ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านศาลาอูมา

รหัสโครงการ ศรร.1412-104 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.22 ระยะเวลาโครงการ 2 กุมภาพันธ์ 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

1.พืชกลับหัวเพิ่มผลผลิตเพื่อน้อง 2.คอนโดไม้ไผ่/ต้นกล้วยแปลงกาย 3.ตะกร้าผักบุ้งลอยน้ำบ้านมัจฉา

1.เนื่องจากโรงเรียนมีพื้นที่น้อยวางแผนการจัดการผลผลิตด้านการเกษตรที่ให้ผลมากที่สุดเท่าที่จะทำได้โดยการใส่ดินในกระถางแล้วคว่ำปลูกผักพวกโหระพาพริก เมื่องอกดีแล้วกลับกระถางขึ้นด้านบนปลูกมะเขือ พริก ผักบุ้ง วอเตอร์เครปต่อ โดยการแขวนกระถางซึ่งใช้พื้นที่น้อยแต่ได้ผลผลิตสูงและหลากหลาย 2.นำไม้ไผ่มาผ่าแล้วใส่ดิน/ต้นกล้วยที่ตัดลูกแล้วมาเจาะเป็นช่องสี่เหลี่ยมเล็กๆจากนั้นใส่ดินทำชั้นวางต้นกล้วยเป็นชั้นๆนำต้นกล้าลงปลูกในหลุมต้นกล้วยที่เจาะและใส่ดินไว้เช่นผักบุ้ง คะน้า กวางตุ้ง ซึ่งเป็นการประหยัดน้ำรวมทั้งเหมาะที่จะปลูกในหน้าฝาที่น้ำท่วมและหน้าแล้งที่น้ำน้อยเพราะต้นกล้วยอุ้มน้ำ 3.นำขวดน้ำพลาสติกผูกกับตะกร้าเพื่อให้ลอยน้ำได้จากนั้นนำเมล็ดพันธุ์แช่1คืนเอาเปลือกมะพร้าวสับๆใส่ตะกร้าแล้วเอาดินวางข้างบนเอาเม็ลตพันธุ์ที่แช่แล้วใส่จากนั้นนำไปใส่ในบ่อปลาดุก หลักฐาน- เอกสาร/รูปภาพประกอบ

ขยายพื้นที่ดำเนินการสู่ครอบครัว ชุมชน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

้"เด็กศาลาอูมาอิ่มท้อง สมองดี"

วางแผนการจัดการด้านอาหารให้นักเรียนได้รับประทานเนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ตลอดปี และมีการจัดอาหารเช้าให้นักเรียนทุกวันเปิดภาคเรียน มีการปลูกผักที่สามารถเก็บไว้รับประทานในฟดูกาลที่ไม่สามารถทำการเกษตรได้ดีเช่นฟักเขียว ฟักทองและเก็บไว้ตอนเปิดเทอมด้วย มีการปลูกผักตามนวัตกรรมในข้อ1มีเลี้ยงปลาดุกหมุนเวียนได้กินตลอดปีและไก่ไข่ให้นักเรียนไก้กินตอนเช้าและกลางวัน โดยชุมชนมีส่วนร่วม หลักฐาน- เอกสาร/รูปภาพประกอบ

ให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการออกรายการอาหาร

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

นักโภชนาการชุมชนเพื่อสุขภาพเด็กศาลาอูมา

มีการเฝ้าระวังตามมาตรฐานการเฝ้าระวังโภชนาการและสมรรถภาพโดยนักโภชนาการประจำอำเภอร่วมด้วยและที่สำคัญมีการแก้ไขปัญหาโดยให้นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้า อาหารกลางวันและอาหารว่างที่มีคุณภาพทุกวัน มีนักโภชนาการประจำอำเภอตรวจสอบและให้ความรู้และจัดรายการอาหารเป็นรายเดือนและมีการเยี่ยมติดตามทุกสัปดาห์อบรมผู้ปกครอง นักเรียนด้านอาหารและโภชนาการเพื่อให้สามารถเลือกอาหารที่มีประโยชน์รวมทั้งเฝ้าระวังภาวะโภชนาการได้ติดตามประเมินผลเป็นระยะ หลักฐาน- เอกสาร/รูปภาพประกอบ

