แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ โรงเรียนสุเหร่าซีรอ (ราษฎร์สามัคคี)

ชุมชน ตำบลสะพานสูง อำเภอบางกะปิ จังหวัดกรุงเทพมหานคร

รหัสโครงการ ศรร.1233-117 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ก.16

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน พฤษภาคม 2559 ถึงเดือน กันยายน 2559

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การเพาะต้นอ่อนทานตะวันครั้งท่ี 1

วันที่ 2 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

โรงเรียนมีผลผลิตด้านการเกษตรปลอดสารพิษจำหน่ายให้แก่สหกรณ์โรงเรียนและไปต่อยอดสู่โครงการอาหารกลางวัน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต -นักเรียนจำนวน  100  คน เข้าร่วมกิจกรรมคิดเป็นร้อยละ  50
-ครูและบุคลากรจำนวน  2  คน เข้าร่วมกิจกรรมคิดเป็นร้อยละ  100 -จัดทำเพาะต้นอ่อนทานตะวันจำนวน  10  ถาด

ผลลัพธ์

1.ได้ต้นอ่อนทานตะวันจำนวน 20  กิโลกรัม 2. นักเรียนได้รับประทานต้นอ่อนทานตะวันปลอดสารพิษ 3. นักเรียนแกนนำที่รับผิดชอบในการเพาะต้นอ่อนทานตะวันมีความรู้ทักษะในการเพาะต้นอ่อนทานตะวันและสามารถนำไปเพาะได้ด้วยต้นเองร้อยละ
4. นักเรียน ครู ผู้ปกครองมีความพึงพอใจร้อยละ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

การเพาะต้นอ่อนทานตะวัน

  1. ศึกษาวิธีการเพาะต้นอ่อนทานตะวัน
  2. ซื้อเมล็ดทานตะวัน ดินเพาะปลูก ตะกร้าเพาะปลูก
  3. แบ่งกลุมนักเรียนในการเพาะและการดูแลต้นอ่อน
  4. นำผลผลิตท่ีได้นำส่งสหกรณ์โรงเรียนเพื่อจำหน่ายให้แก่โครงการอาหารกลางวัน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ศึกษาวิธีการเพาะต้นอ่อนทานตะวัน
  2. ซื้อเมล็ดทานตะวัน ดินเพาะปลูก ตะกร้าเพาะปลูก
  3. แบ่งกลุมนักเรียนในการเพาะและการดูแลต้นอ่อน
    • เตรียมวัสดุเพาะ ได้แก่ ขุยมะพร้าวอ่อน ขี้เถ้แกลบร่อน กับดินร่วน 1ต่อ1 ผสมให้เข้ากัน
    • แช่เมล็ดทานตะวันในน้ำอุ่นทิ้งไว้อย่างน้อย 6 ชั่วโมง
    • นำวัสดุปลูกใส่ตะกร้าท่ีมีตาถี่ ๆ ประมาณ 3/4 ของภาขนะ
    • โรยเล็ดทานตะวันให้ทั่วแล้วเกลี่ยให้ทั่ว โรยขุยมะพร้าวเกลี่ยให้ทั่วอีกครั้งนำไปวางไว้ในท่ีร่ม
    • รดน้ำทุกวันเมื่อต้นทานตะวันเจริญเติโตประมาร 4-5 วันสามรถตัดผลผลิตได้
  4. นำผลผลิตท่ีได้นำส่งสหกรณ์โรงเรียนเพื่อจำหน่ายให้แก่โครงการอาหารกลางวัน

 

104 104

2. อบรมหลักสูตรสุขาภิบาลอาหารให้กับแม่ครัว

วันที่ 14 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

โรงเรียนจัดบริการอาหารเช้าที่มีประโยชน์ ให้นักเรียนได้รับประทาน 100 % โรงเรียนจัดบริการอาหารกลางวันที่มีประโยชน์ ให้นักเรียนได้รับประทาน 100 % นักเรียนชั้นอนุบาล1-ประถมศึกษาปีที่ 6 ได้ดื่มนม แม่ครัวเข้ารับอบรมหลักสูตร การสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานคร นักเรียนอาสาสมัครอาหารปลอดภัยเข้ารับการอบรม

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต 1. แม่ครัวเข้ารัการอบรมหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหาร ของกรุงเทพมหานคร 2. แม่ครัว.ได้รับความรู้เรื่องอาหารปนเปื้อนในอาหาร หนอนพยาธิ การจัดสถานท่ีในการประกอบอาหาร การจัดรายการอาหาร ภาชนะอุปกรณ์ การควบคุมแมลงและสัตว์นำโรค การเลือกซื้ผัก ผลไม้ 3. แม่ครัวนำความรู้ท่ีได้รัจากการอบรมมาต่อยอดปรังปรุงแก้ไขโรงอาหารท่ีโรงเรียนให้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลอาหาร 4. ส่งผลให้โรงอาหารมีสถานที่ประกอบอาหาร การจัดเก็บอุปกรณ์ และภาชนะ การล้างผัก ผลไม้ สะอาดถูกต้อง ผลลัพธ์ 1. แม่ครัวได้รับความ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ส่งรายชื่อแม่ครัวที่อบรมหลักสูตรสุขาภิบาลอาหาร ฝายสิ่งแวดล้อมสุขาภิบาล สำนักงานเขตสะพานสูง
  2. แม่ครัวเข้ารัการอบรมหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหาร ของกรุงเทพมหานคร
  3. ได้รับความรู้เรื่องอาหารปนเปื้อนในอาหาร หนอนพยาธิ การจัดสถานท่ีในการประกอบอาหาร การจัดรายการอาหาร ภาชนะอุปกรณ์ การควบคุมแมลงและสัตว์นำโรค การเลือกซื้ผัก ผลไม้
  4. ทดสอบวัดผลการเรียนรู้

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ส่งรายชื่อแม่ครัวที่อบรมหลักสูตรสุขาภิบาลอาหาร ฝายสิ่งแวดล้อมสุขาภิบาล สำนักงานเขตสะพานสูง
  2. แม่ครัวรายงานตัวเข้ารัการอบรมหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหาร ของกรุงเทพมหานคร
  3. ได้รับความรู้เรื่องอาหารปนเปื้อนในอาหาร หนอนพยาธิ การจัดสถานท่ีในการประกอบอาหาร การจัดรายการอาหาร ภาชนะอุปกรณ์ การควบคุมแมลงและสัตว์นำโรค การเลือกซื้ผัก ผลไม้
  4. แบ่งกลุ่มย่อยทำกิจกรรมกลุ่ม
  5. ทดสอบวัดผลการเรียนรู้

 

7 9

3. การเพาะถั่วงอก ครั้งที่1

วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

โรงเรียนมีผลผลิตด้านการเกษตรปลอดสารพิษจำหน่ายให้แก่สหกรณ์โรงเรียนและไปต่อยอดสู่โครงการอาหารกลางวัน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต

1.ได้ผลผลิตถั่วงอก 36กก./ 3 ถัง

ผลลัพธ์

  1. ได้รับความรู้การเพาะถั่วงอกจากเจ้าหน้าท่ีฝ่ายพัฒนาชุมชน เขตสะพานสูง
  2. นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ปราศจากสารปนเปื้อน
  3. ทำให้นักเรียนมีสุขภาพแข็ง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ศึกษาวิธีการเพาะถั่วงอก
  2. ซึ้ออุปกรณ์ในการเพาะถั่วงอก
  3. แบ่งกลุ่มนักเรียนในการเพาะถั่วงอก
  4. นำผลผลิตส่งสหกรณ์โรงเรียนเพื่อจำหน่ายให้กับโครงการอาหารกลางวัน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. เจ้าหน้าท่ีฝ่ายพัฒนาชุมชน เขตสะพานสูง ให้ความรู้ แนะนำวิธีการเพาะถั่วงอก พร้อมสาธิต
  2. ซื้อเมล็ดถั่วเขียว ดินเพาะปลูก ตะกร้าเพาะปลูก
  3. แบ่งกลุมนักเรียนลงมือปฏิบัติจรงในการเพาะและการดูแลต้นอ่อน
    • นำถั่วเขียวล้างนำ้ให้สะอาด 2-3 ครั้ง
    • แช่ถั่วเขียวในนำ้อุ่น ทิ้วไว้ประมาณ 6-8 ชั่วโมง
    • วางตะแกรงในถังและวางตะแกรงในล่อนทับ
    • โรยเมล็ดถั่วบนตะแกรงในล่อน
    • นำตะแกรงวาทับเมล็ดถั่วเขียวชั้นท่ี 1-3 แล้วปิดตะแกรงด้านบนอีกครั้ง
    • เครื่องเพาะจะปล่อยระบบน้ำอัตโนมัติทุก 2 ชั่วโมง
    • รอประมาณ 3 วันก็จะได้ถั่วงอกปลอดสารพิษ
  4. นำผลผลิตส่งสหกรณ์โรงเรียนเพื่อต่อยอดสู่โครงการอาหารกลางวัน
  5. ผลผลิตบางส่วนขายครู บุคคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง นักเรียน
  6. นำผลผลิตท่ีได้นำส่งสหกรณ์โรงเรียนเพื่อจำหน่ายให้แก่โครงการอาหารกลางวัน

 

104 80

4. การเลี้ยงปลาดุก ครั้งที่1

วันที่ 20 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

โรงเรียนมีผลผลิตด้านการเกษตรปลอดสารพิษจำหน่ายให้แก่สหกรณ์โรงเรียนและไปต่อยอดสู่โครงการอาหารกลางวัน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต 1.นักเรียนแกนนำเข้าร่วมจำนวน 35คน 2.ครูและบุคลากรเข้าร่วมจำนวน จำนวน 5 คน 3.ภาคีเครือข่ายเข้าร่วมจำนวน  5 คน 4.มีการเลี้ยงปลาดุกจำนวน 500  ตัว

ผลลัพธ์

  1. นักเรียนแกนนำมีความรู้ทักษะในการเลี้ยงปลาดุกในบ่อดินแลในวงซีเมนท์ 2.ชุมชนและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการจัดเลี้ยงปลาดุก
  2. โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้การเลี้ยงปลาดุกในบ่อดินแลในวงซีเมนท์ในชุมชน
  3. มีผลผลิตปลาดุกส่งสหกรณ์โรงเรียนเพื่อต่อยอดสู่โครงการอาหารกลางวัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ศึกษาวิธีการเลี้ยงปลาดุก
  2. เตรียมบ่อดิน และวงซีเมนท์ในการเลี้ยงปลาดุก
  3. สอบถามราคาพันธ์ต่ามร้านค้า
  4. ซื้อพันธุ์ปลาดุกเลือกลูกพันธุ์ปลาดุกที่มีความแข็งแรงและไม่เล็กเกินไปขนาดประมาณ2นิ้ว
  5. แบ่งกลุ่มนักเรียนรับผิดชอบดูแลปลาดุก
  6. นำผลผลิตส่งสหกรณ์ดรงเรียนเพื่อจำหน่ายให้แก่โครงการอาหารกลางวัน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. เจ้าหน้าท่ีฝ่ายพัฒนาชุมชน สำนักงานเขตสะพานสูงให้ความรู้นักเรียนแกนนำในการเลี้ยงปลาดุกในบ่อดินแลในวงซีเมนท์
  2. เตรียมสถานท่ี อุุปกรณ์วัสดุและอาหาร ท่ีใช้เลี้ยงปลาดุกในบ่อดินแลในวงซีเมนท์ 3.ซื้อพันธุ์เลือกพันธุ์ปลาดุกที่มีความแข็งแรงและไม่เล็กเกินไปขนาดประมาณ 2นิ้ว ปลาดุกรัสเซีย 100 ตัว ๆ ละ 3 บาทเป็นเงิน 300 บาท 4.ซื้ออาหารปลาเล็ก 2 กระสอบ ๆ ละ 480 บาท เป็นเงิน 960 บาท 5.ซื้ออาหารปลาโต 2 กระสอบ ๆ ละ 520 บาท เป็นเงิน 1040 บาท 6.ซื้อตาข่ายปิดปากบ่อ 10 เมตร ๆ ละ20 บาท เป็นเงิน 200 บาท
  3. อธิบายและสาธิตการเลี้ยงปลาดุกในบ่อดินแลในวงซีเมนท์
  4. ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติในการดูแลรักษาสำหรับ ปลาดุก ต้องมีระดับถ่ายเทน้ำให้น้ำใสสะอาดไม่ขุ่น เพราะถ้าน้ำขุ่นหรือน้ำสกปรกที่เกิดจากอาหารตกค้างจะทำให้ปลาดุกตาย อาการจากคุณภาพน้ำไม่ดีจะสังเกตได้จากการที่ปลาจะว่ายน้ำขึ้นลงเร็วกว่าปกติ และจะลอยตัวอยู่เหนือน้ำเป็นสัญญาณเตือนให้รู้ว่าน้ำกำลังสกปรกและควรเปลี่ยนน้ำทันทีโรงเรียนจึงแก้ปัญหานี้โดยการใช้ระบบหมุนเวียนน้ำ
  5. นักเรียนช่วยกันอภิปรายและสรุปผลการเลี้ยงปลาดุกในบ่อดินแลในงวซีเมนท์
  6. นำผลผลิตปลาดุกส่งสหกรณ์โรงเรียนเพื่อต่อยอดสู่โครงการอาหารกลางวันต่อไป

 

34 45

5. การอบรม อย. น้อย

วันที่ 24 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

โรงเรียนจัดบริการอาหารเช้าที่มีประโยชน์ ให้นักเรียนได้รับประทาน 100 % โรงเรียนจัดบริการอาหารกลางวันที่มีประโยชน์ ให้นักเรียนได้รับประทาน 100 % นักเรียนชั้นอนุบาล1-ประถมศึกษาปีที่ 6 ได้ดื่มนม แม่ครัวเข้ารับอบรมหลักสูตร การสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานคร นักเรียนอาสาสมัครอาหารปลอดภัยเข้ารับการอบรม

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต

  1. นักเรียนแกนนำสายชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 เข้าอบรม อย. น้อยจาเจ้าหน้าที่จากสำนักงานเขตสะพานสูงฝ่ายสุขาภิบาลอาหาร จำนวน 15 คน
  2. เจ้าหน้าท่ีจากสำนักงานเขตสะพานสูงฝ่ายสุขาภิบาลอาหารให้ความรู้ พร้อมสาธิตการครวจรปนเปื้อนเบื้องต้น 5ด้าน

ผลลัพธ์

  1. นักเรียนได้รัความรู้เกี่ยวกับประเภทของสารปนเปื้อนในอาหารและวิธีตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร ร้อยละ 100
  2. นักเรียนแกนนำมีความรู้ทักษะและสามารถตรวจสารปนเปื้อนจากอาหารได้ร้อยละ 100
  3. นักเรียนแกนนำตรวจสารปนเปื้อนจากอาหาร ทุกเดือน พร้อมรายงานส่งเขตทุกเดือน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ส่งรายชื่อนักเรียนแกนนำสายชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 เข้าอบรม อย. น้อย
  2. เจ้าหน้าท่ีจากสำนักงานเขตสะพานสูงฝ่ายสุขาภิบาลอาหารให้ความรู้
  3. เจ้าหน้าท่ีสาธิตการตรวจอาหารสารปนเปื้อน สารบอร์แรกซ์ สารฟอกขาว สารกันเชื้อ้รา และอื่น ๆ
  4. นักเรียนแกนนำลงมือปฏิบัติจริง
  5. เจ้าหน้าท่ีจากสำนักงานเขตสะพานสูงมอบเครื่องครวจสารปนเปื้อนเบื้องต้นแก่ทางโรงเรียน
  6. นักเรียนแกนนำตรวจสารปนเปื้อนจากอาหารทุกเดือน พร้อมรายงานส่งเขต

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ส่งรายชื่อนักเรียนแกนนำสายชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 เข้าอบรม อย. น้อย
  2. เจ้าหน้าท่ีจากสำนักงานเขตสะพานสูงฝ่ายสุขาภิบาลอาหารให้ความรู้
  3. เจ้าหน้าท่ีสาธิตครวจรปนเปื้อนในอาหาร
  4. นักเรียนแกนนำลงมือปฏิบัติจริงในการตตวจสารปนเป้ือนจากอาหาร
  5. เจ้าหน้าท่ีจากสำนักงานเขตสะพานสูงมอบเครื่องครวจรปนเปื้อนเบื้องต้นแก่ทางโรงเรียน
  6. นักเรียนแกนนำตรวจสารปนเปื้อนจากอาหารทุกเดือน พร้อมรายงานส่งเขต

 

11 14

6. การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ ครั้งที่1

วันที่ 25 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

โรงเรียนมีผลผลิตด้านการเกษตรปลอดสารพิษจำหน่ายให้แก่สหกรณ์โรงเรียนและไปต่อยอดสู่โครงการอาหารกลางวัน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต 1. นักเรียนรับผิดชอบปลูกผักไฮโดรโปรนิกส์ปลอดสารพิษ จำนวน 100คน ครูที่ปรึกษา 2 คน เจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาชุมชน 2 คน 2. ได้ผักไฮโดรโปรนิกส์ปลอดสารพิษในการประกอบอาหาร

ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีความรู้ ทักษะในการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์สามารถขยายผลสู่เครื่อข่ายได้ 2. นักเรียนนำผลผลิตขายผ่านสหกรณ์ต่อยอดสู่โครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน 3. นักเรียนนำความรู้ ประสบการณ์ท่ีได้รับไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน 4. เป็นอาชีพเสริมเพ่มรายได้ให้แก่ครอบครอบ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ศึกษาวิธีการปลูกผักไฮโดรโปรนิกส์

  2. ซื้อวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์หน้าระเบียงอาคาร

    • ท่อเลฟล่อน
    • ถาดเพาะผักไฮโดรโปรนิกส์
    • ถ้วยเพาะต้นกล้าผักไฮโดรโปรนิกส์
  3. ซื้อเมล็ดพันธุ์ไฮโดรโปรนิกส์

  4. แบ่งกลุ่มนักเรียนปลูกผักไฮโดรโรนิกส์และดูแลรับผิดชอบ
  5. นำผลผลิตท่ีส่งสหกรณ์โรงเรียนเพิ่อจำหน่ายให้กับโครงการอาหารกลางวันและบุคลากรในโรงเรียน

กิจกรรมที่ทำจริง

1.ศึกษาวิธีการปลูกผักไฮโดรโปรนิกส์

1.1 ครูอธิบายการปลูกพืชไร้ดินและเชิญวิทยากรที่มีความรู้ในการปลูกผักไฮโดรโปรนิกส์

1.2 วิทยากรอธิบายวิธีการปลูกพืชไร้ดินแบบ Hydroponics ตามขั้นตอนดังนี้

- เตรียมฟองน้ำที่ใช้โดยการผ่าแบ่งให้เหมาะสมกับรางปลูก ใช้ มีดคัตเตอร์ กรีดฟองน้ำเป็นเครื่องหมายคูณ ความลึกของรอยประมาณ 2-3 มิลลิเมตร
- ใส่เมล็ดลงไปในรอยกรีด ประมาณ 2-3 เมล็ด นำไปใส่ในกระบะเพาะ รดน้ำให้ชุ่มแต่ห้ามไม่ให้ระดับน้ำสูงเกินไปจนท่วมเมล็ดเพราะ เมล็ดจะไม่งอกและเน่าในที่สุด - นำผ้าขาวบางหรือผ้าที่ไม่หนามากนักมาคลุมที่กระบะเพาะ เพื่อเป็นการรักษาความชื้น ทิ้งไว้ 3-4 วัน แต่ต้องมีการเปิดดูทุกๆ วัน - เมื่อต้นกล้าที่เพาะไว้เริ่มจะแข็งแรงหรือมีอายุได้ประมาณ 5-7 วัน ให้เปิดผ้าออก แล้วนำต้นกล้าออกจากที่ร่มเพื่อมารับแสงแดด 2-3วัน ก็จะได้ต้นกล้าที่สามารถลงในรางปลูกได้
- ย้ายต้นกล้าลงในรางปลูก ให้ฟองน้ำ จมลงในในระดับน้ำเพียงครึ่งหนึ่งของทั้งหมดเพื่อให้รากของต้นพืชได้มีการเจริญเติมโต หาอาหารเองตามธรรมชาติ โดยมีสารละลายธาตุอาหารไหลผ่านรากตลอดเวลา - ให้ธาตุอาหารตามความเข้มข้นที่เหมาะสม ต่อความต้องการของพืชชนิดนั้น และตามที่ผลิตภัณฑ์สารอาหารนั้นกำหนด
- หมั่นดูแลรักษาทุกวัน สังเกตความต้องการสารอาหารของต้นพืชจากสีของลำต้นและสีของใบ ตามแต่ลักษณะของพืชชนิดนั้นๆ - ครูให้นักเรียนปลูกพืชไร้ดินแบบ Hydroponics
- นักเรียนดูแลรักษาพืชผักที่ปลูก
- นักเรียนเก็บเกี่ยวผลผลิตที่ได้จากการปลูก นำส่งโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียนและเสริมสร้างรายได้แก่นักเรียนและจำหน่ายไปยังตลาดนัดนักเรียน

  1. ซื้อวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์หน้าระเบียงอาคาร

    • ท่อเลฟล่อน
    • ถาดเพาะผักไฮโดรโปรนิกส์
    • ถ้วยเพาะต้นกล้าผักไฮโดรโปรนิกส์
  2. ซื้อเมล็ดพันธุ์ไฮโดรโปรนิกส์

  3. แบ่งกลุ่มนักเรียนปลูกผักไฮโดรโปรนิกส์และดูแลรักษาพืชผักที่ปลูก

    • การปลูกผักไฮโดรโปรนิกส์ท่ีหน้าระเบียงอาคาร และในถาด
    • การใส่ปุ๋ย
    • การย้ายต้นกล้า
    • การให้น้ำหมุนเวียน
    • การชั่งผลผลิตจัดจำหน่ายใส่ถุงขาย

5.นำผลผลิตที่ได้ส่งสหกรณ์โรงเรียนเพิ่อจำหน่ายให้กับโครงการอาหารกลางวันและบุคลากรในโรงเรียน

 

104 104

7. ทำน้ำยาล้างจาน ครั้งที่1

วันที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

นักเรียนมีการคัดแยกขยะทุกคนจากห้องเรียนสู่ธนาคารขยะ นักเรียนมีการเทน้ำหมักชีวภาพลงคลองอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง โรงเรียนมีการผลิตน้ำยา ล้างจานที่รักษา สิ่งแวดล้อมใช้เอง โรงเรียนมีการผลิตน้ำยาล้างห้องน้ำที่รักษา สิ่งแวดล้อมใช้เอง โรงเรียนมีการผลิต สบู่เหลวที่รักษา สิ่งแวดล้อมไว้ใช้เอง

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต 1. นัเรียนที่ทำน้ำยาล้างจาน 10  คน ครูที่ปรึกษา 1 คน 2. ได้น้ำยาล้างจาน 15 ลิตร/ 1ชุด

ผลลัพธ์ 1. น้ำยาล้างจานสมุนไพรมีประสิธิภาพในการล้างจานดี 2. นักเรียนมีความรู้สามารถผลิตน้ำยาล้างจานได้ 3. โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ในการผลิตน้ำยาสมุนไพร 4. สามารถนำใปใช้ในครัวเรือน 5. สามารถเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัว

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ศึกษาวิธีการทำน้ำยาล้างจาน
  2. สำรวจจราคาวัสดุในการทำน้ำยาล้างจานจากร้านค้า
  3. ซื้อเอ็น 70 เกลือ สับปะรด มะนาว มะกรูด
  4. แบ่งนักเรียนลงมือปฏิบัติจรงการทำน้ำยาล้างจานร่วมกับแม่ครัว
  5. นำผลผลิตท่ีได้ส่งสหกรณ์โรงเรียนเพื่อจำหน่ายให้กับโตรงการอาหารกลางวันเพื่อให้แม่ครัวนำไปล้างจาน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ศึกษาวิธีการทำน้ำยาล้างจาน
  2. สำรวจจราคาวัสดุในการทำน้ำยาล้างจานจากร้านค้า
  3. ซื้อเอ็น 70 เกลือ สับปะรด มะนาว มะกรูด
  4. แบ่งนักเรียนลงมือปฏิบัติจรงการทำน้ำยาล้างจานร่วมกับแม่ครัว
  5. นำผลผลิตท่ีได้ส่งสหกรณ์โรงเรียนเพื่อจำหน่ายให้กับโตรงการอาหารกลางวันเพื่อให้แม่ครัวนำไปล้างจาน

 

15 11

8. การปลูกผักสวนครัว ครั้งที่1

วันที่ 8 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

โรงเรียนมีผลผลิตด้านการเกษตรปลอดสารพิษจำหน่ายให้แก่สหกรณ์โรงเรียนและไปต่อยอดสู่โครงการอาหารกลางวัน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต
1. นักเรียนปลูกผักสวนครัว 30 คน ครูที่ปรึกษา 2 คน ฝ่ายัฒนาชุมขนเขตสะพานสูง 2 คน 2. ได้ผักสวนครัวปลอดสารพิษในการประกอบอาหารกลางวัน 3. แกนนำนักเรียนได้นำความรู้ในการปลูกพืชสวนครัวไปขยายผลต่อในครอบครัว

ผลลัพธ์

  1. มีสวนครัวปลอดสารพิษสงสหกรณ์โรงเรียนและต่อยอดสู่โครงการอาหารกลางวัน
  2. นักเรียนได้นำความรู้ในการปลูกพืชสวนครัวไปขยายผลต่อในครอบครัว
  3. โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ในการปลูกสวนครัวปลอดสารพิษแก่ชุมชน
  4. นักเรียนได้รับผักที่มีประโยชน์ไม่มีสารปนเปื้อน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ศึกษาวิธีปลูกผักสวนครัวตามฤดูกาล
  2. สำรวจราคาเมล็ดพันธุ์ชนิดต่าง ๆตามร้านค้า
  3. จัดเตรียมแปลงผักปลูกผักสวนครัว
  4. จัดซื้อพันธุ์ผักสวนครัว
  5. ซื้อปุ๋ยคอก และทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ
  6. ซื้อดินผสม
  7. แบ่งกลุ่มนักเรียนรับผิดชอบในการปลูกผักสวนและดูแลบำรุงรดน้ำทุกวัน
  8. นำผลผลิตของผักสวนครัวส่งสหกรณ์ดรงเรียนเพื่อจำหน่ายใหแก่โครงการอาหารกลางวัน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. การให้ความรู้

    • ครูนำเสนอความหมายของ การปลูกพืชผักสวนครัว หน้ากระดาน
    • แบ่งกลุ่มนักเรียนตามความสมัครใจ กลุ่มละ 5 – 6 คน
    • ครูให้นักเรียนในแต่ละกลุ่มระดมความคิดเพื่อบอกความสำคัญของการปลูกผักสวนครัว
    • นักเรียนสำรวจผักสวนครัวในท้องถิ่น ที่สามารถนำไปปลูกได้ แล้วเขียนสรุปเป็นผังความคิด
    • ครูให้นักเรียนทำใบงานเรื่อง ความหมายและความสำคัญของการปลูกผักสวนครัว
  2. การเตรียมดินปลูกผักปลอดสารพิษ
    2.1 วิธีการเตรียมดิน การเตรียมดิน หมายถึง การปรับปรุงดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการ ปลูกพืชแต่ละชนิด การเตรียมดินนั้นมี 2 อย่าง คือ การเตรียมดินแปลงเพาะเพื่อเพาะกล้า และ การเตรียมดินเพื่อปลูก การเตรียมดินเพื่อเพาะกล้าจะต้องเตรียมดินให้ละเอียดมากกว่า และต้องดูแลมากกว่าการเตรียมดินเพื่อปลูกพืช วิธีการเตรียมดินมีขั้นตอนดังนี้

    • กำจัดวัชพืช โดยเก็บเศษวัสดุต่างๆออกจากหน้าดินให้หมด แล้วใช้จอบถาก หรือมีดฟันหญ้า ถ้าวัชพืชอยู่ลึกต้องใช้เสียมหรือพลั่วมือขุดออก
    • กำหนดพื้นที่ปลูก สำหรับแปลงปลูกผักต้องใช้ไม้ปัก 4 มุม โดยวัดความกว้างยาวได้ตามต้องการ
    • ขุดดินบริเวณที่กำหนดไว้ ถ้าเป็นแปลงผักควรขุดดินลึกประมาณ 15 เซนติเมตร พลิกดินด้านล่างขึ้นมาด้านบน ตากไว้ให้แห้ง 2-3 วัน แล้วจึงย่อยดินให้ขนาดเล็กลง และเก็บเศษวัชพืชที่ยัง ค้างอยู่ในดินออกทิ้ง
    • ตกแต่งร่องให้เป็นรูปทรงตามที่กำหนด พรวนดินอีกครั้ง ถ้าดินเป็นกรดใส่ปูนขาว โรยบางๆผสมคลุกเคล้าพร้อมปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ทิ้งไว้อย่างน้อย 1 สัปดาห์
  3. การปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ

    • เตรียมเมล็ดพันธ์ที่จะลงปลูกให้นักเรียนได้ลงมือทำ
    • ครูให้นักเรียนปลูกผักปลอดสารพิษได้แก่ ผักบุ้ง ผักกวางตุ้ง ชะอมมะนาว คะน้า กล้วย โหระพา กระเพรา มะกรูด มะเขือ พริก
    • นักเรียนดูแลรักษาพืชผักที่ปลูก รดน้ำ พรวนดิน ใส่ปุ๋ย
  4. นักเรียนเก็บเกี่ยวผลผลิตที่ได้จากการปลูก นำส่งโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียนและเสริมสร้างรายได้แก่นักเรียนและจำหน่ายไปยังตลาดนัดนักเรียน

 

34 34

9. ทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ ครั้งที่1

วันที่ 10 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

นักเรียนมีการคัดแยกขยะทุกคนจากห้องเรียนสู่ธนาคารขยะ นักเรียนมีการเทน้ำหมักชีวภาพลงคลองอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง โรงเรียนมีการผลิตน้ำยา ล้างจานที่รักษา สิ่งแวดล้อมใช้เอง โรงเรียนมีการผลิตน้ำยาล้างห้องน้ำที่รักษา สิ่งแวดล้อมใช้เอง โรงเรียนมีการผลิต สบู่เหลวที่รักษา สิ่งแวดล้อมไว้ใช้เอง

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต

  1. มีนักเรียนแกนนำในการทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพจำนวน 100 คน ครูที่ปรึกษา 5 คน ฝ่ายพัฒนาชุมชน เชตสะพานสูง 2 คน
  2. มีปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพใช้ทำความสะอาดแทนน้ำยาสารเคมี

ผลลัพธ์

  1. นักเรียนได้รับความรู้ถงประโบนช์และขั้นตอนในการทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ
  2. ได้ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพแทนน้ำยาท่ีผลมสารเคมี
  3. นำไปเทในลำคลองทำให้น้ำในลำคลองใสขึ้นและเพิ่ออกซิเจนในน้ำ
  4. ใช้รดผลสมน้ำรดน้ำต้นไม้ทำให้ต้นไม้เจริญงอกงามดี
  5. น้ำไปล้างพื้นโรงอาหาร ล้างส้วม ล้างท่อระบายน้ำสะอาดดีไม่มีกลิ่นเหม็น
  6. นำไปจำหน่ายเพิ่มรายได้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ

  1. ซื้อกากน้ำตาล
  2. ซื้อหัวเชื้อ อีเอ็ม

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. เจ้าหน้้าท่ีฝ่ายงานรักษาให้ความรู้การทำปุ๋น้ำชีวภาพแก่นักเรียนสายป. 5
  2. อธิบายขั้นตอนการทำ วัสดุอุปกรณ์ท่ีใช้และประโยนช์ของน้ำหมักชีวภาพ
  3. สาธิตการทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ
  4. นักเรียนลงมือปฏิบัติจริง
  5. นักเรียนนำน้ำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพไปใช้จริงในชีวิตประจำวัน
    • เทในลำคลอง
    • ผสมน้ำรดน้ำต้นไม้
    • ล้างส้วม
    • ล้างพื้นโรงอาหาร
    • เทลงท่อระบายน้ำ

 

107 110

10. การปลูกมะนาวในวงซีเมนท์

วันที่ 13 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

โรงเรียนมีผลผลิตด้านการเกษตรปลอดสารพิษจำหน่ายให้แก่สหกรณ์โรงเรียนและไปต่อยอดสู่โครงการอาหารกลางวัน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต

  1. เจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาชุมชน เขตสะพานสูง 2 คน ให้ความรู้การปลูกมะนาว
  2. นักเรียน 30 คนรับผิดชอบดูแล รดน้ำ พรวนดิน ซึ่งมีครู 2 คนเป็นที่ปรึกษา

ผลลพธ์

  1. นักเรียนได้รับความรู้วิธีการปลูกมะนาวในวงซีเมนท์
  2. ได้ผลผลิตมะนาวส่งขายสหกรณ์โรงเรียนส่งต่อยอดสู่โครงการอาหารกลางวัน
  3. เป็นอาชีพเสริมเพิ่มรายได้
  4. นำความรู้ท่ีได้รับจากโรงเรียนไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ศึกษาวิธีการปลูกมะนาวในวงซีเมนท์
  2. สอบถามราคาต้นมะนาวตามร้านค้า
  3. ซื้อต้นพันธ์มะนาว
  4. ซื้อวงซีเมนท์พร้อมฝาซีเมนท์
  5. ซื้อดินผสมในการปลูต้นมะนาว
  6. แบ่งนักเรียนช่วยกันปลูกต้นมะนาวและดูแลบำรุงรักษา
  7. นำผลผลิตมะนาวส่งสหกรณ์โรงเรียนเพื่อจำหน่ายให้แก่โครงการอาหารกลางวัน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ศึกษาวิธีการปลูกมะนาวในวงซีเมนท์

    • เจ้าหน้าท่ีฝ่ายพัฒนาชุมชนเขตสะพานสูงให้ความรู้การปลูกมะนาว
    • พันธุ์มะนาว
    • วิธีการปลูกมะนาว
    • โรคที่เกี่่ยวกับมะนาว
    • การดูแลรักษาต้นมะนาว
  2. สอบถามราคาต้นมะนาวตามร้านค้า

  3. ซื้อต้นพันธ์มะนาว
  4. ซื้อวงซีเมนท์พร้อมฝาซีเมนท์
  5. ซื้อดินผสมในการปลูต้นมะนาว
  6. แบ่งนักเรียนช่วยกันปลูกต้นมะนาวและดูแลบำรุงรักษา 7.นำผลผลิตมะนาวส่งสหกรณ์โรงเรียนเพื่อจำหน่ายให้แก่โครงการอาหารกลางวัน

 

34 34

11. ซ่อมแซมศูนย์การเรียนรู้เศรฐกิจพอเพียง

วันที่ 1 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

โรงเรียนมีผลผลิตด้านการเกษตรปลอดสารพิษจำหน่ายให้แก่สหกรณ์โรงเรียนและไปต่อยอดสู่โครงการอาหารกลางวัน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต

1.  ครูและนักการภารโรงทำการสร้างและซ่อมแซมศูนย์การเรียนรู้เศรฐกิจพอเพียง 2.  ครู นักการภารและฝ่ายรักษา เขตสะพานสูงช่วยปรับภูมิทัศน์ศูนย์การเรียนรู้เศรฐกิจพอเพียง 3.  มีฐานการเรียน 8 ฐาน

ผลลัพธ์ 1. นักเรียนศึกษาค้นคว้าเรียนรู้จากฐานการเรียนรู้ต่าง ๆ 2. เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการเกษตรของนักเรียนและชุมชน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ซ่อมแซมศูนย์การเรียนรู้เศรฐกิจพอเพียง
    • ซ่อมแซมหลังคา
    • ซ่อมแซมพื้น
    • ปรับภูมิทัศน์ศูนย์การเรียนรู้เศรฐกิจพอเพียง
    • จัดทำป้ายไวนิวฐานการเรียนรู้

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ครูและนักการภารโรงซ่อมแซมศูนย์การเรียนรู้เศรฐกิจพอเพียงดังนี้
    • ซ่อมแซมหลังคา
    • ซ่อมแซมพื้น
    • ปรับภูมิทัศน์ศูนย์การเรียนรู้เศรฐกิจพอเพียงโดยงานฝ่ายรักษา เขตสะพานสูง
    • จัดทำป้ายไวนิวฐานการเรียนรู้
  2. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์จากร้านค้าในชุมชน

 

4 24

12. การเลี้ยงไก่ไข่ ครั้งที่1

วันที่ 4 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

โรงเรียนมีผลผลิตด้านการเกษตรปลอดสารพิษจำหน่ายให้แก่สหกรณ์โรงเรียนและไปต่อยอดสู่โครงการอาหารกลางวัน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต

  1. เจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาชุมชน เขตสะพานสูง 2 คนให้คำแนะนำวิธีการเลี้ยงไก่ไข่แก่นัเรียนแกนนำ
  2. โรงเรียนเลี้ยงไก่ไข่ 25  โดยมีผลผลิตจากไก่ไข่ ทุกวัน 25 ฟอง
  3. มีนักเรียนเลี้ยงไก่ไข่  30 คน มีครูที่ปรึกษา 2 คน

ผลลัพธ์

  1. นักเรียนมีไข่ไก่ รับประทานในโครงการอาหารกลางวัน
  2. นักเรียนได้ประสบการณ์จริง ในการปฏิบัติกิจกรรม
  3. นักเรียนมีความรู้ในเรื่องการเลี้ยงไก่ไข่ และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 4  โรงเรียนมีการบูรณาการ การเรียนการสอนในกิจกรรม ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ศึกษาวิธีการเลี้ยงไก่ไข่
  2. สอบถามราคาพันธ์ไก่ไข่ อุปกรณ์เลี้ยงไก่ไข่ และอาหารไก่ไข่ตามร้านค้า
  3. ซื้อพันธุ์ไก่ไข่
  4. ซื้ออุปกรณ์เลี้ยงไก่ไข่
  5. ซื้ออาหารไก่ไข่
  6. นำผลผลิตไข่ไก่สงสหกรณ์โรงเรียนเพื่อจำหน่ายให้กับโครงการอาหารกลางวัน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. เจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาชุมชน เขตสะพานสูงให้ความรู้คำแนะนำวิธีการเลี้ยงไก่ไข่แก่นักเรียนแกนนำดังนี้
    • ไก่พันธุ์แท้ เป็นไก่ที่ได้รับการคัดเลือกและผสมพันธุ์มาเป็นอย่างดี จนลูกหลานในรุ่นต่อๆ มามีลักษณะรูปร่าง ขนาด สี และอื่นๆ เหมือนบรรพบุรุษไก่พันธุ์แท้ยกตัวอย่าง ไก่พันธุ์แท้ที่เป็นที่นิยม ได้แก่ โร๊ดไอส์แลนด์แดง บาร์พลีมัทร็อค เล็กฮอร์นขาวหงอนจักร
    • ไก่พันธุ์ผสม ฟังดูอาจจะดูเป็นไก่ไม่ดี แต่ที่จริงแล้วเป็นไก่ที่เกิดจากการผสมพันธุ์ระหว่างไก่พันธุ์แท้ 2 พันธุ์ โดยมีจุดประสงค์ให้ลูกไก่ได้ข้อดีของพ่อพันธุ์และแม่พันธุ์ เช่น ไข่ดก ทนทานโรค เป็นต้น ยกตัวอย่างไก่ผสมที่เป็นที่็นิยมก็คือ ไก่ไฮบรีด อุปกรณ์ในการเลี้ยงไก่ไข่

ส่วนนี้เป็นสิ่งจำเป็นมากในการเลี้ยงไก่ไข่ ไม่ว่าจะเป็นอุปกรณ์พื้นฐานอย่างเช่น ถาดหรือรางอาหาร รางน้ำ และอุปกรณ์ที่พิเศษขึ้นมาก็ยกตัวอย่าง เช่น

  • อุปกรณ์การให้อาหาร มีหลายแบบ เช่น ถาดอาหาร รางอาหาร ถังอาหาร เป็นต้น
  • อุปกรณ์ให้น้ำ มีหลายแบบขึ้นอยู่กับอายุไก่ เช่น แบบรางยาว แบบขวดมีฝาครอบ
  • เครื่องกกลูกไก่ ทำหน้าที่ให้ความอบอุ่นแทนแม่ไก่ในตอนที่ลูกไก่ยังเล็กอยู่
  • รังไข่ โดยปกติรังไข่จะควรมีความมืดพอสมควร และมีอุณหภูมิที่เย็น ซึ่งถ้าหากเลี้ยงแบบโรงเรือนก็จะเป็นรางที่ควรทำความสะอาดง่าย หรือถ้าใครเลี้ยงแบบปล่อย ก็ควรมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสำหรับการออกไข่ อย่างที่ได้กล่าวมาข้างต้น
  • วัสดุรองพื้น จำพวก ฟางข้าว ซังข้าวโพด แกลบ เป็นต้น เพื่อความสะอาดและความสบายของตัวไก่
  • อุปกรณ์การให้แสง ทั้งแสงจากธรรมชาติ และแสงจากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิคส์
  1. อาหารของไก่ไข่ ส่วนประกอบของสารอาหารที่จำเป็นต่อไก่ไข่ ก็ไม่ได้ต่างจากมนุษย์มากเท่าไหร่ แต่สิ่งที่แตกต่างคือ วัตถุดิบที่นำมาใช้จะต้องเหมาะสมทั้งในเรื่องของ ราคา ปริมาณ และคุณภาพของสารอาหารที่ให้ โดยทางทีมงานอีสานร้อยแปด จะแบ่งให้ทุกคนดูง่ายๆ เป็น สารอาหาร 6 ประเภทใหญ่ๆ

    • โปรตีน ช่วยในการสร้างเนื้อเยื่อและกล้ามเนื้อในการเจริญเติบโตซ่อมแซมรักษา ในอาหารไก่ไข่ควรจะมีโปรตีนประมาณ13-19%
    • คาร์โบไฮเดรต มีหน้าที่ให้พลังงาน ให้ความอบอุ่น และเพื่อนำไปใช้ในส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ควรจะมีอยู่ในอาหารไก่ไข่ประมาณ38-61%
    • น้ำ เป็นส่วนประกอบที่สำคัญสำหรับสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ช่วยในการย่อย การดูดซึม รักษาอุณหภูมิในร่างกาย และช่วยในการขับถ่ายของเสียออกจากร่างกาย
    • ไขมัน มีหน้าทีให้ความอบอุ่นและพลังงานแก่ร่างกาย แต่ไม่ควรมากเกินไป
    • วิตามิน ช่วยให้ไก่มีความต้านทานโรค และบำรุงระบบประสาท
    • แร่ธาตุ ช่วยในการสร้างโครงกระดูก สร้างเลือด สร้างเปลือกไข่
  2. ชนิดของอาหารที่ใช้เลี้ยงไก่ไข่

    • อาหารผสม เป็นอาหารผสมจากวัตถุดิบที่บดละเอียดแล้วหลายๆ อย่างคลุกเคล้าให้เข้ากัน สามารถนำไปเลี้ยงไก่ได้ทันที
    • หัวอาหาร เป็นอาหารเข้มข้นที่ผสมจากวัตถุดิบพวกโปรตีนจากพืช สัตว์ ไวตามิน แร่ธาตุ และยาต่าง ๆ เพื่อให้เหมาะสมและลดต้นทุนค่าอาหาร
    • อาหารอัดเม็ด เป็นอาหารสำเร็จรูปมีให้เลือกหลากหลาย ขึ้นอยู่กับอายุของไก่
    • อาหารเสริม เป็นอาหารที่นำไปเสริมเพื่อเพิ่มสารอาหารด้านต่าง ๆ ที่ยังขาด เพื่อให้ไก่ได้รับสารอาหารครบถ้วน
  3. โรงเรือนในการเลี้ยงไก่ไข่

    • ป้องกันแดด ลม และฝนได้
    • แข็งแรง ทนทาน ป้องกัน นก หนู แมว หรือสุนัขได้
    • ทำความสะอาดได้ง่าย
    • ห่างจากชุมชน และอยู่ใต้ลมของบ้าน เพราะจะได้ไม่มีกลิ่นรบกวน
    • ใช้วัสดุที่หาง่าย ราคาถูก
    • ถ้าสร้างหลายหลังควรมีระยะห่างมากกว่า 10 เมตร เพื่อให้ระบายอากาศได้ดีและป้องกันการแพร่ระบาดของโรค
  4. แบบโรงเรือนในการเลี้ยงไก่ไข่ ลักษณะของโรงเรือนไก่ไข่จะมีหลายแบบขึ้นอยู่กับงบประมาณ วัสดุ ความยากง่ายในการสร้าง รูปแบบของโรงเรือนไก่ไข่มีดังนี้

    • แบบเพิงหมาแหงน แบบนี้จะสร้างง่าย ลงทุนน้อย แต่จะมีข้อเสียคือฝนอาจจะสาดเข้าทางด้านหน้าได้ง่าย และมีความแข็งแรงน้อย
    • แบบหน้าจั่วชั้นเดียว ข้อดีคือแข็งแรงกว่าแบบเพิงหมาแหงน สามารถป้องกันแดด ลม ฝนได้ดีกว่า แต่จะมีค่าวัสดุ อุปกรณ์ และค่าก่อสร้างมากกว่าแบบเพิงหมาแหงน เพราะรูปแบบมีความซับซ้อนมากกว่า
    • แบบหน้าจั่วสองชั้น แบบนี้จะคล้าย ๆ กับหน้าจั่วชั้นเดียว แต่จะต่างกันตรงที่มีหน้าจั่วชั้นที่ 2 เพิ่งขึ้นมาเพื่อช่วยระบายอากาศ ทำให้แบบนี้จะระบายความร้อนได้ดีและเย็นกว่าแบบหน้าจั่วชั้นเดียว แต่ก็จะมีค่าก่อสร้างแพงกว่าหน้าจั่วชั้นเดียว
    • แบบหน้าจั่วกลาย คล้ายเพิงหมาแหงน แต่สามารถกันฝนได้ดีกว่า และมีค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างมากกว่าเพิงหมาแหงน
    • แบบเพิงหมาแหงนกลาย แบบนี้จะมีกว่าเพิงหมาแหงนและแบบหน้าจั่ว เพราะมีการระบายอากาศ และกันฝน กันแดดได้ดีกว่า แต่ค่าใช้จ่ายถูกกว่าแบบหน้าจั่ว
  5. ปรับปรุงซ่อมโรงเรือนเลี้ยงไก่โดยการทำความสะอาดโรงเรือน กวาดขี้ไก่ และโรยแกลบชุดใหม่

  6. สอบถามราคาพันธ์ไก่ไข่ อุปกรณ์เลี้ยงไก่ไข่ และอาหารไก่ไข่ตามร้านค้า
  7. ซื้อพันธุ์ไก่ไข่ จำนวน 25 ตัว ตัวละ200บาท
  8. ซื้ออุปกรณ์เลี้ยงไก่ไข่จากร้านค้าในชุมชน
  9. ซื้ออาหารไก่ไข่จากร้านค้าในชุมชน
  10. นำผลผลิตไข่ไก่สงสหกรณ์โรงเรียนเพื่่อจำหน่ายให้กับโครงการอาหารกลางวัน

 

34 34

13. การเพาะเห็ดนางฟ้า

วันที่ 5 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

โรงเรียนมีผลผลิตด้านการเกษตรปลอดสารพิษจำหน่ายให้แก่สหกรณ์โรงเรียนและไปต่อยอดสู่โครงการอาหารกลางวัน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต

  1. นักเรียนจำนวน 30 คน มีความรู้ มีทักษะในการเพาะเห็ดนางฟ้า
  2. นักเรียนจำนวน 30 คน นำความรู้และทักษะไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
  3. นักเรียนแกนนำจำนวน 30 คน ขยายผลความรู้แก่เพื่อนนักเรียนในเรื่องการเพาะเห็ดนางฟ้าได้

ผลผลัพธ์

  1. โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้การเพาะเห็ดนางฟ้าให้กับโรงเรียน และชุมชน
  2. โรงเรียนมีผลผลิตเห็ดนางฟ้านำไปใช้ประกอบอารหารในโครงการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนทั้งโรงเรียน
  3. โรงเรียนสามารถเชื่อมโยงและบูรณาการการเพาะเห็ดนางฟ้าเข้ากับวิชาเรียนเกษตร กลุ่มสาระการงานอาชีพฯ และจัดการเรียนรู้ให้กับนักเรียนทุกระดับชั้น
  4. นักเรียนมีทักษะชีวิตและทักษะการทำงานร่วมกัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ศึกษาวิธีการเพาะเห็นนางฟ้า
  2. สำรวจราคาพันธุ์เห็ดนางฟ้าตามร้านค้า
  3. ซื้้อพันธุ์เห็นางฟ้า
  4. แบ่งกลุ่มนักเรียนรับผิดชอบในการเพาะเห็ดนางฟ้า
  5. นำผลผลิตเห็ดนางฟ้าส่งสหกรณ์ดรงเรียนเพื่อจำหน่ายให้แก่โครงการอาหารกลางวัน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. เจ้าหน้าท่ีฝ่ายพัฒนาชุมชน เขตสะพานสูง ให้ความรู้ คำแนะนำศึกษาวิธีการเพาะเห็นนางฟ้าดังนี้

    • ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเห็ดการวางก้อนเชื้อในลักษณะแนวนอนโดยวางเรียงต่อกันเป็นแนวและวางซ้อนกันเป็นชั้นๆ
    • การเปิดดอก โดยเปิดจุกและสำลีจากคอขวดออกและพับปากถุงให้เหมือนเดิมกับตอนที่ยังมีจุกคอขวดอยู่เพื่อจะทำให้เก็บดอกเห็ดได้ง่าย
    • การรดน้ำ ควรพ่นให้ผิวหน้าของก้อนเชื้อชื้นก็พอ เพราะจะทำให้ก้อนเชื้อมีเชื้อราจะเน่าเสียเร็ว การรดน้ำประมาณวันละ 3-4 ครั้งแล้วแต่สภาพอากาศ
    • การเก็บดอกเห็ดและการทำความสะอาดหน้าก้อนเห็ด เมื่อเห็ดออกดอกและบานจนได้ขนาดที่ต้องการแล้วเก็บดอกโดยจับที่โคนดอกทั้งช่อโยกซ้ายขวาบนล่างแล้วดึงออกจากถุงเห็ด ระวังอย่าให้ถุงเห็ดบาน ถ้าโคนเห็ดขาดอยู่ให้แคะออกเพื่อป้องกันการเน่าเสีย การทำความสะอาดก้อนเชื้อทำได้โดยเขี่ยเศษเห็ดที่ติดอยู่ข้างในถุงออกให้หมด และงดให้น้ำ 3 วันถ้าก้อนเห็ดมีเชื้อราให้นำออกทันที
  2. เจ้าหน้าท่ีฝ่ายพัฒนาชุมชน เขตสะพานสูงสาธิต นักเรียนลงปฏิบัติจริง

  3. สำรวจราคาพันธุ์เห็ดนางฟ้าตามร้านค้า
  4. ซื้้อพันธุ์เห็นางฟ้า
  5. แบ่งกลุ่มนักเรียนรับผิดชอบในการเพาะเห็ดนางฟ้าและดูแลบำรุงรักษา 6.นำผลผลิตเห็ดนางฟ้าส่งสหกรณ์โรงเรียน เพื่อจำหน่ายให้แก่โครงการอาหารกลางวัน

 

34 34

14. การอบรมทำดอกไม้พลาสติกและยาดมสมุนไพร

วันที่ 11 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

นักเรียนผลิตสินค้าเช่น
ขนมและอาหารแปรรูป จากกิจกรรมเกษตรใน โรงเรียน และการประดิษฐ์
การทำยาหม่องน้ำ

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต

  1. นักเรียนจำนวน 30 เข้าอบรมการทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายในครัวเรือน
  2. วิทยากร 2 คนให้ความรู้ ทำดอกไม้พลาสติก และยาดมสมุนไพร


    ผลลัพธ์

  3. นักเรียนได้รัยความรู้ในการทำบัญชีในครัวเรือน

  4. นักเรียนได้รับความรู้ในการทำดอกไม้พลาสติก และยาดมสมุนไพร
  5. เป็นอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ต่อครอบครัว 

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

การอบรมทำดอกไม้พลาสติกและยาดมสมุนไพรความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์

  1. เชิญวิทยากรบรรยาย
  2. นักเรียนสายชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 เข้าฟังบรรยาย
  3. แบ่งกลุ่มนักเรียนร่วมกิจกรรมปฏิบัติจริงโดยมีครูเป็นพ่ีเลี้ยงคอยให้คำแนะนำ
  4. ผลผลิตเข้าสหกรณ์เพื่อจำหน่าย

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. เชิญวิทยากรบรรยาย
  2. นักเรียนสายชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 เข้าฟังบรรยาย
  3. แบ่งกลุ่มนักเรียนร่วมกิจกรรมปฏิบัติจริงโดยมีครูเป็นพ่ีเลี้ยงคอยให้คำแนะนำ
  4. ผลผลิตเข้าสหกรณ์เพื่อจำหน่าย

 

112 43

15. การบันทึกสุขภาพ

วันที่ 3 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

นักเรียนได้รับการชั่ง น้ำหนัก วัดส่วนสูง ภาค เรียนละ 2 ครั้ง โรงเรียนมีสารสนเทศด้าน สุขภาพนักเรียน ผู้ปกครองและนักเรียนที่มี ปัญหาทุพโภชนาการได้รับ ความรู้เกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหาร การดูแล รักษาสุขภาพ

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต ปีการศึกษา 2559 ภาคเรียนที่ 2 เมื่อเปรียบเทียบ ปรากฎว่า 1. เตี้ย ลดลง 0.22
2. ผอม ลดลง 0.71 3. อ้วน  เพิ่มขึ้น 1.23 4. อ้วน-เริ่มอ้วน เพิ่มขึ้น 1.37

ผลลัพธ์ 1. ได้รับทราบจำนวนนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐาน (อ้วน)และน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน(ผอม) 2. นักเรียนที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐาน (อ้วน)และน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน(ผอม)ได้รับการช่วยเหลือเข้าร่วมกิจกรรมเด็กไทยไร้พุงเพื่อให้มีจำนวนลดน้อยลงและมีน้ำได้เกณฑ์มาตรฐาน 3. ผู้ปกครอง และนักเรียนท่ีมีปัญหาภาวะทุพโภชนการได้รับความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัตนในชีวิตประจำวัน การเลือกรับประทานอาหาร การดูแลสุขภาพ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ชั่งนำหนัก-วัดส่วนสูงนักเรียนทุกคนบันทึกในสมุดบันทึกน้ำหนัก-วัดส่วนสูงภาคเรียนล 2 ครั้ง
  2. นำข้อมูลน้ำหนัก-ส่วนสูงไปวิเคราะห์เปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย
  3. บันทึกรายชื่อนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐาน (อ้วน)และน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน(ผอม)
  4. นักเรียนที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐาน (อ้วน)และน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน(ผอม)ทำกิจกรรมเด็กไทยไร้พุง
  5. ให้ความรู้ผู้ปกครอง นักเรียนที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐาน (อ้วน)และน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน(ผอม)ในการดำเนินชีวิตประจำวัน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ชั่งนำหนัก-วัดส่วนสูงนักเรียนทุกคนบันทึกในสมุดบันทึกน้ำหนัก-วัดส่วนสูงภาคเรียนละ 2 ครั้ง
  2. นำข้อมูลน้ำหนัก-ส่วนสูงไปวิเคราะห์เปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย
  3. บันทึกรายชื่อนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐาน (อ้วน)และน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน(ผอม)
  4. นักเรียนที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐาน (อ้วน)และน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน(ผอม)ทำกิจกรรมเด็กไทยไร้พุง
  5. ให้ความรู้ผู้ปกครอง นักเรียนที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐาน (อ้วน)และน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน(ผอม)ในการดำเนินชีวิตประจำวัน

 

157 860

16. ซื้ออุปกรณ์การออกกำลังกาย

วันที่ 3 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพทุกคน นักเรียนได้รับการทดสอบสมรรถภาพทางกายอย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง นักเรียนที่อ้วนได้รับการแก้ไข 100 % นักเรียนที่อ้วนได้รับการออกตอนเช้าทุกวันพุธและออก กำลังกายด้วยการปั่นจักรยาน รดน้ำในแปลงเกษตรทุกวัน อย่างน้อยวันละ 15 นาที
ปรับปรุงห้องพยาบาลให้ได้มาตรฐาน สวยงาม สะอาดและ ส่งเสริมความรู้ทั่วไป

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต

  1. ทดสอบสมรรถภาพนักเรียนปีละ 1 ครั้ง
  2. นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการน้ำหนักเกินมาตรฐาน (อ้วน)ทำกิจกรรมออกกำลังกายเด็กไทยไร้พุง
  3. พยาบาลศูนย์สาธารสุข 68 สะพานสูงได้ตรวจสุภาพนักเรียนทุกคน
  4. ปรับปรุงห้องพยาบาลให้ได้มาตรฐาน

ผลลัพธ์

  1. นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรงผ่านการทดสอบ
  2. นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการน้ำหนักเกินมาตรฐาน (อ้วน) ลดลง
  3. นักเรียนสุขภาพแข็งแรง
  4. ห้องพยาบาลได้มาตรฐาน สวยงาม สะอาดและส่งเสริมความรู้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

การทดสอบสมรรถภาพและการออกกำลังกาย

  1. ครูพลศึกษาทดสอบสมรรถภาพนักเรียนปีละ 1ครั้ง
  2. นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาเกิน (อ้วน) ออกกำลังกายโดยปั่นจักรลดพุง
  3. นักเรียนที่น้ำหนักเกินมาตรฐาน (อ้วน)ออกกำลังกายก่อนเรียนวิชาพลศึกษา
  4. นักเรียนออกกำลังกายยามเช้าก่อนเข้าเรียนทุกวันพุธ
  5. พยาบาลศูนย์สาธารสุข 68 สะพานสูงได้ตรวจสุภาพนักเรียนทุกคน
  6. ปรับปรุงห้องพยาบาลให้ได้มาตรฐาน

กิจกรรมที่ทำจริง

การทดสอบสมรรถภาพและการออกกำลังกาย

  1. ครูพลศึกษาทดสอบสมรรถภาพนักเรียนปีละ 1ครั้ง
  2. นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาน้ำหหนักเกินมาตรฐาน (อ้วน) ออกกำลังกายโดยปั่นจักรลดพุง
  3. นักเรียนที่ภาวโภชนาการน้ำหนักเกินมาตรฐาน (อ้วน)ออกกำลังกายก่อนเรียนวิชาพลศึกษา
  4. นักเรียนออกกำลังกายยามเช้าก่อนเข้าเรียนทุกวันพุุธ
  5. พยาบาลศูนย์สาธารสุข 68 สะพานสูงได้ตรวจสุภาพนักเรียนทุกคน
  6. ปรับปรุงห้องพยาบาลให้ได้มาตรฐาน

 

51 0

17. ทำยาล้างมือยากำจัดเหาสมุนไพรมะกรูด

วันที่ 1 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

ครูและบุคลากรมีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนา สุขนิสัยให้กับนักเรียน นักเรียนที่เป็นเหาได้รับ กำจัดเหาทุกเดือน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต

  1. มีนักเรียนแกนนำจำนวน 10 คน ตรวจเหานักเรียน พยาบาอนามัย จำนวน 5 คนตรวจสุขภาพ ตรวจเหา
  2. เจ้าหน้าที่ศูนย์ฝึกอาชีพ เขตสะพานสูง จำนวน 20 คน แผนกการตัดผม สำนักงานเขตสะพานสูงร่วมกิจกรรมตัดผมให้นักเรียน
  3. ทำยากำจัดเหาสมุนไพร

ผลลัพธ์

  1. นักเรียนได้รับความรู้จากการเรียนวิชาสุขศึกษานำมาต่อยอดดูแลสุขภาพเพื่่อน ๆ และน้อง ๆได้
  2. ได้ผลิตภัณฑ์น้ำยากจัดเหาสมุนไพรแทนน้ำยากำจัดเหาท่ีผสมสารเคมี
  3. นัเรียนผมสั้นถูกระเบียบของโรงเรียน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ครูประจำชั้นให้ความรู้บูรณการในวิชาสุขศึกษา เรื่องการล้างมือ สุขบัญญัติ 10 ประการ การใช้ช้อนกลาง การแปรงฟัน การอาบน้ำสระผม
  2. ครูตรวจสุขภาพ เล็บ เหาผม ฟันนักเรียน
  3. นักเรียนแกนนำอสม. ทำการตรวจเหา แลใส่ยากำจัดเหา
  4. ครูและนักเรียนแกนนำช่วยกันทำน้ำยาล้างมือและนำยากำจัดเหาสมุนไพรมะกรูด
  5. เจ้าหน้าที่ศูนย์ฝึกอาชีพ แผนกการตัดผม สำนักงานเขตสะพานสูง ทำการตัดผมให้นักเรียน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ครูประจำชั้นให้ความรู้บูรณการในวิชาสุขศึกษา เรื่องการล้างมือ สุขบัญญัติ 10 ประการ การใช้ช้อนกลาง การแปรงฟัน การอาบน้ำสระผม
  2. ครูตรวจสุขภาพ เล็บ เหาผม ฟันนักเรียน
  3. นักเรียนแกนนำอสม. ทำการตรวจเหา แลใส่ยากำจัดเหา
  4. ครูและนักเรียนแกนนำช่วยกันทำน้ำยาล้างมือและนำยากำจัดเหาสมุนไพรมะกรูด
  5. เจ้าหน้าที่ศูนย์ฝึกอาชีพ แผนกการตัดผม สำนักงานเขตสะพานสูง ทำการตัดผมให้นักเรียน

 

32 37

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 37 17                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 120,000.00 49,295.00                  
คุณภาพกิจกรรม 68 56                  

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. ตกแต่งห้องพยาบาล ( 24 พ.ย. 2559 )
  2. การเลี้ยงปลาดุก ครั้งที่2 ( 26 พ.ย. 2559 - 30 ธ.ค. 2559 )
  3. การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ ครั้งที่2 ( 26 พ.ย. 2559 - 30 ธ.ค. 2559 )
  4. การทำขนมไทยส่งเสริมการขาย ( 26 พ.ย. 2559 )
  5. การประชุมภาคีเครือข่าย ( 28 พ.ย. 2559 )
  6. ทำแผนจัดการเรียนรู้บูรณาการ ( 28 พ.ย. 2559 - 28 ก.พ. 2560 )
  7. การเพาะต้นอ่อนทานตะวัน ครั้งที่2 ( 30 พ.ย. 2559 - 30 ธ.ค. 2559 )
  8. การพัฒนาบุคคลากรด้านการส่งเสริมการพัฒนาสุขนิสัยให้นักเรียน ( 1 ธ.ค. 2559 - 28 ก.พ. 2560 )
  9. การเพาะถั่วงอก ครั้งที่2 ( 1 ธ.ค. 2559 - 30 ธ.ค. 2559 )
  10. การปลูกผักสวนครัว ครั้งที่2 ( 1 ธ.ค. 2559 - 30 ธ.ค. 2559 )
  11. การเลี้ยงไก่ไข่ ครั้งที่2 ( 1 ธ.ค. 2559 - 30 ธ.ค. 2559 )
  12. ทำน้ำยาล้างจาน ครั้งที่2 ( 19 ธ.ค. 2559 - 30 ธ.ค. 2559 )
  13. ทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ ครั้งที่2 ( 23 ธ.ค. 2559 - 30 ธ.ค. 2559 )
  14. ทำยาล้างมือ ยากำจัดเหาสมุนไพรมะกรูด ครั้งที่ 2 ( 2 ม.ค. 2560 - 30 ม.ค. 2560 )
  15. กิจกรรมเด็กไทยไร้พุง ครั้งที่2 ( 2 ม.ค. 2560 - 30 ม.ค. 2560 )
  16. อบรมผู้ปกครองสำหรับนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินมาตราฐาน ( 9 ม.ค. 2560 - 30 ม.ค. 2560 )
  17. ติดตามภาวะโภชนาการนักเรียน ( 9 ม.ค. 2560 - 30 ม.ค. 2560 )

(................................)
นายธีระพร ทองสาด
ผู้รับผิดชอบโครงการ