ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนชุมชนใหม่ |
สังกัด | ?? |
หน่วยงานต้นสังกัด | ?? |
ที่อยู่โรงเรียน | หมู่ที่ 8 อำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช |
จำนวนนักเรียน | 190 คน |
ช่วงชั้น | อนุบาล,ประถม,มัธยมต้น |
ผู้อำนวยการ | นายสุจินต์ สุดคิด |
ครูผู้รับผิดชอบ | นายสุมิตร บุญญานุกูล |
คืนเงินประชุมสัญจรครั้งที2 ที่โรงเรียนชุมชนใหม่(เจ้าภาพ)
คืนเงินประชุมสัญจรครั้งที2 ที่โรงเรียนชุมชนใหม่(เจ้าภาพ)
- ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
- การจัดการข้อมูลระบบออนไลน์โตรงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
- ตรวจสอบความถูกต้องเอกสารจัดซื้อจัดจ้าง
- ชี้แนะ ให้คำแนะนำที่ถูกต้อง
- ปรับปรุงแก้ไข ส่งเอกสารการเงิน ส่งข้อมูลระบบออนไลน์โตรงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสที่มีเนื้อหาสาระประโยชน์แก่บุคคลอื่นๆ
1.ได้รับความรุ้และประสบการณ์เพิ่มขึ้นจากการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดการข้อมูลระบบออนไลน์โตรงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2. ได้รับความรู้เกี่ยวกับความถูกต้องเอกสารจัดซื้อจัดจ้าง
- ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถึงกิจกรรมที่ได้ใช้งบประมาณโตรงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสโรงเรียนชุมชนใหม่
- ปรับสมุดบัญชีโตรงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสโรงเรียนชุมชนใหม่
- ตรวจสอบความถูกต้องสมุดบัญชีธนาคาร
- คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ
- ได้ปฏิบัติจนประสบความสำเร็จไปตามแผนงานของโครงการเด็กไทยแก้มใสและได้คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ
- ได้รับความรู้และกระบวนการเกี่ยวกับการคืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ
- ลงทะเบียน
- พิธีเปิดอบรมผู้นำนักเรียนโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสโรงเรียนชุมชนใหม่ และโรงเรียนเครือข่าย
- กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ
- อบรมภาคทฤษฎีผู้นำนักเรียนโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
- อบรมภาคสนามและเยี่ยมชมกิจกรรมโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสโรงเรียนชุมชนใหม่
- กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์/พิธีปิดหลังการอบรม
- นักเรียนนำความรู้และทักษะที่ได้จากการอบรมไปปฏิบัติให้เกิดประโยชน์ต่อสุขภาพต่อตนเองและผู้อื่น
- ผู้นำนักเรียนนำความรู้และทักษะในบรมและศึกษาดูงานส่งผลให้นักเรียนมีสุด้านการเกษตร สหกรณ์ การจัดบริการอาหาร และโภชนาการ นำไปใช้ในโรงเรียนของตนเองได้
- นักเรียนมีพฤติกรรมที่ดีและนำไปขยายผลให้เกิดผลดีต่อตนเองและผู้อื่นได้
- ลงทะเบียน
- พิธีเปิดอบรมผู้นำนักเรียนโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
- กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์/ทดสอบก่อนอบรม
- อบรมภาคทฤษฎีผู้นำนักเรียนโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
- อบรมภาคสนามและเยี่ยมชมกิจกรรมโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสโรงเรียนชุมชนใหม่
- กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์/ทดสอบหลังอบรม/พิธีปิดหลังการอบรม
- นักเรียนนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดให้กับนักเรียนคนอื่นๆ
- นำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ
- ได้ผู้นำนักเรียนที่มีความรู้ความเข้าใจของโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสอย่างแท้จริง
1.ประชุมครูรับผิดชอบอาหารกลางวัน ครูรับผิดชอบกิจกรรมการเกษตรในโรงเรียน แม่ครัว ตัวแทนผู้ปกครองและนักเรียนแกนนำ 2. ให้นักเรียนเลือกเมนูอาหาร บอกคุณค่าอาหารภายใน 1 เดือน 3. ส่งเมนูอาหารให้แม่ครัว แม่ครัวซื้อหารเกษตรที่ผลิตในโรงเรียนและชุมชนมาประกอบ 4.จัดทำเมนูอาหารกลางวันราย 1 เดือน โดยแต่ละเดือนต้องใช้โปรแกรมThai school lunch 5. บริการอาหารโดยให้นักเรียนเป็นผู้ตัก ตักอาหารตามธงโภชนาการ
- นักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง
- นักเรียนรับประทานอาหารที่ถูกหลักอนามัย
- นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคณค่าและไม่จำเจหมุุนเวียนตามโปรแกรมThai school lunch
ทำโครงเหล็กคิดป้ายประชาสัมพันธ์ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
นักเรียนได้รู้จักแหล่งเรียนรู้และได้้ประชาสัมพันธ์ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสของโรงเรียนชุมชนใหม่
ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดการข้อมูลระบบออนไลน์โตรงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ตรวจสอบความถูกต้องเอกสารจัดซื้อจัดจ้าง
1.ได้รับความรุ้และประสบการณ์เพิ่มขึ้นจากการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดการข้อมูลระบบออนไลน์โตรงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2. ได้รับความรู้เกี่ยวกับความถูกต้องเอกสารจัดซื้อจัดจ้าง
- ลงทะเบียน
- พิธีเปิดอบรมอบรมผู้นำนักเรียน แม่ครัว แม่ค้า ผู้ปกครองนักเรียน
- กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์/ทดสอบก่อนอบรม
- อบรมเรื่องหลักการเลือกซื้ออาหาร ผัก ผลไม้
- อบรมเรื่องการตรวจสุขภาพเบื้องต้น
ึุ6. อบรมเรื่องอาหารปลอดภัยและถูกหลักอนามัย - กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
- ให้ความรู้และฝึกปฏิบัติ การล้างมือ 7 ขั้นตอน การแปรงฟันที่ถูกวิธี การกำจัดเหา ปฐมพยาบาลเบื้องต้น
- ทดสอบหลังอบรม/พิธีปิดหลังการอบรม
- นักเรียนนำความรู้และทักษะในการเลือกซื้ออาหาร ผัก และผลไม้ ส่งผลให้นักเรียนมีสุขภาพสมบูณ์ แข็งแรงดี
- ผู้นำนักเรียนนำความรู้และทักษะในการตรวจสุขภาพด้วยตนเองและนักเรียนคนอื่นๆได้
- นักเรียนมีพฤติกรรมที่ดีในการเลือกซื้ออาหารที่ปลอดภัยและถูกหลักอนามัย
- นักเรียนมีช่องปากฟัน มือ ที่สะอาด และไม่เป็นเหา
- นักเรียนมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
1.อบรมให้ความรู้ในการเลี้ยงปลาในบ่อดินและในกระชัง 2. เตรียมสถานที่ อุปกรณ์ และวัสดุที่ใช้ในการเลี้ยงปลาในบ่อดินและในกระชัง อาหารการเลี้ยงปลาในบ่อดินและในกระชัง 3. อธิบายและสาธิตการเลี้ยงปลาในบ่อดินและในกระชัง 4. ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติจริงตามกระบวนการ 5. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปผลการเลี้ยงปลาในบ่อดินและในกระชัง
- นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการเลี้ยงปลาในบ่อดินและในกระชัง ได้แก่ การคัดเลือกพันธุ์ปลา การทำกระชังปลา อัตราการปล่อยปลา การให้อาหาร การถ่ายเทน้ำ การป้องกันโรคของปลา การจับปลา การจำหน่าย การดูแลรักษา
- นักเรียนได้จัดตั้งกลุ่มยุวเกษตรกรในการเลี้ยงปลาในบ่อดินและในกระชัง
- เป็นแหล่งเรียนรู้และนำผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวัน
- นักเรียนนำความรู้ ประสบการณ์ที่ได้รับนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ
- ประชุมครูผู้รับผิดชอบและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง 2. กำหนดรูปแบบป้ายกิจกรรม จำนวน และขนาด 3. จัดทำป้ายการเรียนรู้แต่ละฐาน 4. นำป้ายไปติดตั้งตามฐานการเรียนรู้แต่ละกิจกรรม
1. นักเรียนได้รู้จักกิจกรรมฐานการเรียนรู้แต่ละฐานตามโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
2. นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อกิจกรรมการเรียนรู้ตามโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
3. นักเรียนได้มีความรู้ มีทักษะ ลำดับขั้นตอน กระบวนการทำงานตามโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
4. นักเรียนนำความรู้ที่ได้รับจากป้ายกิจกรรมฐานการเรียนและประชาสัมพันธ์ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
- อบรมนักเรียนให้ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงเป็ดไข่ การเลี้ยงไก่ไข่ การดูแลรักษา การให้อาหาร ลักษณะของโรงเรือน อุปกรณ์ที่ใช้ในโรงเรือน การทำความสะอาดโรงเรือน ภาชนะและอุปกรณ์ต่างๆ การให้วัคซีน การเก็บไข่
- ให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ได้แก่ การนำเป็ดไว้ในโรงเรือน การนำไก่ไข่ไว้ในกรง การให้อาหาร อุปกรณ์ที่ใช้ในโรงเรือน การทำความสะอาดโรงเรือน การเก็บไข่
- การดูแลรักษา เช่น การล้างโรงเรือน การให้น้ำ การทำความสะอาดภาชนะและอุปกรณ์ต่างๆการให้วัคซีน4.การจำหน่ายผลผลิต
- นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการเลี้ยงไก่ไข่และเป็ดไข่ ได้แก่ การดูแลรักษา การให้อาหาร ลักษณะของโรงเรือน อุปกรณ์ที่ใช้ในโรงเรือน การทำความสะอาดโรงเรือน ภาชนะและอุปกรณ์ต่างๆ การให้วัคซีน การเก็บไข่
- นักเรียนได้จัดตั้งกลุ่มยุวเกษตรในการเลี้ยงไก่ไข่และเป็ดไข่ในโรงเรียน
- เป็นแหล่งเรียนรู้และนำผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวัน
- นำไปประกอบอาชีพที่บ้านมีรายได้ระหว่างเรียน
- อบรมให้ความรู้และปฏิบัติชี้แจงทำความเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ของกิจกรรมบ้านนี้มีรักปลูกผักกินเองกับผู้ปกครองและนักเรียนที่สนใจ
- อธิบาย สาธิตและปฏิบัติเกี่ยวกับ การเตรียมดิน การทำปุ๋ยหมัก การปลูก การดูแลรักษา การใส่ปุ๋ย การขยายพันธ์พืช การเก็บเกี่ยวผลผลิตพืช ผัก
- แจกเมล็ดพันธุ์พึช และต้นพันธุ์พืชที่โรงเรียนได้เพาะไว้ให้ให้แก่ผู้ปกครองและนักเรียนเพื่อไปปลูกที่บ้านเมื่อได้ผลผลิตที่เหลือจากการบริโภคในครัวเรือนแล้วให้เอามาจำหหน่ายให้กับสหกรณ์นักเรียน สหกรณ์นักเรียนจำหน่ายให้โครงการอาหารกลางวันต่อไป
- เยี่ยมบ้าน ดูแล ช่วยเหลือ ให้กำลังใจ
- นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการเตรียมดิน การปลูก การดูแลรักษา การใส่ปุ๋ย การขยายพันธ์ุพืช การให้น้ำ การกำจัดวัชพืชศัตรูพืช การดูแลใส่ปุ๋ยหมักชีวภาพ การเก็บเกี่ยวผลผลิตและจำหน่ายผัก 2.ส่งเสริมอาชีพให้กับนักเรียน และนักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียน
- เป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชนและนำผลผลิตมาประกอบอาหารในครัวเรือนและจำหน่ายแก่สหกรณ์นักเรียนและชุมชน
- สร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างโรงเรียนและชุมชน
- การเลี้ยงกบ 1.1 วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ ได้แก่ กบ อาหารกบ ปล้องบ่อ 1.2 เตรียมสถานที่เลี้ยงด้วยการวางปล้องบ่อและฝาปิดสำหรับเลี้ยงกบ 1.3 นำลูกกบตัวเล็กมาปล่อยให้อาหารวันละ 3 ครั้ง
- การเลี้ยงปลาไหล 2.1 วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ ได้แก่ ลูกปลาไหล บ่อซิเมนต์ถมดิน ท่อพีวีซ๊ หยวกกล้วย เศษปลา 2.2 เตรียมสถานที่เลี้ยงปลาไหลด้วยการถมดินในบ่อซิเมนต์เปิดน้ำขังทิ้งไว้แล้วนำหยวกกล้วยสับเป็นท่อน ท่อนละประมาณ 50 ซ.ม. หลายๆท่อนแช่ไว้ประมาณ 45 วัน เมื่อน้ำใสก็ปล่อยลูกปลาไหลลงในบ่อ 2.3 นำลูกปลาไหลมาปล่อยลงในบ่อที่เตรียมเอาไว้ให้อาหาร 5-7 วันต่อครั้ง ประมาณ 5-ุุ6 เดือนก็สามารถนำไปจำหน่ายได้
- นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการคัดเลือกพันธุ์ อาหาร การทำความสะอาดบ่อ การดูแล การคัดไซส์ การเปลี่ยนถ่ายน้ำ การป้องกันโรค การจำหน่าย
- นักเรียนได้จัดตั้งกลุ่มยุวเกษตรกรในการเลี้ยงกบเลี้ยงปลาไหล
- เป็นแหล่งเรียนรู้และนำผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวัน
- นักเรียนนำความรู้ ประสบการณ์ที่ได้รับนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ
- นักเรียนมีความรับผิดชอบ และความซื่อสัตย์สุจริต
- อบรมนักเรียนให้ความรู้การเตรียมดิน การปลูก การดูแลรักษา การใส่ปุ๋ย การขยายพันธ์พืช การเก็บเกี่ยวผลผลิตพืช ผักเกษตรอินทรีย์แบบผสมผสาน
- ให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ได้แก่ การเตรียมดิน การปลูกผัก เช่นผักบุ้ง กว้างตุ้ง คะน้า มะเขือ ผักกาด ถั่วฝักยาว ถั่วพลู การปลูกผักเขลียงการ ขยายพันธุ์พืชโดยวิธีต่อยอด เช่น มะเขือ
- การดูแลรักษาระหว่างปลูก เช่น การใส่ปุ๋ย การให้น้ำ การกำจัดวัชพืชศัตรูพืช การดูแลปุ๋ยหมักชีวภาพ เช่น การพลิกปุ๋ย การให้น้ำ
- การเก็บเกี่ยวผลผลิตและจำหน่าย
- นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการเตรียมดิน การปลูก การดูแลรักษา การใส่ปุ๋ย การขยายพันธ์พืช การให้น้ำ การกำจัดวัชพืชศัตรูพืช การดูแลใส่ปุ๋ยหมักชีวภาพ การเก็บเกี่ยวผลผลิตและจำหน่ายผักเกษตรอินทรีย์
- นักเรียนได้จัดตั้งกลุ่มยุวเกษตรการปลูกพืช ผัก เกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน
- เป็นแหล่งเรียนรู้และนำผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวัน
- นักเรียนมีความรับผิดชอบ มีความซื่อสัตย์สุจริต
- นักเรียนมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
- อบรมให้ความรู้และปฏิบัติเกี่ยวกับการเพาะเห็ดนางฟ้าและการเพาะถั่วงอก ได้แก่ การพักก้อนเชื้อ การวางก้อนเชื้อ การรดน้ำ การเก็บเห็ด การดูแลรักษา การจำหน่ายเห็ด และการเพาะถั่วงอก ได้แก่ การเพาะ การให้น้ำ การวางถั่วงอก ระยะเวลาการเพาะ
- การเตรียมวัสดุอุปกรณ์การเพาะเห็ดนางฟ้า ได้แก่ โรงเรือน ก้อนเชื้อ สายยาง ช้อน การเตรียมวัสดุอุปกรณ์การเพาะถั่วงอก ได้แก่ กะลามัง โรงเรือน ผ้าสำหรับปิดคลุมถั่วงอก ถั่วเขียว
- ขั้ตอนการปฏิบัติเพาะเห็ดนางฟ้า นำก้อนเชื้อไปบ่มไว้ในโรงเรือน เมื่อเชื้อวิ่งเต็มก้อนเชื้อซึ่งใช้เวลาประมาณ 25-28 วัน ก็เปิดฝาจุกรดน้ำวันละ 3 ครั้ง ประมาณ 3-5 วัน เห็ดก็งอกสามารถเก็บเกี่ยวได้และขั้นตอนการเพาะถั่วงอก นำถั่วเขียวไปวางเพื่อเพาะเป็นชั้นๆ ตามต้องการด้วยกะละมังหรือถังโดยเจาะรูเพื่อไม่ให้น้ำขังได้ และรองด้วยผ้าปิดคลุมรดน้ำทุกๆ 3 ชั่วโมง ใช้เวลา 2-3 วันก็นำไปจำหน่ายได้แล้ว
- นักเรียนร่วมกันสรุปและและแสดงผลงาน
- นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการเพาะเห็ดนางฟ้า ได้แก่ การพักก้อนเชื้อ การวางก้อนเชื้อ การรดน้ำ การเก็บเห็ด การดูแลรักษา การป้องกันเชื้อราที่เกิดขึ้นในก้อนเชื้อ การกำจัดศัตรูที่มาทำลายก้อนเห็ด การทำโรงเรีอน การจำหน่ายเห็ด
2.นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการเพาะถั่วงอก ได้แก่ การเพาะ การให้น้ำ การวางถั่วงอก ระยะเวลาการเพาะ - นักเรียนได้จัดตั้งกลุ่มยุวเกษตรกรการเพาะเห็ดนางฟ้าและเพาะถั่วงอกในนโรงเรียน
- เป็นแหล่งเรียนรู้และนำผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวัน
- นำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปประกอบอาชีพในอนาคต
- นักเรียนมีความรับผิดชอบและมีความซื่อสัตย์สุจริต
- อบรมให้ความรู้และปฏิบัติแก่นักเรียนเกี่ยวกับการทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพและปุ๋ยหมัก ตามลำดับขั้นตอนดังนี้
- การทำปุ๋ยน้ำชีวภาพเตรียมวัสดุอุปกรณ์ ได้แก่ เศษผัก เศษอาหารกลางวัน กากน้ำตาลและอีเอ็ม นำมาผสมกันด้วยอัตราส่วนผัก เศษผักเศษอาหาร 3 กิโลกรัม ต่อกากน้ำตาล 1 กิโลกรัม ทิ้งไว้ประมาณ2 สัปดาห์ก็นำมาใช้ได้
- การเตรียมสถานที่และ อุปกรณ์การทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพและปุ๋ยหมัก เตรียมวัสดุที่ใช้ในการทำปุ๋ยหมัก เช่น ทะลายปาล์มน้ำมัน เศษหญ้า เศษใบไม้แห้ง ผัก ขุ๋ยมะพร้าว ปุ๋ยคอกนำวัสดุมาผสมกันด้วยอัตราส่วน มูลวัว 1ส่วน เศษหญ้าแห้ง ทะลายปาล์มน้ำมัน 1 ส่วน ขุ๋ยมะพร้าม 1 ส่วน รดด้วยน้ำหมักปุ๋ยชีวภาพ พลิกปุ๋ยด้วยน้ำหมักชีวภาพ สัปดาห์ละครั้งทิ้งไว้ประมาณ 3-4 สัปดาห์ ก็สามารถนำมาใช้ได้
- นักเรียนมีความรู้ มีทักษะ ในการทำปุ๋ยหมักน้ำชีวภาพและปุ๋ยหมัก
- นักเรียนได้จัดตั้งกลุ่มยุวเกษตรกรการทำปุ๋ยหมักน้ำชีวภาพและปุ๋ยหมักในนโรงเรียน
- เป็นแหล่งเรียนรู้
- นำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปประกอบอาชีพในอนาคต
- ได้ผลที่คุ้มค่า ประหยัด ปลอดภัย เนื่องจากนำเศษวัสดุ ปุ๋ยคอก เศษผัก เศษผลไม้ ที่เหลือใช้มาทำปุ๋ยหมักน้ำชีวภาพและปุ๋ยหมัก
- นักเรียนมีความรู้ มีทักษะ ในการทำปุ๋ยหมักน้ำชีวภาพและปุ๋ยหมัก ไปเผยแพร่ และขยายผลต่อชุมชน