พัฒนานักโภชนาการน้อยในโรงเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

"กฎบัตรศาลาอูมา"

การจัดการโดยจัดเวทีประชุมแสดงความคิดเห็นร่วมระหว่างสภานักเรียน นักเรียนแกนนำอย.น้อย และเชื่อมโยงกับผู้ปกครองโดยมีข้อตกลงร่วมกันในการเฝ้าระวังสุขภาพหรือสุขวิทยาส่วนบุคคล โดยมีคณะกรรมการนักเรียน นักเรียนแกนนำคอยตรวจสอบ แนะนำ หลักฐาน- เอกสาร/รูปภาพประกอบ

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

ศาลาอูมารักษ์สิ่งแวดล้อม

เป็นการเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมที่รวมถึงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ชุมชนโดยให้นักเรียนได้เรียนรู้จากชุมชนและโรงเรียนมีการคัดแยกขยะใช้ประโยชน์สูงสุดจากธรรมชาติและคืนปรโยชน์สู่ธรรมชาติมีการอนุรักษ์ปลูกไม้ประดับดูดสารพิษ

จัดการทำธนาคารขยะที่ครบวงจร

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

เรียนรู้เพื่อพัฒนา

ให้เด็กนักเรียนเรียนรู้กระบวนการทำเกษตรแต่ละชนิดในโรงเรียนสังเกตุ และจดบันทึกดูความเปลี่ยนแปลงและพัฒนาต่อซึ่งได้นวัตกรรมด้านการเกษตรหลากหลายรูปแบบนักเรียนสนใจเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง รวมทั้งด้านอื่นที่นักเรียนได้ปฏิบัติเช่นการแปรรูปอาหารจากการเกษตร

เรียนรู้ร่วมกับชุมชนในการพัฒนาต่อยอด

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

1.กรรมการสถานศึกษา 2.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านไม้ฝาด ตำบลกายูคละ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส 3.สาธารณสุขอำเภอแว้ง/นักโภชนาการ 4.เกษตรอำเภอ 5.องค์การบริหารส่วนตำบล 6.ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชน
โดย ภาคีเครือข่ายให้การสนับสนุน เสนอแนะการทำกิจกรรมต่างๆ ทั้งด้านการเงินบางส่วน ฯลฯ

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

โรงเรียนตั้งอยู่ในพื้นที่สะดวกในการเดินทางติดต่อระหว่างชุมชนและโรงเรียนเครือข่ายสะดวกในการเดินทางแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปัจจัยเอื้อด้านสิ่งแวดล้อมต่อสุขภาพนักเรียนไม่มีแม่ค้าขายอาหารและขนมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพทำให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่โรงเรียนจัดให้

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

ผู้บริหารให้ความสำคัญในกระบวนการทำงานสู่เป้าหมายมีการวางแผนประชุมชี้แจงทำความเข้าใจกับทีมงานและเครือข่าย ตลอดจนมีการกระตุ้นและสร้างความตระหนักให้เกิดความร่วมมือและให้ความสำคัญกับทุกคนให้มีการทำงานเป็นทีมมีการคิดวิเคราะห์เป็นระยะๆนำมาปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและให้กำลังใจซึ่งกันและกัน

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

มีการชี้แจงเพื่อทำความเข้าใจการดำเนินงานและเป้าหมายร่วมกันจากนั้นอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดเมนูอาหาร โภชนาการการเฝ้าระวังทางโภชนาการให้กับครูผู้รับผิดชอบและแม่ครัวผู้ปกครอง และมีการแลกเปลี่ยนความรู้ให้ข้อคิดเห้นและข้อเสนอแนะซึ่งกันและกัน ฝึกอบรมนักเรียนเกี่ยวกับสหกรณ์นักเรียน การตวจฉลากอาหาร การแปรรูปอาหาร ให้นักเรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงและจากประสบการณ์ของเพื่อนๆ ครู ผู้ปกครอง

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชนร่วมเสนอแนะข้อคิดเห้นและสนับสนุนในการทำกิจกรรมต่างๆของโรงเรียนและนำองค์ความรู้จากโรงเรียนไปพัฒนาต่อตลอดจนนำไปใช้ในการเฝ้าระวังดูแลด้านสุขภาพของบุตรหลานในชุมชน ที่สำคัญผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนในการสนับสนุนให้นักเรียนได้ทำกิจกรรมตามที่โรงเรียนดำเนินการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

