ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านบ่อหิน จังหวัดตรัง


“ โรงเรียนบ้านบ่อหิน จังหวัดตรัง ”

หมู่ที่ 1 ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นาย สุนทร ประเสริฐกุล

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านบ่อหิน จังหวัดตรัง

ที่อยู่ หมู่ที่ 1 ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ ศรร.1412-103 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ต.24

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2016 ถึง 30 เมษายน 2017


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านบ่อหิน จังหวัดตรัง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 1 ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านบ่อหิน จังหวัดตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านบ่อหิน จังหวัดตรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านบ่อหิน จังหวัดตรัง " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 1 ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ศรร.1412-103 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านบ่อหิน จังหวัดตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 236 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ

สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น

สถานการณ์ด้านภาวะโภชนาการของโรงเรียนบ้านบ่อหิน นักเรียนอ้วน จำนวน 5 คน ร้อยละ 2.55 นักเรียนผอม จำนวน 11 ร้อยละ 5.61 สมส่วน จำนวน 180 คน ร้อยละ 91.84

จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียน บ้านบ่อหินจึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาสุขภาวะ และโภชนาการของเด็กและเยาวชน
  2. 2. เพื่อสร้างการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะเด็กและเยาวชน
  3. 3. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนเพิ่มขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียน.มีสุขภาพและพัฒนาพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัยมีอารมณ์ดีและสติปัญญาดีขึ้นมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
    2. โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
    3. พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข็มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน
    4. เป็นแหล่งเรียนรู้แก่นักเรียน ชุมชน และสถานศึกษาอื่น ได้ศึกษา
    5. ชุมชน พ่อแม่ผู้ปกครองมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของนักเรียน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. เชิญวิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับการผลิตปุ๋ยหมัก การเตรียมดิน

    วันที่ 3 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เชิญวิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับการผลิตปุ๋ยหมัก การเตรียมดิน ให้กับนักเรียนและบุคลากร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต นักเรียนและบุคลากรทั้งหมด ในโรงเรียน ผุ้ปกครอง แกนนำชุมชนและคนในชุมชน ทั้งหมดจำนวน 30 คน เข้าร่วมกิจกรรม การผลิตปุ๋ยหมัก การเตรียมดิน


    ผลลัพธ์ นักเรียนสามารถทำการผลิตปุ๋ยหมักและการเตรียมดิน โดยความควบคุม ดูแลของครูผู้รับผิดชอบ 

     

    15 30

    2. พัฒนาสิ่งแวดล้อมรอบๆ บ่อปลา (ปลูกต้นชะอม)

    วันที่ 13 มิถุนายน 2016 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เพื่อให้โรงเรียนมีสิ่งแวดล้อมที่ดี และสามารถนำมาประกอบอาหารกลางวันได้ นักเรียนร่วมกับครู ปลูกต้นชะอม บริเวณรอบบ่อปลาจำนวน 300 ต้น ในวันที่13/06/2016

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      นักเรียนชั้น ป4-6 จำนวน 70 คน เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาสิ่งแวดล้อมรอบๆ บ่อปลา (ปลูกต้นชะอม 300 ต้น) นักเรียนสามารถพัฒนาสิ่งแวดล้อมรอบๆ บ่อปลา (ปลูกต้นชะอม 300 ต้น) นำมาจัดบริการอาหารกลางวัน

     

    64 84

    3. จัดซื้อพันธุ์ปลาน้ำจืด

    วันที่ 20 กันยายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ซื้อพันธุ์ปลาน้ำจืด -ลูกปลาแรด จำนวน 500  ตัว -ลูกปลาดุก จำนวน 2,000 ตัว -ลูกปลาหมอ จำนวน 1,000 ตัว -ลูกปลานิล จำนวน 690 ตัว

    วิธีการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนชั้น ป.5  จำนวน 20 เข้าร่วมกิจกรรมการเลี้ยงปลาน้ำจืดในบ่อดินตามจำนวนปลาที่ ครูจัดซื้อ โดยมีขั้นตอนในการดำเนินการเลี้ยงดังนี้ ครูและนักเรียนแกนนำร่วมกันแบ่งกลุ่ม สมาชิกนักเรียน ในการรับผิดชอบในด้าน การเลี้ยงดังนี้ - ให้อาหารปลาดุกในกระชังวันละ 2 ครั้ง จำนวน 200 ตัว โดยให้สัดส่วนอาหารตามตารางการให้อาหาร
    - ให้อาหารปลาในบ่อดิน โดยนักเรียนให้อาหารวันละ 1 ครั้ง  ก่อนเลิกเรียน สัดส่วนการให้อาหาร นักเรียนจะให้ตามตารางที่ประมงจังหวัดตรังให้คำแนะนำ - การจับประเพื่อนำมาประกอบอาหารกลางวัน ได้รับความช่วยเหลือจากผู้ปกครองของนักเรียน

    นักเรียนสามารถเลี้ยงปลากน้ำจืดในบ่อดินเพื่อใช้ในการบริการอาหารกลางวันของโรงเรียน

     

    12 12

    4. จัดซื้ออาหารไก่

    วันที่ 20 กันยายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดซื้ออาหารไก่พันธ์ไข่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนชั้น ป.5 จำนวน 20 คน เข้าร่วมกิจกรรม จัดซื้ออาหารไก่ 23 กระสอบ กระสอบละ 440 บาท รวม 10,120 บาท


    นักเรียนดูแลให้อาหารไก่จนสามารถออกไข่  พร้อมจำหน่ายให้สหกรณ์โรงเรียนเพื่อเป็นอาหารกลางวัน และดูแลรักษาความสะอาดบริเวณที่เลี้ยงไก่

     

    34 34

    5. ซื้อพันธ์ุไก่ไข่เพิ่มเติม

    วันที่ 24 กันยายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดซื้อพันธุ์ไก่ไข่เพื่อรองรับความต้องการที่เพิ่มขึ้นของนักเรียนและชดเชยในส่วนที่ไม่สามารถออกไข่ได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนชั้น ป4 จำนวน 25 คน เข้าร่วมกิจกรรม การเลี้ยงไก่ไข่ จำนวน 100 ตัว โดย แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบในการเลี้ยงไก่ดังนี้ 1. ให้อาหารไก่วันละ 1 ครั้ง เวลา15.00 น 2. เก็บไข่ไก่วันละ 1 ครั้งหลังจากการให้อาหารไก่ ไข่ไก่ที่ได้จะนำไปเก็บไว้ในธนาคารไข่ โดยเฉลี่ยแล้วจะได้ไข่ไก่ประมาณวันละ 70 ฟอง
    3. ทำความสะอาดบริเวรโรงเรียนเลี้ยงไก่


    นักเรียนสามารถเลี้ยงไก่ไข่และนำไข่มาใช้ในการประกอบอาหารกลางวันได้

     

    2 31

    6. การตรวจเอกสารการเงินและผลดำเนินงานปิดงวดที่1

    วันที่ 12 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การเข้ารายงานระบบติดตามออนไลน์ของโครงเด็กไทยแก้มใส การตรวจเอกสารการเงินและผลดำเนินงานปิดงวดที่1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครูได้เข้าร่วมการบันทึกกิจกรรมและรายงานผลระบบติดตามออนไลน์ของโครงการเด็กไทยแก้มใส


    ครูสามารถรายงานผลโครงการและบันทึกเอกสารการเงินของโครงการเด็กไทยแก้มใสได้ถูกต้อง

     

    2 2

    7. การเลี้ยงกบ

    วันที่ 12 มกราคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นักเรียน ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องกบ บนป้ายให้ความรู้ นักเรียนแกนนำสักเกตุกบในบ่อเลี้ยง เมื่อโตเต็มที่
    นำกบไปปรุงเป็นอาหารกลางวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต นักเรียนเกิดทักษะในการเลี้ยงกบ โดยมีขั้นตอนดังนี้
    - การให้อาหารกบนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เป็นผู้ให้โดยการแบ่งเวรผลัดเปลี่ยนกัน จะให้วันละ 2 ครั้ง เพิ่มปริมาณตามความต้องการของกบโดยสังเกตุ จากเศษอาหารที่เหลือในช่วงเช้าถ้าไม่เหลือก็เพิ่มปริมาณ ถ้าเหลือก็ลดปริมาณ - การทำความสะอาดบ่อเลี้ยงกบเป็นหน้าที่ของนักเรียนชายชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และนักการภารโรง โดยจะทำความสะอาดสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ในวันศุกร์ กบที่โตพร้อมนำไปบริโภค จะถูกจับเพื่อเป็นเมนูในอาหารกลางวันนักเรียน

     

    0 28

    8. อบรมครูและนักเรียนเรื่องการปลูกผักกางมุ้ง การเลี้ยงไก่ การเลี้ยงปลาที่ถูกต้องตามหลักโภชานาการ

    วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เชิญวิทยากร มาให้ความรู้เกี่ยวครูและนักเรียนเรื่องการปลูกผักกางมุ้ง การเลี้ยงไก่ การเลี้ยงปลาที่ถูกต้องตามหลักโภชานาการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      นักเรียนมีความเข้าใจ การปลูกผักกางมุ้ง การเลี้ยงไก่ การเลี้ยงปลาที่ถูกต้องตามหลักโภชานาการ  การอบรม วิทยากรมี 3 กลุ่ม กลุ่มที่1 เป็นวิทยากรจากเกษตรอำเภอให้ความรู้นักเรียนและครูเกี่ยวกับการ ปลูกผักกางมุ้งปลอดสารพิษ โดยให้ความรู้ในด้านต่างๆดังนี้ - การคัดเลือกพันธุ์ที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของโรงเรียน - การเตรียมดินปลูก ขั้น ตอนการปลูก
    - การให้ปุ๋ย แต่ละระยะ ตามความต้องการของพืช
    - การเก็บผลผิต และการจัดหาตลอด วิทยากรกลุ่มที่ 2 เป็นปราชญ์ชาวบ้าน ให้ความรู้ในการเลี้ยงไก่ไข่ และการเลี้ยงไก่ชนิดอื่น โดยให้ความรู้ในด้านต่างๆดังนี้ - โรคของไก่ไข่ที่พบบ่อยและการดูแลรักษาไก่ไข่ - การให้อาหารไก่ และน้ำ - เพิ่มเติมสำหรับการเลี้ยงไก่พันธ์ที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมพร้อมทั้งแจกพันธืไก่สำหรับนักเรียนที่ต้องการนำไปเลี้ยงที่บ้าน วิทยากรกลุ่มที่ 3 เป็นเกษตรประจำตำบลได้ให้ความรู้เกียวกับการเลี้ยงปลาในบ่อดิน และปลาในกระชัง - การให้อาหารปลากินเนื้อ และปลากินพืช สอนวิธีการทำตารางการควบคุมอาหาร และการให้อาหาร - แนะนำขั้นตอนการเลี้นงให้ปลาโดยเร็วในระยะเวลาที่กำหนด
    นักเรียนเข้าใขและสามารถนำมาปรับใช้ในการเรียนรู้ และชีวิตประจำวันได้

     

    130 59

    9. เชิญวิทยากร จากสาธณะสุขอำเภอสิเกา มา ให้ความรู้แก่ ครูผู้รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวัน และแม่ครัว

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เชิญวิทยากร จากสาธณะสุข จังหวัดตรัง มา ให้ความรู้แก่ ครูผู้รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวัน  และแม่ครัว และนักเรียนแกนนำ  ด้วยเร่องจัดอาหารกลางวันและสุขาภิบาลที่ดี 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สาธารณะสุขอำเภอสิเกาให้ความรู้ ครู นักเรียนแกนนำ และแม่ครัว ในด้านต่างๆ ดังนี้ - ด้านความสะอาดของภาชนะสำหรับปรุงอาหาร - การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร และหลังการขับถ่าย - การคัดแยกขยะภายในโรงเรียน และการลดปริมาณขยะ

    ครูผู้รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวัน และนักเรียนแกนนำ ได้รับความรู้เพิ่มเติมและถูกต้องในจัดอาหารกลางวันและสุขาภิบาลที่ดี
    แม่ครัวนำความรู้ที่ได้มาปรับใช้ในการจัดอาหารกลางวันของโรงเรียน

     

    16 24

    10. ครูและนักเรียนแกนนำศึกษาดูงานการปลูกผักกางมุ้งในชุมชน

    วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ครูและนักเรียนแกนนำศึกษาดูงานการปลูกผักกางมุ้งในชุมชน ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านหนำควาย ศูนย์เพาะพันธุ์เนื้อเยื่อ จังหวัดตรัง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    output  ครูและนักเรียนแกนนำได้ความรู้เพิ่มเติมจากการ ศึกษาดูงานการปลูกผักกางมุ้งในชุมชน และนำมาปรับใช้ในกิจกรรมเกษตรของโรงเรียนได้

     

    24 63

    11. ซื้ออาหารปลาดุก

    วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดซื้ออาหารปลาดุก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การจัดซื้ออาหารปลาดุกขนาดกลาง เพื่อให้อาหารปลาตามตารางการให้อาหารได้ถูกต้อง และปลาดุกมีขนาดตัวที่ใหญ่ขึ้นไม่เหมาะสำหรับการให้อาหารปลาดุกเล็ก
    ปลาดุกที่เลี้ยงในบ่อได้กินอาหาร   นักเรียนได้ช่วยกันให้อาหารปลาดุกตามเวลา
              ปลามีการเจริญเติบโต

     

    0 6

    12. จัดทำ สื่อการเรียนรู้ (ป้ายไวนิลเพื่อให้ความรู้สู่ชุมชน)

    วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้ายไวนิลให้ความรู้เกี่ยวกับฐานเลี้ยงสัตว์และปลูกผัก ครูถ่ายทอดความรู้ให้หับนักเรียน  เกี่ยวกับป้ายไวนิล ในฐานการเลี้ยงสัตว์และปลูกผัก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้ทักษะความรู้จากการปฎิบัติจริง และการปฎิบัติที่ถูกต้องตามหลักการอย่างมีระบบ มีป้ายไวนิลสำหรับให้ความรู้ในแต่ละฐานการเลี้ยงสัตว์และปลูกผัก นักเรียนแกนนำสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับเพื่อน ชุมชน ผู้ที่เข้ามาศึกษาดูงานใน โรงเรียน และ นักเรียนเองก็ได้ความรู้จากป้าย

     

    42 0

    13. กิจกรรมเด็กไทยลดพุงลดโรค

    วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 12:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เชิญผู้ปกครอง นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการมาเข้าร่วมฟังการอบรมการจัดอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ จากวิทยากรจาก รพ.สิเกา จ.ตรัง นักเรียนร่วมเข้าฟังการอบรมและทำกิจกรรมกับวิทยากร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เชิญวิทยากรจากโรงพยาบาลสิเกา คือนักโภชนาการและคณะ ให้ความรู้กับนักเรียนและผู้ปกครองในด้านภาวะโภชนาการดังนี้ - การเกิดโรคอ้วน - ภาวะเด็กขาดสารอาหาร - วิธีป้องกันและแนวทางแก้ไขสำหรับเด็กอ้วน ให้อยู่ในภาวะ เจริญเติบโตตามวัย - การเลือกบริโภคอาหาร ที่มีประโยชน์ ทั้งที่บ้านและที่โรงเรียน ผู้ปกครองให้ความสนใจในการเข้าร่วมฟังการอบรมให้ความสนใจต่อบุตรหลาน
    ผู้ปกรองเกิดความเข้าใจต่อภาวะโภชนาการที่ดี ขึ้น และได้เข้าใจภาวะโรคอ้วนในเด็ก

     

    202 223

    14. ซื้ออาหารไก่(เพิ่มเติม)

    วันที่ 10 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดซื้ออาหารไก่ เพิ่มเติมสำหรับไก่พันธุ์ไข่ จำนวน 8 กระสอบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้อาหารสำหรับใช้เลี้ยงไก่ แม่ไก้พันธุ์ไข่ จำนวน 80 ตัว
    ได้ผลผลิตไข่ไก่ เฉลี่ยวันละ 65-72 ฟอง ส่งเข้าสหกรณ์โรงเรียน และใช้ในโครงการอาหารโรงเรียนโดยมีผลผลิตเหลือ ประมาณ100 - 150ต่อ สัปดาห์ และจัดจำหน่ายให้ชุมชน

     

    7 0

    15. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานสรุปการเงินปิดโครงการ

    วันที่ 3 เมษายน 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ตรวจสอบเอกสารการเงินโครงการ
    • ลงรายละเอียดการทำกิจกรรม
    • ประเมินศูนย์เรียนรู้
    • ประเมินคุณค่าโครงการ
    • จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต (Output) ได้รับการตรวจเอกสารการเงิน และปรับแก้ไขให้ถูกต้อง

     

    2 2

    16. คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ

    วันที่ 4 เมษายน 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำเงินดอกเบี้ยคืนโครงการ ศรร เด็กไทยแก้มใส

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผล ที่เกิดขึ้น นำเงินดอกเบี้ย คืนโครงการ

     

    0 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาสุขภาวะ และโภชนาการของเด็กและเยาวชน
    ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนเจริญเติบโตสมวัย โดยมี ภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน ไม่เกิน ๒% ภาวะค่อนข้างผอมและผอมไม่เกิน ๕% ภาวะค่อนข้างเตี้ย และเตี้ย ไม่เกิน ๒% (กรณีที่ภาวะโภชนาการไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดให้ลดลงจากเดิมไม่น้อยกว่า 0.5 ต่อปี) 2. นักเรียนได้กินผัก-ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้น ในมื้อกลางวัน เฉลี่ย 2.1 ผักวันละ ประมาณ 40-100 กรัม (อนุบาล 3 ช้อน (50 กรัม)ประถม4 ช้อน (70 กรัม)) 2.2 ผลไม้ (อนุบาล ½ ส่วน ประถม 1 ส่วน) ต่อมื้อต่อคน

     

    2 2. เพื่อสร้างการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะเด็กและเยาวชน
    ตัวชี้วัด : 2.1 เด็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินผักและผลไม้เพิ่มขึ้น เฉลี่ยประมาณ 40-100 กรัม ในมื้ออาหารเย็น และอาหารว่าง (ติตตามผลโดยครูและผู้ปกครอง) 2.2 นักเรียนประมาณ 80% มีพฤติกรรมสุขภาวะที่ดี ได้แก่ การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร มีการแปรงฟันหลังทานอาหาร รวมทั้งแปรงฟันก่อนเข้านอน และมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถัง 2.3 ทางโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมออกกำลังกาย ก่อนเรียน (อาจจะเน้นที่เด็กมีภาวะอ้วนเป็นพิเศษ) 2.4 นักเรียนประมาณ 80 % ของจำนวนเด็กในโรงเรียน ให้ความร่วมมือทำกิจกรรมศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

     

    3 3. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนเพิ่มขึ้น
    ตัวชี้วัด : 3.1 โรงเรียนมีระดับความสำเร็จในด้านการเชื่อมโยงอาหารและสุขภาพ อยู่ในระดับ 4 3.2 จำนวนกิจกรรมที่มีส่วนร่วมของครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนเพิ่มขึ้น 40%

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาสุขภาวะ และโภชนาการของเด็กและเยาวชน (2) 2. เพื่อสร้างการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะเด็กและเยาวชน (3) 3. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนเพิ่มขึ้น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

    ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านบ่อหิน จังหวัดตรัง

    รหัสโครงการ ศรร.1412-103 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.24 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

    วันที่เริ่มประเมิน

    1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    (ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    1. การเกษตรในโรงเรียน
    1. ชื่อกิจกรรมย่อย : เลี้ยงไก่ -จัดซื้ออาหารไก่ และพันธุ์ไก่เพิ่มเติ่ม

    -จัดเตรียมสถานที่สำหรับเลี้ยงไก่ -ซื้อพันธุ์ไก่พันธุ์ไข่จำนวน 100 ตัว -และจัดซื้ออาหารสำหรับไก่พันธุ์ไก่ -ไก่จะไข่ประมาน 72 ฟอง/วัน -นำไข่ไก่ที่ได้ไปขายสหกรณ์ แล้วนำไปประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียน

    -นำไข่ที่ได้ไปแปรรูป เช่น ไข่เค็ม ไข่ลูกเขย เป็นต้น

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    2. สหกรณ์นักเรียน

    กิจกรรมสหกรณ์นักเรียนมีนักเรียนเป็นสมาชิก

    -มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานสหกรณ์โดยนักเรียน และรับซื้อผลผลิตจากกิจกรรมเกษตรในโรงเรียนเพื่อขายให้กิจกรรมอาหารกลางวัน

    -พัฒนาระบบสหกรณ์นักเรียนให้มีประสิทธิภาพ โดยให้นักเรียนเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้นกว่าเดิม

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

    ปรุง ประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาล และอาหารปลอดภัย

    -เชิญวิทยากร จากสาธณะสุขอำเภอสิเกา มา ให้ความรู้แก่ ครูผู้รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวัน และแม่ครัว -โรงอาหารมีความพร้อม สะอาด ปลอดภัย และมีที่ดูดควัน เมื่อปรุงอาหาร ที่ถูกหลักอนามัยและโภชนาการ

    -ปรับปรุง/ซื้อ อุปกรณ์การจัดการอาหารของโรงเรียน เช่น ปรับปรุงโต๊ะ เก้าอี้ของนักเรียน เป็นต้น

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

    มีรายงานเฝ้าระวังการเจริญเติบโตและสมรรถภาพทางกายของนักเรียนทุกคน เทอมละ 1 ครั้ง

    เฝ้าระวังการเจริญเติบโตและสมรรถภาพทางกายของนักเรียนทุกคน เทอมละ 1 ครั้ง โดยครูอนามัยและเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาล

    -

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

    -มีการบันทึกสุขภาพนักเรียนรายบุคคลและแบบประเมินพฤติกรรมสุขบัญญัติแห่งชาติ -มีการฝึกปฏิบัติใช้ช้อนกลาง ล้างมือ ในช่วงเวลาการรับประทานอาหาร

    -บันทึกสุขภาพนักเรียนรายบุคคลและแบบประเมินพฤติกรรมสุขบัญญัติแห่งชาติ -นักเรียนฝึกปฏิบัติใช้ช้อนกลาง ล้างมือ ในช่วงเวลาการรับประทานอาหาร

    -ควรส่งเสริมให้นักเรียนฝึกปฏิบัติใช้ช้อนกลาง ล้างมือ ในช่วงเวลาการรับประทานอาหาร ให้เกิดเป็นนิสัย

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

    โรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและมาตรฐานคุณภาพน้ำบริโภคในโรงเรียน

    -เชิญวิทยากร จากสาธณะสุขอำเภอสิเกา มา ให้ความรู้แก่ ครูผู้รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวัน และแม่ครัว -จัดทำ สื่อการเรียนรู้ (ป้ายไวนิลเพื่อให้ความรู้สู่ชุมชน)

    -ควรขยายผลความรู้เกี่ยวสุขาภิบาลและมาตรฐานคุณภาพน้ำบริโภคให้กันักเรียน

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

    นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพนักเรียนทุกคนเทอมละ 1 ครั้ง และให้การดูแลช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างเหมาะสม

    มีการการตรวจสุขภาพนักเรียนทุกคนเทอมละ 1 ครั้ง และให้การดูแลช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างเหมาะสม

    -ควรส่งเสริมให้ผู้ปกครองนำสมาชิกในครอบครัวไปตรวจสุขภาพประจำปีด้วย

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

    มีกิจกรรมเรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ ที่บูรณาการจากภูมิปัญญาท้องถิ่น

    -ครูมีแผนการสอนที่บูรณาการจากภูมิปัญญาท้องถิ่น -จัดกิจกรรมเรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ ที่บูรณาการจากภูมิปัญญาท้องถิ่น -ใช้สื่อและนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย

    -ควรส่งเสริมให้นักเรียนผลิตสื่อในการจัดการเรียนรู้ด้านเกษตร

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    9. อื่น ๆ

     

     

     

    2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

    1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

    1. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขจังหวัด
    2. เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลสิเกา
    3. ปศุสัตว์อำเภอสิเกา
    4. ปราชญ์ชาวบ้าน
    5. กรมประมง

    2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

    1.โรงเรียนมีสถานที่กว้างและเหมาะสมในการจัดการเกษตรในโรงเรียน 2.โรงเรียนมีความพร้อมในด้านของบุคลากร

    3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

    -ความสามัคคีของคณะครูและนักเรียน -ความรู้ของบุคลากร

    4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

    ครู นักเรียนและแม่ครัว มีความรู้พร้อมในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ

    5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

    ผู้ปกครองและชุมชนให้ความร่วมมือในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

    -มีการปลูกผักกางมุ้ง และผลไม้ ผักปลอดสารพิษในร่องปลูก เพื่อนำมาทำเป็นอาหารกลางวันให้นักเรียนอย่างเพียงพอ

    รายละเอียดของโครงการ

    เพิ่มการปลูกพืช ผักให้หลากหลายมากกว่าเดิม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

    มีการเลี้ยงไก่ไข่จำนวน 100 ตัว ได้ไข่จำนวนประมาณ 70 ฟอง/วัน เพื่อนำมาเป็นอาหารโปนตีน

    รายละเอียดของโครงการ

    แก้ปัญหาเกี่ยวกับไก่ตาย เพื่อหาสาเหตุการตายของไก่

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

    -มีการซื้อพันธุ์ปลานิล จำนวน ๒,๕๐๐ ตัว และซื้อพันธุ์ปลาจาระเม็ดน้ำจืด จำนวน ๑,๒๕๐ ตัว มาเลี้ยงในบ่อปลา เพื่อประกอบเป็นอาหารกลางวัน -มีการเลี้ยงกบ จำนวน 50 ตัวเพื่อนำมาประกอบอาหารกลางวัน

    รายละเอียดของโครงการ

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

    -

    -

    -

    5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

    โรงเรียนได้นำผัก ผลไม้ที่ปลูกมาประกอบเป็นอาหารกลางวันให้เพียงพอต่อปริมาณที่ควรได้รับ

    รายละเอียดของโครงการ

    ควรมีการปลูกผักและผลไม้ที่หลากหลายมากกว่าเดิม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    โรงเรียนได้นำผัก ผลไม้ที่ปลูกมาประกอบเป็นอาหารกลางวันให้เพียงพอต่อปริมาณที่ควรได้รับ

    รายละเอียดของโครงการ

    ควรมีการปลูกผักและผลไม้ที่หลากหลายมากกว่าเดิม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

    โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมช

    รายละเอียดของโครงการ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

    -

    -

    -

    4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

    มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วน

    รายงานการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วน โดยครูอนามัย

    ควรหั้ยผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียน

    3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

    สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

    ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/2
    เตี้ย 1.55 1.55% 1.55 1.55% 1.55 1.55% 1.55 1.55% 2.17 2.17% 0.00 0.00% 2.17 2.17% 2.17 2.17%
    เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 2.59 2.59% 2.59 2.59% 2.59 2.59% 2.59 2.59% 4.35 4.35% 3.87 3.87% 4.35 4.35% 4.35 4.35%
    ผอม 1.55 1.55% 1.04 1.04% 1.55 1.55% 1.55 1.55% 1.63 1.63% 0.00 0.00% 1.63 1.63% 1.65 1.65%
    ผอม+ค่อนข้างผอม 3.63 3.63% 3.63 3.63% 3.63 3.63% 3.63 3.63% 1.63 1.63% 7.18 7.18% 1.63 1.63% 1.65 1.65%
    อ้วน 5.70 5.70% 4.15 4.15% 5.18 5.18% 5.18 5.18% 3.26 3.26% 0.00 0.00% 3.26 3.26% 3.30 3.30%
    เริ่มอ้วน+อ้วน 10.88% 10.88% 7.25% 7.25% 7.25% 7.25% 7.25% 7.25% 7.07% 7.07% 3.31% 3.31% 7.07% 7.07% 6.59% 6.59%
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

    -มีการจัดกิจกรรม เต้นฮูลาฮูบ ตอนเช้าทุกวัน -มีการจัดอบรมให้ความรู้ กิจกรรมลดพุง ลดโรค

    ดังรายละเอียดของโครงการ

    ควรตระหนักให้ผู้ปกครอง มีความรู้เรื่อง สาเหตุของการเริ่มอ้วน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

    โรงเรียนมีการจัดอาหารที่ีคุณค่า เพื่อเสริมให้กับนักเรียนที่มีปัหาภาะทุพโภชนาการ

    ดังรายละเอียดของโครงการ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

    ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา

    ดังรายละเอียดของโครงการ

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

    -

    -

    -

    5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

    1. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขจังหวัด
    2. เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลสิเกา
    3. ปศุสัตว์อำเภอสิเกา
    4. ปราชญ์ชาวบ้าน
    5. กรมประมง

    หมายเหตุ *

    • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    โรงเรียนบ้านบ่อหิน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ ศรร.1412-103

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นาย สุนทร ประเสริฐกุล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด