คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ
-
ประกอบด้วย
นักเรียนแกนนำเข้ารับการอบรม การจัดทำสมุดบัญชีรายรับ-รายจ่าย
ผลผลิต นักเรียนแกนนำ เข้ารับการอบรมสหกรณ์นักเรียน เรื่องการทำรายรับ-รายจ่าย
ผลลัพธ์ นักเรียนแกนนำสามารถจัดทำสมุดบัญชี รายรับ-รายจ่าย สหกรณ์นักเรียนได้
ประกอบด้วย
ปลูกผัก รดน้ำ พรวนดิน
รดน้ำทุกวัน เช้า-เย็น ชมรมผักปลอดสารพิษ
ใส่ปุ๋ย พรวนดิน เก็บผลผลิต
ผลผลิต ปลูกผักตามฤดู เพื่อไว้รับประทาน ให้แก่โรงเรียนเพื่อเป็นอาหารกลางวันแก่นักเรียน ผลลัพธ์ นักเรียนทุกคนได้รับประทานผักปลอดสารพิษ และปลูกเอง เพื่อเป็นอาหารกลางวัน
ประกอบด้วย
จัดทำแผนงานโครงการ อบรมให้ความรู้ครูและนักเรียนแกนนำ จัดทำบ่อซีเมนต์ ซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการเลี้ยงปลาในบ่อ จัดซื้อพันธุ์ปลา/อาหารปลา เลี้ยงปลาในบ่อซีเมนต์ นำผลผลิตเข้าสหกรณ์สู่อาหารกลางวัน สรุปผล
ผลผลิต
1.นักเรียนเลี้ยงปลาและให้อาหารทุกวัน
ผลลัพธ์ นักเรียนได้รับประทานปลาดุกท่ีโรงเรียนเป็นอาหารกลางวัน
ประกอบด้วย
- ผู้รับผิดชอบจัดทำโครงการเสนอผู้บริหารอนุมัติ
- ทำเอกสารประกอบการจัดอบรม
- จัดทำหนังสือเชิญวิทยากร
- จัดอบรมให้ความรู้โดยการบรรยาย/ฝึกปฏิบัติ
- ประเมินความพึงพอใจ
- สรุปผลโครงการ
วิทยากรให้ความรู้การเกษตรแก่ครูและนักเรียนแกนนำ
ผลผลิต
1. นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 30 คน
2. ครูและบุคลาการ เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 5 คน
3. ผู้ปกครอง ชุมชน และเครือข่ายเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 70 คน
ผลลัพธ์ 1. นักเรียนแกนนำมีความรู้ ทักษะในการทำการเกษตร ร้อยละ 80 2. นักเรียนมีนวัตกรรมทางการเกษตร 3. ผู้ปกครองและชุมชนมีการทำการปลูกผักสวนครัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 40 4. ผู้ปกครอง ชุมชนมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ร้อยละ 90
ประกอบด้วย
โรงเรียนส่งหนังสือให้กับผู้ปกครอง ชุมชนที่มีความประสงค์จะเข้าร่วมกิจกรรม และทำหนังสือเชิญวิทยากรนักโภชนาการให้ความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหารแก่นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน มีการบรรยาย แบ่งกลุ่มกิจกรรมเพื่อให้ลงมือปฏิบัติจริง
ผลผลิต 1. นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 30 คน 2. ผู้ปกครอง ชุมชนเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 100 คน 3. แม่ครัวเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 1 คน
ผลลัพธ์
1.นักเรียนแกนนำมีความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหาร ร้อยละ 90
2. ผู้ปกครองชุมชน นำความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหารไปใช้
3. นักเรียนมีพฤติกรรมด้ารสุขาภิบาลอาหารดีขึ้น ร้อยละ 80
4. แม่ครัวมีการเตรียมปรุงอาหารและปรับปรุงโรงอาหารได้ตามหลักสุขาภิบาลอาหาร
ประกอบด้วย
ชี้แจงให้บุคลากรทุกคนทราบในแต่ละเขตรับผิดชอบ และให้นักเรียนทุกชั้น ครูและบุคลากรทุกคน รวมทั้งชุมชนร่วมกันทำความสะอาดบริเวณโรงเรียนและรอบๆบริเวณโรงเรียน ตามเขตท่ีรับผิดชอบ เพื่อให้โรงเรียนมีความสะอาดน่าอยู่มากขึ้น
ผลผลิต
1. นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 139 คน
2. ครูและบุคลากเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 13 คน
3. ผู้ปกครองและชุมชนเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 20 คน
ผลลัพธ์
1. นักเรียนมีความรับผิดชอบในการทำความสะอาดในเขตรับผิดชอบของตนเอง ร้อยละ 90
2. โรงเรียนมีความสะอาดเอื้อต่อการเรียนรู้
3. ผู้ปกครองชุมชนมีความพึงพอใจต่อโรงเรียน ร้อยละ 80
ประกอบด้วย
คืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร 500 บาท
คืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร 500 บาท
ประกอบด้วย
ประชุมสัญจร พี่เลี้ยงแนะนำการจัดทำข้อมูล เชคกิจกรรม ใบเสร็จรับเงิน
ผลผลิต
โรงเรียนบ้านศาลาอูมาเข้าร่วมการประชุมสัญจร ณ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาจำนวน 2คน
ผลลัพธ์
- มีความเข้าใจการลงข้อมูลระบบออนไลน์
- มีการจัดทำรายงานเงินรับ-จ่ายได้ถูกต้อง
ประกอบด้วย
พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย
1.ประชุมคณะครูและชุมชน
2.เสนอโครงการ ขอรับการสนับสนุนจาก โครงการเด็กไทยแก้มใส สสส.
3.แต่งตั้ง คณะกรรมการรับผิดชอบ
4.อบรมนักเรียนเรื่องการเลี้ยงไก่ไข่
5.ดำเนินการจัดซื้อวัสดุปุปกรณ์ซ่อมคอกไก่และซื้อเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่และจัดเลี้ยงตามแผน
6.เก็บผลผลิตเข้าสหกรณ์และส่งต่อโครงการอาหารกลางวันสรุปผล ประเมินผล
ผลผลิตเชิงปริมาณ 1. นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 15 คน 2. ครูเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 2 คน 3. ผู้ปกครอง ชุมชน เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 7 คน
ผลลัพธ์ ด้านการจัดการเรียนรู้และบูรณาการของนักเรียน 1. นักเรียนมีไข่ไก่สนับสนุนโครงการอาหารกลางวันต่อเนื่องตลอดปี 2. นักเรียนในโครงการ จำนวน 25 คนมีความรู้ ทักษะ ประสบการณ์การเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ คิดเป็นร้อยละ 100 3. นักเรียนรู้จักวางแผนการทำงานและมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น คิดเป็นร้อยละ 80
ประกอบด้วย
มีตลาดนัดแปรรูปอาหารโดยมีชุมชนผู้ปกครองมาร่วมซึ่งมีกิจกรรมการจัดนิทรรศการเพื่อเผยแพร่โครงการเด็กไทยแก้มใสมีกิจกรรมต่างๆที่โรงเรียนดำเนินการเช่นนวัตกรรมทางการเกษตร,การปรรูปอาหาร มีการให้ความรู้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมจากหน่วยงานภายนอกได้แก่ประมงอำเภอแว้ง เกษตรอำเภอแว้ง มีการขายผลผลิตทางการเกษตร ผลผลิตจากการแปรรูปของนักเรียนให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมและเยี่ยมชม นักเรียนสาธิตการทำเชื้อเห็ดนางฟ้าตั้งแต่กระบวนการแรกจนได้ก้อนเชื้อเห็ดให้กับผู้เข้าชม มีการประเมินความพึงพอใจ สรุปผลการดำเนินงาน
ผลผลิต -นักเรียนจำนวน139คนเข้าร่วมโครงการ -ครู/บุคลากรจำนวน 13 คนเข้าร่วมโครงการ -ผู้ปกครองจำนวน 40 คน เข้่ร่วมโครงการ
ผลลัพธ์
- ทำให้เด็กนักเรียนรู้และมีทักษะการแปรรูปอาหาร ร้อยละ 75
- มีผลผลิตจากการแปรรูปขายในสหกรณ์นักเรียน
- นักเรียนสามารถสร้างอาชีพให้กับตนเองหลังจบการศึกษาได้ด้วย
ประกอบด้วย
- อบรมให้ความรู้วิธีการเตรียมหัวเชื้อ/การผสมก้อนเชื้อ
- การเตรียมวัสดุในการจัดทำเช่น แกรบ,ผงเปลือกมะพร้าวฯ
- สาธิตการเตรียมและบรรจุเชื้อเห็ด
- นึ่งและเขี่ยเชื้อ 5.สาธิตการจัดเก็บ
ผลผลิต 1. มีนักเรียนจำนวน 105 คนเข้าร่วม 2.ครูในโรงเรียนและจากโรงเรียนเครือข่ายจำนวน 20คนเข้าร่วม 3. ผู้ปกครอง ชุมชนและเครือข่ายอื่น เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 50 คน
ผลลัพธ์ 1. นักเรียนได้รับความรู้มีทักษะและสามารถเตรียมเชื้อเห็ดได้ทุกคนที่เข้าร่วมคิดเป็นร้อยละ 100 2. ผู้ปกครองได้นำไปขยายทำต่อในครอบครัวและชุมชนร้อยละ 30 3. โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับชุมชนในการเพาะเห็ดนางฟ้าให้กับโรงเรียนเครือข่ายและชุมชน 4.มีผลผลิตเห็ดนางฟ้าเข้าโครงการอาหารกลางวันผ่านสหกรณ์เฉลี่ยวันละ 4กิโลกรัม 5. นักเรียนมีเห็ดรับประทานในโครงการอาหารกลางวัน 6. มีก้อนเห็ดจำหน่ายให้กับชุมชน 7. นักเรียนแกนนำสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับน้องๆโดยไม่มีครูคอยควบคุม
ประกอบด้วย