โรงเรียนมีการวางแผนการทำเกษตรเพื่ออาหารกลางวันล่วงหน้าร่วมกับการออกรายการอาหารที่สอดคล้องกันตามฤดูกาลมีการปลูกผักที่สามารถเก็บผลผลิตไว้รับประทานในช่วงเปิดเทอมใหม่ มีการปลูกพืชระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาวเพื่อให้มีผลผลิตกินตลอด

เอกสารที่เกี่ยวข้อง/ภาพกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

เลี้ยงไก่ไข่ มีการวางแผนการเลี้ยงให้เพียงพอตลอดโดยมีไข่ให้นักเรียนรับประทานมื้อเช้าและกลางวันเฉลี่ยสัปดาห์ละไม่ต่ำกว่า3วัน การจัดการให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเลี้ยงเพื่อให้มีทักษะไปใช้ที่บ้านได้

ภาพกิจกรรมเอกสารหลักฐานการเก็บเกี่ยวผลผลิตและรายการอาหารกลางวัน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

มีการเลี้ยงปลาดุกในบ่อ ซีเมนต์4บ่อที่สามารถเลี่ยงได้ให้นักเรียนรับประทานตลอดปีเพราะมีการวางแผนเลี้ยงต่อเนื่อง

ภาพกิจกรรม/เอกสารการจัดทำกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

การจัดบริการอาหารเช้าการจัดการโดยให้แม่ครัวมาเช้ากว่าปรกติแล้วปรุงอาหารเช้าง่ายๆแต่มีคุณค่าทางโภชนาการเช่นข้าวต้มที่มีผัก,ถั่วเม็ดแห้งเป็นส่วนประกอบและมีไข่ให้คนละฟอง โดยไม่เก็นเงินค่าอาหารแต่โรงเรียนบริหารจัดการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรโดยมีกองทุนหมุนเวียนของโรงเรียนจากกิจกรรมที่โรงเรียนร่วมกับนักเรียนชุมชน

ภาพกิจกรรม/เอกสารรายการอาหารเช้า

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

นักโภชนาการช่วยในการกำหนดปริมาณอาหารวัตถุดับที่จัดซื้อให้กับนักเรียนโดยเฉพาะปริมาณผัก เนื้อสัตว์และผลไม้ และสาธิตการตักอาหารให้นักเรียนสำหรับครูและแม่ครัวและมีครูและนักเรียนแกนนำคอยดูแลให้รับประทานตามที่ตักให้ทางโรงเรียนไม่ได้ใช้ TSLเนื่องจากเข้าร่วมโครงการหลังการอบรมแล้ว

รายการอาหาร/ภาพอาหารกลางวันที่นักเรียนรับประทาน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

นักโภชนาการช่วยในการกำหนดปริมาณอาหารวัตถุดับที่จัดซื้อให้กับนักเรียนโดยเฉพาะปริมาณผัก เนื้อสัตว์และผลไม้ และสาธิตการตักอาหารให้นักเรียนสำหรับครูและแม่ครัวและมีครูและนักเรียนแกนนำคอยดูแลให้รับประทานตามที่ตักให้ทางโรงเรียนไม่ได้ใช้ TSLเนื่องจากเข้าร่วมโครงการหลังการอบรมแล้ว

รายการอาหาร/ภาพอาหารกลางวันที่นักเรียนรับประทาน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

ไม่มีนักเรียนระดับมัธยม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชนและโรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับชุมชนไปขยายต่อ

ภาพกิจกรรม/เอกสารการอบรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

โรงเรียนไม่ได้ใช้TSL เนื่องจากเข้าร่วมโครงการภายหลังการอบรม TSL แต่จัดรายการอาหารตามคำแนะนำของนักโภชนาการประจำอำเภอซึ่งนักโภชนาการจะช่วยตรวจสอบรายการอาหารให้กับโรงเรียน

รายการอาหาร/ภาพอาหาร

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการเฝ้าระวังตามมาตรฐานการเฝ้าระวังโภชนาการและมีการแก้ไขปัญหาโดยให้นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้า อาหารกลางวันและอาหารว่างที่มีคุณภาพทุกวัน มีนักโภชนาการประจำอำเภอตรวจสอบและให้ความรู้และจัดรายการอาหารเป็นรายเดือนและมีการเยี่ยมติดตามทุกสัปดาห์อบรมผู้ปกครอง นักเรียนด้านอาหารและโภชนาการเพื่อให้สามารถเลือกอาหารที่มีประโยชน์รวมทั้งเฝ้าระวังภาวะโภชนาการได้ติดตามประเมินผลเป็นระยะ

หลักฐาน- เอกสาร/รูปภาพประกอบและรายงาน

 

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 2/2
เตี้ย 6.02 6.02% 5.63 5.63% 3.25 3.25% 3.05 3.05% 7.46 7.46% 4.58 4.58% 2.52 2.52% 3.31 3.31% 5.43 5.43% 3.88 3.88%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 18.05 18.05% 19.01 19.01% 21.14 21.14% 18.32 18.32% 19.40 19.40% 16.79 16.79% 12.61 12.61% 13.22 13.22% 18.60 18.60% 13.95 13.95%
ผอม 8.27 8.27% 2.82 2.82% 5.51 5.51% 4.88 4.88% 9.77 9.77% 7.63 7.63% 4.17 4.17% 3.31 3.31% 8.59 8.59% 8.59 8.59%
ผอม+ค่อนข้างผอม 18.80 18.80% 11.97 11.97% 12.60 12.60% 14.63 14.63% 18.05 18.05% 18.32 18.32% 15.00 15.00% 18.18 18.18% 21.88 21.88% 17.19 17.19%
อ้วน 0.75 0.75% 1.41 1.41% 1.57 1.57% 0.81 0.81% 5.26 5.26% 3.82 3.82% 2.50 2.50% 2.48 2.48% 3.13 3.13% 2.34 2.34%
เริ่มอ้วน+อ้วน 2.26% 2.26% 4.23% 4.23% 3.94% 3.94% 3.25% 3.25% 5.26% 5.26% 4.58% 4.58% 4.17% 4.17% 3.31% 3.31% 4.69% 4.69% 4.69% 4.69%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

ฝ้าระวังโดยครูประจำชั้นและมีการแจ้งผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องทราบร่วมมือกับ รพ.สต.ในการจัดกิจกรรมและจัดรายการอาหารให้กับนักเรียน อบรมให้ความรู้กับผู้ปกครอง นักเรียน

รายงานภาวะโภชนาการ/ภาพกจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

เฝ้าระวังโดยครูประจำชั้นและมีการแจ้งผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องทราบร่วมมือกับ รพ.สต.ในการจัดกิจกรรมและจัดรายการอาหารให้กับนักเรียน อบรมให้ความรู้กับผู้ปกครอง นักเรียน

รายงานภาวะโภชนาการ/ภาพกจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

ฝ้าระวังโดยครูประจำชั้นและมีการแจ้งผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องทราบร่วมมือกับ รพ.สต.ในการจัดกิจกรรมและจัดรายการอาหารให้กับนักเรียน อบรมให้ความรู้กับผู้ปกครอง นักเรียน

รายงานภาวะโภชนาการ/ภาพกจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

มีโครงการแก้ไขปัญหาเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการทุกคนตามปัญหาของนักเรียนโดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรสาธารณสุข นักโภชนาการ ผู้ปกครองและชุมชน มีการประชุมหาแนวทางและการแก้ไขปัญหาการจัดการด้านอาหารและออกกำลังกายที่เหมาะสม

เอกสารการจัดประชุม/ภาพกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาโดยการเข้ารับการอบรมและนำไปดูแลนักเรียนเฝ้าระวังการปฏิบัติด้านพฤติกรรมบริโภคของนักเรียนที่บ้าน

หลักฐานการเยี่ยมบ้านของครู/ภาพกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

1.กรรมการสถานศึกษา 2.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านไม้ฝาด ตำบลกายูคละ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส 3.สาธารณสุขอำเภอแว้ง/นักโภชนาการ 4.เกษตรอำเภอ 5.องค์การบริหารส่วนตำบล 6.ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชน
โดย ภาคีเครือข่ายให้การสนับสนุน เสนอแนะการทำกิจกรรมต่างๆ ทั้งด้านการเงินบางส่วน ฯลฯ

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh