แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนชุมชนใหม่


“ โรงเรียนชุมชนใหม่ ”

ม.8 ตำบลไทยบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช

หัวหน้าโครงการ
นายสุจินต์ สุดคิด

ชื่อโครงการ โรงเรียนชุมชนใหม่

ที่อยู่ ม.8 ตำบลไทยบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช

รหัสโครงการ ศรร.1412-096 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ต.13

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนชุมชนใหม่ จังหวัดนครศรีธรรมราช" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.8 ตำบลไทยบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนชุมชนใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนชุมชนใหม่



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนชุมชนใหม่ " ดำเนินการในพื้นที่ ม.8 ตำบลไทยบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช รหัสโครงการ ศรร.1412-096 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 145,000.00 บาท จาก โรงเรียนชุมชนใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 210 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ
1) การเกษตรในโรงเรียน
2) สหกรณ์นักเรียน
3) การจัดการบริหารของโรงเรียน
4) การติดตามภาวะโภชนาการ
5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน
6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
7) การจัดบริการสุขภาพ และ 8)การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ

1)การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ

2)สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียน ชุมชนใหม่ จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาต่อยอดการจัดกิจกรรมการเกษตรในโรงเรียนจำนวน 14 ฐานการเรียนรู้ (การปลูกพืชผัก การปลูกไม้ผล การเลี้ยงไก่ไข่ การเลี้ยงเป็ดไข่ การเลี้ยงไก่พื้นเมือง การเลี้ยงเป็ดเทศ การเลี้ยงปลา การเลี้ยงด้วงสาคู การเพาะเห็ดนางฟ้า การเพาะถั่วงอก การเลี้ยงสุกร การเลี้ยงกบ การทำปุ๋ยชีวภาพ และการปลูกพืชเศรษฐกิจ) นำไปสู่การจัดอาหารกลางวันและอาหารเช้าให้นักเรียนได้บริโภค
  2. เพื่อพัฒนารูปแบบการลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียนที่มีภาวะอ้วน เตี้ย ผอม และถ่ายทอดแก่นักเรียน ชุมชน ผู้ปกครอง และโรงเรียนเครือข่าย จำนวน 5 โรงเรียน
  3. เพื่อพัฒนาบุคลากร ผู้ปกครองแกนนำ และโรงเรียนเครือข่ายศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียน.มีสุขภาพและพัฒนาพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัยมีอารมณ์ดีและสติปัญญาดีขึ้นมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
    2. โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
    3. พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข็มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน
    4. เป็นแหล่งเรียนรู้แก่นักเรียน ชุมชน และสถานศึกษาอื่น ได้ศึกษา
    5. ชุมชน พ่อแม่ผู้ปกครองมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของนักเรียน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. การปลูกพืช ผัก ไม้ผล เกษตรอินทรีย์แบบผสมผสาน

    วันที่ 2 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. อบรมนักเรียนให้ความรู้การเตรียมดิน การปลูก การดูแลรักษา การใส่ปุ๋ย การขยายพันธ์พืช การเก็บเกี่ยวผลผลิตพืช ผักเกษตรอินทรีย์แบบผสมผสาน
    2. ให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ได้แก่ การเตรียมดิน การปลูกผัก เช่นผักบุ้ง กว้างตุ้ง คะน้า มะเขือ ผักกาด ถั่วฝักยาว ถั่วพลู การปลูกผักเขลียงการ ขยายพันธุ์พืชโดยวิธีต่อยอด เช่น มะเขือ
    3. การดูแลรักษาระหว่างปลูก เช่น การใส่ปุ๋ย การให้น้ำ การกำจัดวัชพืชศัตรูพืช การดูแลปุ๋ยหมักชีวภาพ เช่น การพลิกปุ๋ย การให้น้ำ
    4. การเก็บเกี่ยวผลผลิตและจำหน่าย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการเตรียมดิน การปลูก การดูแลรักษา การใส่ปุ๋ย การขยายพันธ์พืช การให้น้ำ การกำจัดวัชพืชศัตรูพืช การดูแลใส่ปุ๋ยหมักชีวภาพ การเก็บเกี่ยวผลผลิตและจำหน่ายผักเกษตรอินทรีย์
    2. นักเรียนได้จัดตั้งกลุ่มยุวเกษตรการปลูกพืช ผัก เกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน
    3. เป็นแหล่งเรียนรู้และนำผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวัน
    4. นักเรียนมีความรับผิดชอบ มีความซื่อสัตย์สุจริต
    5. นักเรียนมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง

     

    35 104

    2. การทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพและปุ๋ยหมัก

    วันที่ 9 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. อบรมให้ความรู้และปฏิบัติแก่นักเรียนเกี่ยวกับการทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพและปุ๋ยหมัก ตามลำดับขั้นตอนดังนี้
    2. การทำปุ๋ยน้ำชีวภาพเตรียมวัสดุอุปกรณ์ ได้แก่ เศษผัก เศษอาหารกลางวัน กากน้ำตาลและอีเอ็ม นำมาผสมกันด้วยอัตราส่วนผัก เศษผักเศษอาหาร 3 กิโลกรัม ต่อกากน้ำตาล 1 กิโลกรัม ทิ้งไว้ประมาณ2 สัปดาห์ก็นำมาใช้ได้
    3. การเตรียมสถานที่และ อุปกรณ์การทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพและปุ๋ยหมัก เตรียมวัสดุที่ใช้ในการทำปุ๋ยหมัก เช่น ทะลายปาล์มน้ำมัน เศษหญ้า เศษใบไม้แห้ง ผัก ขุ๋ยมะพร้าว ปุ๋ยคอกนำวัสดุมาผสมกันด้วยอัตราส่วน มูลวัว 1ส่วน เศษหญ้าแห้ง ทะลายปาล์มน้ำมัน 1 ส่วน ขุ๋ยมะพร้าม 1 ส่วน รดด้วยน้ำหมักปุ๋ยชีวภาพ พลิกปุ๋ยด้วยน้ำหมักชีวภาพ สัปดาห์ละครั้งทิ้งไว้ประมาณ 3-4 สัปดาห์ ก็สามารถนำมาใช้ได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีความรู้ มีทักษะ ในการทำปุ๋ยหมักน้ำชีวภาพและปุ๋ยหมัก
    2. นักเรียนได้จัดตั้งกลุ่มยุวเกษตรกรการทำปุ๋ยหมักน้ำชีวภาพและปุ๋ยหมักในนโรงเรียน
    3. เป็นแหล่งเรียนรู้
    4. นำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปประกอบอาชีพในอนาคต
    5. ได้ผลที่คุ้มค่า ประหยัด ปลอดภัย เนื่องจากนำเศษวัสดุ ปุ๋ยคอก เศษผัก เศษผลไม้ ที่เหลือใช้มาทำปุ๋ยหมักน้ำชีวภาพและปุ๋ยหมัก
    6. นักเรียนมีความรู้ มีทักษะ ในการทำปุ๋ยหมักน้ำชีวภาพและปุ๋ยหมัก ไปเผยแพร่ และขยายผลต่อชุมชน

     

    35 68

    3. การเพาะเห็ดและการเพาะถั่วงอก

    วันที่ 23 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. อบรมให้ความรู้และปฏิบัติเกี่ยวกับการเพาะเห็ดนางฟ้าและการเพาะถั่วงอก ได้แก่ การพักก้อนเชื้อ การวางก้อนเชื้อ การรดน้ำ การเก็บเห็ด การดูแลรักษา การจำหน่ายเห็ด และการเพาะถั่วงอก ได้แก่ การเพาะ การให้น้ำ การวางถั่วงอก ระยะเวลาการเพาะ
    2. การเตรียมวัสดุอุปกรณ์การเพาะเห็ดนางฟ้า ได้แก่ โรงเรือน ก้อนเชื้อ สายยาง ช้อน การเตรียมวัสดุอุปกรณ์การเพาะถั่วงอก ได้แก่ กะลามัง โรงเรือน ผ้าสำหรับปิดคลุมถั่วงอก ถั่วเขียว
    3. ขั้ตอนการปฏิบัติเพาะเห็ดนางฟ้า นำก้อนเชื้อไปบ่มไว้ในโรงเรือน เมื่อเชื้อวิ่งเต็มก้อนเชื้อซึ่งใช้เวลาประมาณ 25-28 วัน ก็เปิดฝาจุกรดน้ำวันละ 3 ครั้ง ประมาณ 3-5 วัน เห็ดก็งอกสามารถเก็บเกี่ยวได้และขั้นตอนการเพาะถั่วงอก นำถั่วเขียวไปวางเพื่อเพาะเป็นชั้นๆ ตามต้องการด้วยกะละมังหรือถังโดยเจาะรูเพื่อไม่ให้น้ำขังได้ และรองด้วยผ้าปิดคลุมรดน้ำทุกๆ 3 ชั่วโมง ใช้เวลา 2-3 วันก็นำไปจำหน่ายได้แล้ว
    4. นักเรียนร่วมกันสรุปและและแสดงผลงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการเพาะเห็ดนางฟ้า ได้แก่ การพักก้อนเชื้อ การวางก้อนเชื้อ การรดน้ำ การเก็บเห็ด การดูแลรักษา การป้องกันเชื้อราที่เกิดขึ้นในก้อนเชื้อ การกำจัดศัตรูที่มาทำลายก้อนเห็ด การทำโรงเรีอน การจำหน่ายเห็ด
      2.นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการเพาะถั่วงอก ได้แก่ การเพาะ การให้น้ำ การวางถั่วงอก ระยะเวลาการเพาะ
    2. นักเรียนได้จัดตั้งกลุ่มยุวเกษตรกรการเพาะเห็ดนางฟ้าและเพาะถั่วงอกในนโรงเรียน
    3. เป็นแหล่งเรียนรู้และนำผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวัน
    4. นำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปประกอบอาชีพในอนาคต
    5. นักเรียนมีความรับผิดชอบและมีความซื่อสัตย์สุจริต

     

    35 47

    4. การเลี้ยงกบ,การเลี้ยงปลาไหลในสวนปาล์มและสวนฝรั่ง

    วันที่ 18 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. การเลี้ยงกบ 1.1 วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ ได้แก่ กบ อาหารกบ ปล้องบ่อ 1.2 เตรียมสถานที่เลี้ยงด้วยการวางปล้องบ่อและฝาปิดสำหรับเลี้ยงกบ 1.3 นำลูกกบตัวเล็กมาปล่อยให้อาหารวันละ 3 ครั้ง
    2. การเลี้ยงปลาไหล 2.1 วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ ได้แก่ ลูกปลาไหล บ่อซิเมนต์ถมดิน ท่อพีวีซ๊ หยวกกล้วย เศษปลา 2.2 เตรียมสถานที่เลี้ยงปลาไหลด้วยการถมดินในบ่อซิเมนต์เปิดน้ำขังทิ้งไว้แล้วนำหยวกกล้วยสับเป็นท่อน ท่อนละประมาณ 50 ซ.ม. หลายๆท่อนแช่ไว้ประมาณ 45 วัน เมื่อน้ำใสก็ปล่อยลูกปลาไหลลงในบ่อ 2.3 นำลูกปลาไหลมาปล่อยลงในบ่อที่เตรียมเอาไว้ให้อาหาร 5-7 วันต่อครั้ง ประมาณ 5-ุุ6 เดือนก็สามารถนำไปจำหน่ายได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการคัดเลือกพันธุ์ อาหาร การทำความสะอาดบ่อ การดูแล การคัดไซส์ การเปลี่ยนถ่ายน้ำ การป้องกันโรค การจำหน่าย
    2. นักเรียนได้จัดตั้งกลุ่มยุวเกษตรกรในการเลี้ยงกบเลี้ยงปลาไหล
    3. เป็นแหล่งเรียนรู้และนำผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวัน
    4. นักเรียนนำความรู้ ประสบการณ์ที่ได้รับนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ
    5. นักเรียนมีความรับผิดชอบ และความซื่อสัตย์สุจริต

     

    35 45

    5. บ้านนี้มีรักปลูกผักกินเอง

    วันที่ 20 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. อบรมให้ความรู้และปฏิบัติชี้แจงทำความเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ของกิจกรรมบ้านนี้มีรักปลูกผักกินเองกับผู้ปกครองและนักเรียนที่สนใจ
    2. อธิบาย สาธิตและปฏิบัติเกี่ยวกับ การเตรียมดิน การทำปุ๋ยหมัก การปลูก การดูแลรักษา การใส่ปุ๋ย การขยายพันธ์พืช การเก็บเกี่ยวผลผลิตพืช ผัก
    3. แจกเมล็ดพันธุ์พึช และต้นพันธุ์พืชที่โรงเรียนได้เพาะไว้ให้ให้แก่ผู้ปกครองและนักเรียนเพื่อไปปลูกที่บ้านเมื่อได้ผลผลิตที่เหลือจากการบริโภคในครัวเรือนแล้วให้เอามาจำหหน่ายให้กับสหกรณ์นักเรียน สหกรณ์นักเรียนจำหน่ายให้โครงการอาหารกลางวันต่อไป
    4. เยี่ยมบ้าน ดูแล ช่วยเหลือ ให้กำลังใจ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการเตรียมดิน การปลูก การดูแลรักษา การใส่ปุ๋ย การขยายพันธ์ุพืช การให้น้ำ การกำจัดวัชพืชศัตรูพืช การดูแลใส่ปุ๋ยหมักชีวภาพ การเก็บเกี่ยวผลผลิตและจำหน่ายผัก 2.ส่งเสริมอาชีพให้กับนักเรียน และนักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียน
    2. เป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชนและนำผลผลิตมาประกอบอาหารในครัวเรือนและจำหน่ายแก่สหกรณ์นักเรียนและชุมชน
    3. สร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างโรงเรียนและชุมชน

     

    25 50

    6. การเลี้ยงไก่ไข่และเป็ดไข่

    วันที่ 5 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. อบรมนักเรียนให้ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงเป็ดไข่ การเลี้ยงไก่ไข่ การดูแลรักษา การให้อาหาร ลักษณะของโรงเรือน อุปกรณ์ที่ใช้ในโรงเรือน การทำความสะอาดโรงเรือน ภาชนะและอุปกรณ์ต่างๆ การให้วัคซีน การเก็บไข่
    2. ให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ได้แก่ การนำเป็ดไว้ในโรงเรือน การนำไก่ไข่ไว้ในกรง การให้อาหาร อุปกรณ์ที่ใช้ในโรงเรือน การทำความสะอาดโรงเรือน การเก็บไข่
    3. การดูแลรักษา เช่น การล้างโรงเรือน การให้น้ำ การทำความสะอาดภาชนะและอุปกรณ์ต่างๆการให้วัคซีน4.การจำหน่ายผลผลิต

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการเลี้ยงไก่ไข่และเป็ดไข่ ได้แก่ การดูแลรักษา การให้อาหาร ลักษณะของโรงเรือน อุปกรณ์ที่ใช้ในโรงเรือน การทำความสะอาดโรงเรือน ภาชนะและอุปกรณ์ต่างๆ การให้วัคซีน การเก็บไข่
    2. นักเรียนได้จัดตั้งกลุ่มยุวเกษตรในการเลี้ยงไก่ไข่และเป็ดไข่ในโรงเรียน
    3. เป็นแหล่งเรียนรู้และนำผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวัน
    4. นำไปประกอบอาชีพที่บ้านมีรายได้ระหว่างเรียน

     

    65 78

    7. จัดทำป้ายกิจกรรมศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส

    วันที่ 6 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมครูผู้รับผิดชอบและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง 2. กำหนดรูปแบบป้ายกิจกรรม จำนวน และขนาด 3. จัดทำป้ายการเรียนรู้แต่ละฐาน  4. นำป้ายไปติดตั้งตามฐานการเรียนรู้แต่ละกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      1. นักเรียนได้รู้จักกิจกรรมฐานการเรียนรู้แต่ละฐานตามโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส 2. นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อกิจกรรมการเรียนรู้ตามโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
    3. นักเรียนได้มีความรู้ มีทักษะ ลำดับขั้นตอน กระบวนการทำงานตามโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส 4. นักเรียนนำความรู้ที่ได้รับจากป้ายกิจกรรมฐานการเรียนและประชาสัมพันธ์ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน

     

    20 64

    8. การเลี้ยงปลาในบ่อดินและในกระชัง

    วันที่ 15 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.อบรมให้ความรู้ในการเลี้ยงปลาในบ่อดินและในกระชัง  2. เตรียมสถานที่ อุปกรณ์ และวัสดุที่ใช้ในการเลี้ยงปลาในบ่อดินและในกระชัง  อาหารการเลี้ยงปลาในบ่อดินและในกระชัง  3. อธิบายและสาธิตการเลี้ยงปลาในบ่อดินและในกระชัง  4. ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติจริงตามกระบวนการ 5. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปผลการเลี้ยงปลาในบ่อดินและในกระชัง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการเลี้ยงปลาในบ่อดินและในกระชัง ได้แก่ การคัดเลือกพันธุ์ปลา การทำกระชังปลา อัตราการปล่อยปลา การให้อาหาร การถ่ายเทน้ำ การป้องกันโรคของปลา การจับปลา การจำหน่าย การดูแลรักษา
    2. นักเรียนได้จัดตั้งกลุ่มยุวเกษตรกรในการเลี้ยงปลาในบ่อดินและในกระชัง
    3. เป็นแหล่งเรียนรู้และนำผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวัน
    4. นักเรียนนำความรู้ ประสบการณ์ที่ได้รับนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ

     

    35 45

    9. อบรมผู้นำนักเรียน แม่ครัว แม่ค้า ผู้ปกครองนักเรียน ครู

    วันที่ 22 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ลงทะเบียน
    2. พิธีเปิดอบรมอบรมผู้นำนักเรียน แม่ครัว แม่ค้า ผู้ปกครองนักเรียน
    3. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์/ทดสอบก่อนอบรม
    4. อบรมเรื่องหลักการเลือกซื้ออาหาร ผัก ผลไม้
    5. อบรมเรื่องการตรวจสุขภาพเบื้องต้น
      ึุ6. อบรมเรื่องอาหารปลอดภัยและถูกหลักอนามัย
    6. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
    7. ให้ความรู้และฝึกปฏิบัติ การล้างมือ 7 ขั้นตอน การแปรงฟันที่ถูกวิธี การกำจัดเหา ปฐมพยาบาลเบื้องต้น
    8. ทดสอบหลังอบรม/พิธีปิดหลังการอบรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนนำความรู้และทักษะในการเลือกซื้ออาหาร ผัก และผลไม้ ส่งผลให้นักเรียนมีสุขภาพสมบูณ์ แข็งแรงดี
    2. ผู้นำนักเรียนนำความรู้และทักษะในการตรวจสุขภาพด้วยตนเองและนักเรียนคนอื่นๆได้
    3. นักเรียนมีพฤติกรรมที่ดีในการเลือกซื้ออาหารที่ปลอดภัยและถูกหลักอนามัย
    4. นักเรียนมีช่องปากฟัน มือ ที่สะอาด และไม่เป็นเหา
    5. นักเรียนมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น

     

    20 42

    10. พัฒนาบุคลากร ประชุมงวดที่ 1

    วันที่ 13 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดการข้อมูลระบบออนไลน์โตรงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ตรวจสอบความถูกต้องเอกสารจัดซื้อจัดจ้าง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ได้รับความรุ้และประสบการณ์เพิ่มขึ้นจากการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดการข้อมูลระบบออนไลน์โตรงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2. ได้รับความรู้เกี่ยวกับความถูกต้องเอกสารจัดซื้อจัดจ้าง

     

    2 4

    11. ทำโครงเหล็กคิดป้ายประชาสัมพันธ์ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส

    วันที่ 21 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทำโครงเหล็กคิดป้ายประชาสัมพันธ์ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้รู้จักแหล่งเรียนรู้และได้้ประชาสัมพันธ์ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสของโรงเรียนชุมชนใหม่

     

    103 217

    12. จัดทำเมนูอาหารกลางวัน

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมครูรับผิดชอบอาหารกลางวัน ครูรับผิดชอบกิจกรรมการเกษตรในโรงเรียน แม่ครัว ตัวแทนผู้ปกครองและนักเรียนแกนนำ 2. ให้นักเรียนเลือกเมนูอาหาร บอกคุณค่าอาหารภายใน 1 เดือน 3. ส่งเมนูอาหารให้แม่ครัว แม่ครัวซื้อหารเกษตรที่ผลิตในโรงเรียนและชุมชนมาประกอบ 4.จัดทำเมนูอาหารกลางวันราย 1 เดือน โดยแต่ละเดือนต้องใช้โปรแกรมThai school  lunch 5. บริการอาหารโดยให้นักเรียนเป็นผู้ตัก ตักอาหารตามธงโภชนาการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง
    2. นักเรียนรับประทานอาหารที่ถูกหลักอนามัย
    3. นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคณค่าและไม่จำเจหมุุนเวียนตามโปรแกรมThai school  lunch

     

    233 220

    13. อบรมผู้นำนักเรียนโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส

    วันที่ 18 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ลงทะเบียน
    2. พิธีเปิดอบรมผู้นำนักเรียนโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
    3. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์/ทดสอบก่อนอบรม
    4. อบรมภาคทฤษฎีผู้นำนักเรียนโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
    5. อบรมภาคสนามและเยี่ยมชมกิจกรรมโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสโรงเรียนชุมชนใหม่
    6. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์/ทดสอบหลังอบรม/พิธีปิดหลังการอบรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดให้กับนักเรียนคนอื่นๆ
    2. นำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ
    3. ได้ผู้นำนักเรียนที่มีความรู้ความเข้าใจของโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสอย่างแท้จริง

     

    25 35

    14. อบรมศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสโรงเรียนชุมชนใหม่ และโรงเรียนเครือข่าย

    วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ลงทะเบียน
    2. พิธีเปิดอบรมผู้นำนักเรียนโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสโรงเรียนชุมชนใหม่ และโรงเรียนเครือข่าย
    3. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ
    4. อบรมภาคทฤษฎีผู้นำนักเรียนโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
    5. อบรมภาคสนามและเยี่ยมชมกิจกรรมโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสโรงเรียนชุมชนใหม่
    6. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์/พิธีปิดหลังการอบรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนนำความรู้และทักษะที่ได้จากการอบรมไปปฏิบัติให้เกิดประโยชน์ต่อสุขภาพต่อตนเองและผู้อื่น
    2. ผู้นำนักเรียนนำความรู้และทักษะในบรมและศึกษาดูงานส่งผลให้นักเรียนมีสุด้านการเกษตร สหกรณ์ การจัดบริการอาหาร และโภชนาการ นำไปใช้ในโรงเรียนของตนเองได้
    3. นักเรียนมีพฤติกรรมที่ดีและนำไปขยายผลให้เกิดผลดีต่อตนเองและผู้อื่นได้

     

    93 113

    15. คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ

    วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถึงกิจกรรมที่ได้ใช้งบประมาณโตรงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสโรงเรียนชุมชนใหม่
    2. ปรับสมุดบัญชีโตรงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสโรงเรียนชุมชนใหม่
    3. ตรวจสอบความถูกต้องสมุดบัญชีธนาคาร
    4. คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้ปฏิบัติจนประสบความสำเร็จไปตามแผนงานของโครงการเด็กไทยแก้มใสและได้คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ
    2. ได้รับความรู้และกระบวนการเกี่ยวกับการคืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ

     

    0 2

    16. พัฒนาบุคลากรประชุมงวดที่ 2

    วันที่ 4 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
    2. การจัดการข้อมูลระบบออนไลน์โตรงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
    3. ตรวจสอบความถูกต้องเอกสารจัดซื้อจัดจ้าง
    4. ชี้แนะ ให้คำแนะนำที่ถูกต้อง
    5. ปรับปรุงแก้ไข ส่งเอกสารการเงิน ส่งข้อมูลระบบออนไลน์โตรงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสที่มีเนื้อหาสาระประโยชน์แก่บุคคลอื่นๆ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ได้รับความรุ้และประสบการณ์เพิ่มขึ้นจากการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดการข้อมูลระบบออนไลน์โตรงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2. ได้รับความรู้เกี่ยวกับความถูกต้องเอกสารจัดซื้อจัดจ้าง

     

    2 2

    17. ประชุมสัญจรครั้งที2 ที่โรงเรียนชุมชนใหม่(เจ้าภาพ)

    วันที่ 4 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนเงินประชุมสัญจรครั้งที2 ที่โรงเรียนชุมชนใหม่(เจ้าภาพ)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คืนเงินประชุมสัญจรครั้งที2 ที่โรงเรียนชุมชนใหม่(เจ้าภาพ)

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนาต่อยอดการจัดกิจกรรมการเกษตรในโรงเรียนจำนวน 14 ฐานการเรียนรู้ (การปลูกพืชผัก การปลูกไม้ผล การเลี้ยงไก่ไข่ การเลี้ยงเป็ดไข่ การเลี้ยงไก่พื้นเมือง การเลี้ยงเป็ดเทศ การเลี้ยงปลา การเลี้ยงด้วงสาคู การเพาะเห็ดนางฟ้า การเพาะถั่วงอก การเลี้ยงสุกร การเลี้ยงกบ การทำปุ๋ยชีวภาพ และการปลูกพืชเศรษฐกิจ) นำไปสู่การจัดอาหารกลางวันและอาหารเช้าให้นักเรียนได้บริโภค
    ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนได้บริโภคอาหารเช้าและอาหารกลางวันที่เป็นผลผลิตการเกษตรในโรงเรียนจากเมนูไข่ร้อยละ 100 และผลผลิตทางการเกษตรอื่นร้อยละ 30 2.นักเรียนแกนนำจำนวน 54 คนมีความรู้และเข้าร่วมกิจกรรมทางการเกษตรในโรงเรียนและสามารถนำความรู้ไปปฎิบัติที่บ้านได้

    1.นักเรียนทุกคนได้บริโภคอาหารเช้าและอาหารกลางวันที่เป็นผลผลิตการเกษตรในโรงเรียนจากเมนูไข่ร้อยละ 100
    2. นักเรียนได้บริโภคผลผลิตทางการเกษตในโรงเรียนจากเมนูอื่นๆ ร้อยละ 30 2.นักเรียนแกนนำจำนวน 54 คนมีความรู้และเข้าร่วมกิจกรรมทางการเกษตรในโรงเรียนและได้นำความรู้ไปปฎิบัติที่บ้านได้เป็นอย่างดี

    2 เพื่อพัฒนารูปแบบการลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียนที่มีภาวะอ้วน เตี้ย ผอม และถ่ายทอดแก่นักเรียน ชุมชน ผู้ปกครอง และโรงเรียนเครือข่าย จำนวน 5 โรงเรียน
    ตัวชี้วัด : 1.โรงเรียนมีรูปแบบ กระบวนการทำงานที่สามารถถ่ายทอดได้ 2.นักเรียนท่ีมีปัญหา อ้วน เตี้ย ผอม ลดลง อย่างละไม่เกินร้อยละ 7

    1.โรงเรียนมีรูปแบบ กระบวนการทำงานที่สามารถถ่ายทอดได้
    2.นักเรียนท่ีมีปัญหา อ้วน เตี้ย ผอม ลดลง ไม่เกินร้อยละ 7

    3 เพื่อพัฒนาบุคลากร ผู้ปกครองแกนนำ และโรงเรียนเครือข่ายศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
    ตัวชี้วัด : 1.บุคลากรผู้ปกครองแกนนำ และโรงเรียนเครือข่ายร้อยละ100 มีความรู้ความเข้าใจการดำเนินงานตามโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสและสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้อง

    1.บุคลากรผู้ปกครองแกนนำ และโรงเรียนเครือข่าย มีความรู้ความเข้าใจการดำเนินงานตามโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสและสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้องร้อยละ100

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาต่อยอดการจัดกิจกรรมการเกษตรในโรงเรียนจำนวน 14 ฐานการเรียนรู้ (การปลูกพืชผัก การปลูกไม้ผล การเลี้ยงไก่ไข่ การเลี้ยงเป็ดไข่ การเลี้ยงไก่พื้นเมือง การเลี้ยงเป็ดเทศ การเลี้ยงปลา การเลี้ยงด้วงสาคู การเพาะเห็ดนางฟ้า การเพาะถั่วงอก การเลี้ยงสุกร การเลี้ยงกบ การทำปุ๋ยชีวภาพ และการปลูกพืชเศรษฐกิจ) นำไปสู่การจัดอาหารกลางวันและอาหารเช้าให้นักเรียนได้บริโภค (2) เพื่อพัฒนารูปแบบการลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียนที่มีภาวะอ้วน เตี้ย ผอม และถ่ายทอดแก่นักเรียน ชุมชน ผู้ปกครอง และโรงเรียนเครือข่าย จำนวน 5 โรงเรียน (3) เพื่อพัฒนาบุคลากร ผู้ปกครองแกนนำ และโรงเรียนเครือข่ายศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โรงเรียนชุมชนใหม่

    รหัสโครงการ ศรร.1412-096 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.13 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    บ้านเล็กในป่าใหญ่(การเลี้ยงไก่ไข่)

    ลักษณะ เป็นโรงเรือนแบบบ้านยกสูงขนาดเล็กใช้ในการเลี้ยงไก่ไข่สามารถอยู่ได้ประมาณ 12 ตัวต่อหลัง ขั้นตอน หาไม้ หลังคาและวัสดุที่มีในโรงเรียนนำมา สร้างประกอบเป็นโรงเรือนแล้วประดิษฐ์อุปกรณ์เองที่ใช้ในการเลี้ยงไก่ไข่ เช่น รางใส่อาหาร ขวดน้ำดื่มแบบนิพนจิก ทั้งหมดเป็นนวัตกรรมของตนเอง หลังจากนั้นนำไกไข่มาเลี้ยงในบ้านเล็กในป่าใหญ่
    รายละเอียด โรงเรียนชุมชนใหม่มีสวนปาล์มน้ำมัน แต่บริเวณที่ทำกิจกรรมบ้านเล็กในป่าใหญ่ ดินไม่ดี เป็นดินทราย ต้นปาล์มน้ำมันต้นไม่สมบูรณ์ ไม่มีผลปาล์ม เมื่อทำกิจกรรมบ้านเล็กในป่าใหญ่มีผลปาล์มดกมาก เนื่องจากต้นปาล์มได้ปุ๋ยคอกจากมูลไก่ไข่ที่เลี้ยงในบ้านเล็กในป่าใหญ่ และได้นำไข่ขายให้กับสหกรณ์นักเรียนสหกรณ์นักเรียนขายให้กับโครงการอาหารกลางวัน ประโยชน์ที่ได้จากทำกิจกรรมบ้านเล็กในป่าใหญ่ 1. ฝึกความรับผิดชอบให้กับนักเรียน เช่นการให้อาหาร น้ำ การดูแลรักษา การเก็บไข่ 2. ส่งเสริมการประกอบอาชีพในอนาคตโดยการเปิดวิชาเพิ่มเติมในชั้นมัธยมศึกษา 3. ได้ผลผลิตจากปาล์มน้ำมัน สามารถนำรายได้มาเป็นอาหารกลางวันกับนักเรียนต่อไป 4. ได้ผลผลิตจากไข่ที่มีคุณภาพไข่ดกฟองใหญ่เพราะไก่มีสุขภาพดี อากาศปลอดโปร่ง เย็นสบาย ได้ฟังเสียงเพลงจากคลื่นวิทยุ เอฟเอ็ม และเสียงนก เสียงธรรมชาติ 5.ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย เช่น ค่าปุ๋ย ค่าโรงเรือนที่มีราคาสูง 6. นักเรียนทุกคนมีความสุขกับกิจกรรมบ้านเล็กในป่าใหญ่ ึ7. ช่วยดึงดูดความสนใจของครู นักเรียน ผู้ปกครองชุมชน หน่วยงาน ภาคีเครือข่าย หลักฐาน ภาพถ่ายกิจกรรม แหล่งอ้างอิง 1. กิจกรรมโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนชุมชนใหม่ ในระบบออนไลน์ 2. http://www.dekthaikamsai.com/paper/173/owner/valuation

    สร้างเพิ่มมากขึ้น แต่ปรับหลังคาให้สูงและเพิ่มขนาดให้กว้างขึ้นเพื่อป้องกันฝนสาดทำให้ไก่เปียกและรางอาหารถูกน้ำ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โรงเรียนชุมชนใหม่ จังหวัด นครศรีธรรมราช

    รหัสโครงการ ศรร.1412-096

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสุจินต์ สุดคิด )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด