     

    2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

    1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

    มีภาคีเครือข่ายให้ความร่วมมือที่หลากหลาย เช่น องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน ศูนย์วิเพาะพันธุ์เนื้อเยื่อ จังหวัดตรัง สำนักงานส่งเสริมสหกรณ์จังหวัดตรัง โรงพยาบาลสิเกา

    2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

    ชุมชนเข้มแข็ง ผู้ปกครอง ตกลงให้ความร่วมมือดีมีภาคีเครือข่ายให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี

    3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

    ผู้บริหารให้ความสำคัญ ได้ชี้แจงนโยบาย และมอบหมายภาระงานที่ชัดเจน มีการติดตามสอบถาม ให้กำลังใจในการทำงาน คณะครูทุกคนให้ความสำคัญ และร่วมมือเป็นอย่างดี ผู้ปกครองมีความตระหนัก หันมาใส่ใจสุขภาพของบุตรหลานของตนเองมากขึ้น นักเรียนมีวินัย มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ผู้นำชุมชนให้ความสนับสนุน

    4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

    ศึกษาแหล่งเรียนรู้้ด้วยตนเอง ศึกษาเรียนรู้จากวิทยากร ศึกษาเรียนรู้จากการทดลอง ศึกษาเรียนรู้โดยการปฏิบัติจริง

    5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

    ผู้นำชุมชน เชิญผู้ปกครองนักเรียน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง มาประชุมชี้แจงถึงสภาพปัจจุบัน ปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อหาวิธีการแก้ปัญหาร่วมกัน ผู้นำชุมชนสนับสนุนงบประมาณ และจัดทำโครงการการพัฒนาสุขภาพบุคคลในชุมชน เพื่อให้สอดคล้องกับกิจกรรมในโรงเรียน เป็นการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ชุมชนเข้ามาช่วยเหลือ ให้ความรู้ จัดกิจกรรมพัฒนาสุขภาวะให้ผู้ปกครอง และนักเรียน ผู้ปกครองมีบทบาทในการเป็นผู้ประกอบอาหารกลางวัน เพื่อศึกษาข้อมูลวัตถุดิบ วิธีการที่ถูกหลักอนามัย ผู้ปกครองมีบทบาทในการตรวจสุขภาพของบุตรหลานของตนเอง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

    เนื่องจากพื้นที่โรงเรียนมีจำกัดการผลิตผักและผลไม้ในโรงเรียนจึงไม่เพียงพอ จึงมีการจัดซื้อเพิ่มเติมเพื่อให้เพียงพอ

    โครงการอาหารกลางวัน ภาพถ่าย

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

    เลี้ยงไก่ไข่เพื่ออาหารกลางวัน จำนวน 50 ตัว

    โครงการอาหารกลางวัน ภาพถ่าย

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

    เลี้ยงปลาดุก จำนวน 300 ตัว

    โครงการอาหารกลางวัน ภาพถ่าย

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

    เนื่องจากโรงเรียนไม่มีงบประมาณเพียงพอ แต่ได้บริหารจัดการโดยกำหนดให้นักเรียนดื่มนมโรงเรียนในตอนเช้าทุกวัน

     

     

    5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

    อาหารกลางวันทุกมื้อจะเป็นเมนูที่มีผักเป็นส่วนประกอบ

    จัดผลไม้ให้นักเรียนได้รับประทานสัปดาห์ละ 3 วัน เมนูอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunch

    จัดบริการให้เด็กได้รับประทานผลไม้ให้ครบ 5 วัน ต่อสัปดาห์

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    อาหารกลางวันทุกมื้อจะเป็นเมนูที่มีผักเป็นส่วนประกอบ

    จัดผลไม้ให้นักเรียนได้รับประทานสัปดาห์ละ 3 วัน เมนูอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunch

    จัดบริการให้เด็กได้รับประทานผลไม้ให้ครบ 5 วัน ต่อสัปดาห์

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    อาหารกลางวันทุกมื้อจะเป็นเมนูที่มีผักเป็นส่วนประกอบ

    จัดผลไม้ให้นักเรียนได้รับประทานสัปดาห์ละ 3 วัน เมนูอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunch

    จัดบริการให้เด็กได้รับประทานผลไม้ให้ครบ 5 วัน ต่อสัปดาห์

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

    เนื่องจากในชุมชน ยังไม่มีแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษที่จะสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้และเครือข่ายการดำเนินการได้

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

    มีการอบรมให้ความรู้การใช้โปรแกรม Thai School Lunchให้กับผู้ปกครอง ครู แม่ครัว นักเรียนแกนนำ เพื่อจัดเมนูอาหาร

    เมนูอาหารจากโปรแกรม Thai School Lunch

    จัดหาภาชนะให้เพียงพอ และจัดรูปแบบอาหารให้น่ารับประทานมากขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่
    1. ครูอนามัยกำหนดตารางการดำเนินงาน
    2. ครูประจำชั้นติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียน โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
    3. เจ้าหน้าที่สาธารณะสุขจากโรงพยาบาลสิเกา ตรวจคัดกรองนักเรียน
    4. งานอนามัยสรุปผลการดำเนินงาน

    สมุดบันทึกการติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียน

     

    3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

    สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

    ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/2
    เตี้ย 4.17 4.17% 1.09 1.09% 2.13 2.13% 4.17 4.17% 2.08 2.08% 2.08 2.08% 2.11 2.11% 2.11 2.11% 2.20 2.20% 2.20 2.20%
    เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 11.46 11.46% 7.61 7.61% 6.38 6.38% 8.33 8.33% 11.46 11.46% 9.38 9.38% 10.53 10.53% 10.53 10.53% 5.49 5.49% 5.49 5.49%
    ผอม 3.13 3.13% 5.88 5.88% 2.13 2.13% 1.04 1.04% 2.08 2.08% 2.11 2.11% 4.21 4.21% 4.21 4.21% 0.00 0.00% 0.00 0.00%
    ผอม+ค่อนข้างผอม 10.42 10.42% 14.12 14.12% 4.26 4.26% 4.17 4.17% 7.29 7.29% 9.47 9.47% 10.53 10.53% 8.42 8.42% 3.30 3.30% 3.30 3.30%
    อ้วน 7.29 7.29% 8.24 8.24% 8.51 8.51% 8.33 8.33% 7.29 7.29% 5.26 5.26% 6.32 6.32% 5.26 5.26% 12.09 12.09% 8.79 8.79%
    เริ่มอ้วน+อ้วน 13.54% 13.54% 15.29% 15.29% 17.02% 17.02% 14.58% 14.58% 13.54% 13.54% 11.58% 11.58% 11.58% 11.58% 8.42% 8.42% 17.58% 17.58% 17.58% 17.58%
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง
    1. ครูประจำชั้น จัดตรวจสุขภาพของนักเรียน โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และบันทึกข้อมูล
    2. ครูอนามัย สรุปเป็นภาพรวมของโรงเรียน
    3. นำส่งข้อมูลให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขโรงพยาบาลสิเกา เพื่อแปลผล
    4. โรงเรียนจัดกิจกรรมเพื่อสนองตอบต่อผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการแปลผล หากพบว่านักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ไม่เหมาะสม เช่น อ้วน ผอม เตี้ย จะดำเนินการจัดกิจกรรมเพื่อปรับพฤติกรรม เช่น จัดอบรมให้ความรู้ เพิ่มกิจกรรมออกกำลังกายในช่วงเช้า ควบคุมปริมาณและประเภทของอาหาร
    5. ติดตามผลการดำเนินการ
    1. สมุดบันทึกการตรวจสุขภาพของนักเรียน
    2. สถานการณ์ภาวะโภชนาการของนักเรียน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง
    1. ครูประจำชั้น จัดตรวจสุขภาพของนักเรียน โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และบันทึกข้อมูล
    2. ครูอนามัย สรุปเป็นภาพรวมของโรงเรียน
    3. นำส่งข้อมูลให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขโรงพยาบาลสิเกา เพื่อแปลผล
    4. โรงเรียนจัดกิจกรรมเพื่อสนองตอบต่อผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการแปลผล หากพบว่านักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ไม่เหมาะสม เช่น อ้วน ผอม เตี้ย จะดำเนินการจัดกิจกรรมเพื่อปรับพฤติกรรม เช่น จัดอบรมให้ความรู้ เพิ่มกิจกรรมออกกำลังกายในช่วงเช้า ควบคุมปริมาณและประเภทของอาหาร
    5. ติดตามผลการดำเนินการ
    1. สมุดบันทึกการตรวจสุขภาพของนักเรียน
    2. สถานการณ์ภาวะโภชนาการของนักเรียน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง
    1. ครูประจำชั้น จัดตรวจสุขภาพของนักเรียน โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และบันทึกข้อมูล
    2. ครูอนามัย สรุปเป็นภาพรวมของโรงเรียน
    3. นำส่งข้อมูลให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขโรงพยาบาลสิเกา เพื่อแปลผล
    4. โรงเรียนจัดกิจกรรมเพื่อสนองตอบต่อผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการแปลผล หากพบว่านักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ไม่เหมาะสม เช่น อ้วน ผอม เตี้ย จะดำเนินการจัดกิจกรรมเพื่อปรับพฤติกรรม เช่น จัดอบรมให้ความรู้ เพิ่มกิจกรรมออกกำลังกายในช่วงเช้า ควบคุมปริมาณและประเภทของอาหาร
    5. ติดตามผลการดำเนินการ
    1. สมุดบันทึกการตรวจสุขภาพของนักเรียน
    2. สถานการณ์ภาวะโภชนาการของนักเรียน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

    โรงเรียนจัดกิจกรรมเพื่อสนองตอบต่อผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการแปลผล หากพบว่านักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ไม่เหมาะสม เช่น อ้วน ผอม เตี้ย จะดำเนินการจัดกิจกรรมเพื่อปรับพฤติกรรม เช่น จัดอบรมให้ความรู้ เพิ่มกิจกรรมออกกำลังกายในช่วงเช้า ควบคุมปริมาณและประเภทของอาหาร

    1. สมุดบันทึกการตรวจสุขภาพของนักเรียน
    2. สถานการณ์ภาวะโภชนาการของนักเรียน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

    โรงเรียนได้ดำเนินโครงการอบรมนักเรียนและผู้ปกครอง เพื่อให้ความรู้ และแนวทางการปฏิบัติตน ในเรื่องโภชนาการและการดูแลรักษาช่องปาก

    1. ภาพถ่าย
    2. ใบลงทะเบี่ยน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

    มีภาคีเครือข่ายให้ความร่วมมือที่หลากหลาย เช่น องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน ศูนย์วิเพาะพันธุ์เนื้อเยื่อ จังหวัดตรัง สำนักงานส่งเสริมสหกรณ์จังหวัดตรัง โรงพยาบาลสิเกา

    หมายเหตุ *

    • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    โรงเรียนบ้านพรุจูด จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ ศรร.1411-123

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสุวิทย์ ดาวังปา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด