ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านท่าลาด จ.พัทลุง


“ โรงเรียนบ้านท่าลาด จ.พัทลุง ”

หมู่ที่3 ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสุคนธ์ สุระกำแหง

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านท่าลาด จ.พัทลุง

ที่อยู่ หมู่ที่3 ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ ศรร.1412-109 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ต.20

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2016 ถึง 30 เมษายน 2017


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านท่าลาด จ.พัทลุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่3 ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านท่าลาด จ.พัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านท่าลาด จ.พัทลุง



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านท่าลาด จ.พัทลุง " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่3 ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ศรร.1412-109 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านท่าลาด จ.พัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 276 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านท่าลาด จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และปฏิบัติจริงเกี่ยวกับงานเกษตรในโรงเรียน มีผลผลิตทางการเกษตรที่ปราศจาก สารพิษ และนำมาประกอบอาหารกลางวันในโรงเรียน
  2. เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดี มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่สมบูรณ์ แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
  3. เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้การรวมกลุ่มเพื่อช่วยเหลือกันตามหลักการสหกรณ์นักเรียน
  4. เพื่อพัฒนาบุคลากรและนักเรียนในการจัดทำโครงการเด็กไทยแก้มใสอย่างเป็นระบบ
  5. เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมและการสุขาภิบาลของโรงเรียนบ้านท่าลาด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง โดยความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
    2. นักเรียนสามารถหารายได้ระหว่างเรียนจากความรู้ที่ได้รับเรื่องเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ 3นักเรียนมีความสุขในการเรียน สามารถปฏิบัติกิจกรรมต่างๆที่โรงเรียนและหน่วยงานอื่นจัดได้อย่างมีคุณภาพ 4นักเรียนสามารถเผยแพร่โครงการ/กิจกรรมเด็กไทยแก้มใส ขยายผลสู่ชุมชน ได้อย่างเหมาะสมกับวัย 5โรงเรียนและชุมชนมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ช่วยเหลือกันและกัน ุ6. นักเรียนมีความรู้และมีส่วนร่วมในการดำเนินงานสหกรณ์นักเรียน
    3. สภาพแวดล้อมของโรงเรียน สะอาด สวยงาม เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
    4. มีการจัดทำหลักสูตรบูรณาการทุกองค์ความรู้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. จัดทำเมนูอาหาร Thai school lunch ครั้งที่ 1

    วันที่ 1 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1  ประชุม ชี้แจงผู้ที่เกี่ยวข้อง 2  ,มอบหมายผู้รับผิดชอบการดำเนินการ 3. ส่งบุคลากรเข้ารับการพัฒนา /อบรม
    4. ดำเนินการตามกิจกรรม
    5 นิเทศ กำกับ ติดตาม  และสรุปผลการดำเนินการ 6 ประเมินภาวะโภชนาการนักเรียนทุกคนตาช่วงเวลาที่กำหนด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1 โรงเรียนมีเมนูอาหารกลางวัน Thai school lunch ทำให้มีเมนูอาหารกลางวันที่หลากหลาย
    2 อาหารมีปริมาณและคุณค่าทางอาหารอย่างครบถ้วนตามหลักภาวะโภชนาการ 3 นักเรียนไม่เบื่อหน่ายในเมนูอาหารกลางวัน 4 นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่สมบูรณ์ แข็งแรง นำ้หนักและส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด

     

    274 274

    2. ถอนเงินเปิดบัญชีคืนโรงเรียน

    วันที่ 4 สิงหาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ถอนเงินเปิดบัญชี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ถอนเงินที่เปิดบัญชี

     

    0 0

    3. เพาะเห็ดนางฟ้า

    วันที่ 30 กันยายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้ความรู้นักเรียนและผู้ที่เกี่ยวข้อง คณะครู ผู้ปกครอง เตรียมสถานที่ ซื้อเชื้อเห็ด เพาะเห็ด /ดูแลรดน้ำ เก็บเห็ด ส่งสหกรณ์นักเรียน และส่งต่อโครงการอาหารกลางวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนสามารถดำเนินงานกลุ่มได้เป็นอย่างดี มีความรู้และประสบการณ์ในการเพาะเห็ด การคิดคำนวณต้นทุน ผลผลิต และกำไร

     

    228 113

    4. เลี้ยงปลาดุกในบ่อลอย

    วันที่ 30 กันยายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เตรียมสถานที่ ให้ความรู้นักเรียน เตรียมพันธุ์และอาหารปลาดุก เลี้ยงปลาดุก
    นำเข้าสู่กิจกรรมสหกรณ์นักเรียนและโครงการอาหารกลางวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีความรู้และทักษะในการเลี้ยงปลาดุกในบ่อลอย มีพฤติกรรมการทำงานกลุ่มที่ดี มีความรับผิดชอบ ทำงานได้อย่างต่อเนื่อง

     

    228 128

    5. กิจกรรมการทำความสะอาดโรงเรียน ครั้งที่ 1-4

    วันที่ 30 กันยายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. โรงเรียนได้ประชุมแบ่งกลุ่มนักเรียน ออกเป็น 3 กลุ่มสี คือ สีแดง สีเหลือง สีฟ้า พร้อมกับมอบหมายครูเป็นที่ปรึกษาารรักษา
    2. จัดแบ่งพื้นที่ในการรักษาความสะอาดให้กับเขตสีต่างๆ ประกอบด้วย อาคารเรียน อาคารประกอบ และบริเวณแวดล้อม
    3. นักเรียนทำความสะอาดเขตสีทุกวันใช้เวลาตอนเช้าก่อนเข้าแถวเคารพธงชาติ 4.การติดตามการดำเนินงานโดยสารวัตรนักเรียนแบ่งหน้าที่ตรวจสอบการทำความสะอาด 5.รายงานการทำความสะอาดเขตสีหน้าแถวหลังเคารพธงชาติ (เป็นกิจกรรมที่ดำเนินการทุกวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.บริเวณอาคารเรียน อาคารประกอบ บริเวณโรงเรียนสะอาดเรียบร้อย เพราะความร่วมมือของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน 2.นักเรียนมีจิตอาสาและจิตสาธารณะ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ 3.โรงเรียนได้ให้บริการด้านสถานที่ต่อชุมชนและหน่วยงานที่มาขอใช้บริการ เช่นสนามกีฬา ห้องประชุม อาคารอเนกประสงค์ 4.โรงเรียนได้รับเกียรติบัตรและโล่รางวัลในการพัฒนาสภาพแวดล้อมของโรงเรียนจากหน่วยงานต้นสังกัด 5.ชุมชน บุคลากร นักเรียน และผู้ที่เกี่ยวข้องมีความภาคภูมิใจและสำนึกรักสถานศึกษา

     

    274 274

    6. จัดทำเมนูอาหาร Thai school lunch ครั้งที่ 2

    วันที่ 1 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำเมนู Thai  school lunch ในโครงการอาหารกลางวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โรงเรียนมีเมนูอาหารที่มีคุณค่าทางอาหาร ไม่มีความจำเจ มีปริมาณที่เหมาะสมกับสภาพร่างกายของนักเรียน นักเรียนมีความแข็งแรง มีความสุขในการดำเนินชีวิตประจำวัน

     

    274 276

    7. ชื่อกิจกรรมย่อย ปลูกผัก

    วันที่ 3 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมชี้แจงผู้ที่เกี่ยวข้องถึงวัตถุประสงค์และเป้าหมายของกิจกรรมเพื่อระดมความร่วมมือในการดำเนินการ ดำเนินการเตรียมพื้นที่ เตรียมวัสดุในการปลูกผัก ปลูกผักโดยให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติจริงที่โรงเรียนและที่บ้าน นำผลผลิตเข้าสู่กิจกรรมนักเรียน และโครงการอาหารกลางวัน ติดตามการดำเนินการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พฤติกรรมของนักเรียนคือการรวมกลุ่มการดำเนินการอย่างต่อเนื่องได้เป็นอย่างดี มีความรับผิดชอบ และนำความรู้และทักษะไปใช้จริงในชีวิตประจำวันทั้งที่บ้านและโรงเรียน

     

    210 308

    8. ชื่อกิจกรรม ปลูกพืชสมุนไพร

    วันที่ 3 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมชี้แจงครู นักเรียน ผู้ที่เกี่ยวข้องจัดเตรียมสถานที่ เตรียมพันธุ์พืช  /วัสดุ ดำเนินการปลูกพืชสมุนไพร บัวบก เสาวรส โหระพา  แมงลัก  กล้วย  อัญชัน  ขมิ้น สะระแหน่  ผักชีฝรั่ง ดูแล /จัดเก็บผลผลิต ส่งผลผลิตสู่สหกรณ์ และโครงการอาหารกลางวัน และช่วงปิดภาคเรียนจะนำผลผลิตสู่ชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีความรู้เรื่องพืชสมุนไพร สรรพคุณทางยา ทำงานเป็นกลุ่มได้ มีพฤติกรรมจิตอาสาในการทำงาน บูรณาการสู่การเรียนรู้ การทำโครงงาน

     

    166 143

    9. กิจกรรมการทำความสะอาดโรงเรียน ครั้งที่ 5-8

    วันที่ 3 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ครูประชุมชี้แจงความสำคัญของกิจกรรมการทำความสะอาดโรงเรียน 2.มอบหมายผู้รับผิดชอบกิจกรรม 3.แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มสี มีสีแดง สีฟ้า สีเหลือง และมีครูที่ปรึกษาประจำสี 4. มอบหมายและแบ่งเขตสีให้แต่ละสีทำความสะอาด 5. ติดตามประเมินผลการดำเนินการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนทุกคนได้ร่วมกันทำความสะอาดเขตสี นักเรียนสามารถทำงานกลุ่มได้เป็นอย่างดี มีความรับผิดชอบ โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่สะอาด สวยงาม และปลอดภัย นักเรียนมีพฤติกรรมที่ถาวรสามารถทำความสะอาดที่ที่เป็นสาธารณะและที่บ้านได้

     

    274 274

    10. การประชุมสัญจร

    วันที่ 13 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ไม่มีการดำเนินการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ไม่มีการดำเนินการ

     

    3 0

    11. เลี้ยงไก่ไข่

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมชี้แจงครูและผู้ที่รับผิดชอบ คณะกรรมการสถานศึกษา ตัวแทนชุมชน ผู้ปกครอง นักเรียนเพื่อทราบถึงวัตถุประสงค์ งบประมาณ ของโครงการ เลี้ยงไก่ไข่ 2.มอบหมายผู้รับผิดชอบโครงการประกอบด้วยครูผู้รับผิดชอบงานเกษตร ครูอาหารกลางวัน ครูฝ่ายโภชนาการ และนักเรียนที่รับผิดชอบ 3.จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ พันธ์ไก่  อาหารไก่  วัคซีน ที่ใส่อาหาร น้ำให้ไก่ ระบบการให้แสงสว่าง
    4.ดำเนินงานตามแผนที่วางไว้ เลี้ยงไก่ไข่เพื่ออาหารกลางวัน โดยเน้นการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง 5.นิเทศ กำกับ ติดตามการดำเนินงาน โดยผู้บริหารสถานศึกษาและผู้ที่ได้รับมอบหมาย 6.ประเมินผลการดำเนินการโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต คือมีไข่ไก่ให้นักเรียนบริโภคอย่างเพียงในโครงการอาหารกลางวัน ซึ่งสามารถปรุงอาหารได้อย่างหลากหลายเมนู นักเรียนชอบรับประทานไข่ในรูปแบบต่างๆ ซึ่งใช้เมนูผักร่วมด้วยในการดำเนินการ ผลลัพธ์
            ๑.นักเรียนมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง
            ๒.เรียนรู้ระบบการทำงานกลุ่ม การเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี         ๓.นักเรียนได้เรียนรู้หลักการขายและการตลาด       ๔.นักเรียนสามารถนำความรู้ไปบูรณาการในชีวิตประจำวัน       ๕.นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต

     

    228 224

    12. การเลี้ยงปลาดุก ครั้งที่ 2 (แทนการเลี้ยงกบ)

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1 . ประชุมชี้แจงย้ำเน้นถึงวัตถุประสงค์ของกิจกรรม ให้ครู นักเรียน ทราบ 2. ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาและชุมชนแจ้งถึงนโยบายการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใส ในกิจกรรมการเลี้ยงปลาดุก 3. มอบหมายครูรับผิดชอบกิจกรรมพร้อมนักเรียนร่วมกับครูเกษตรในโรงเรียน ครูฝ่ายอาหารกลางวัน ครูฝ่ายอนามัยโรงเรียน เพื่อความร่วมมือในการดำเนินงาน 4.จัดทำตามกิจกรรม เลี้ยงปลาดุกในบ่อคอนกรีต จำนวน  ๒  บ่อ 5.นิเทศ กำกับ ติดตาม การดำเนินงานอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ุ6.ประเมินผล / รายงานผลกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการงานอาชีพคือการเลี้ยงปลาดุก มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต 2 นักเรียนยึดหลักการดำเนินงานแบบพอเพียงและสามารถดำเนินการอย่างต่อเนื่องเมื่องบประมาณจากโครงการ 3.ทำงานกลุ่มร่วมกับผู้อื่นได้ มีความรับผิดชอบ อดทน ขยัน 4.นักเรียนสามารถเป็นแกนนำให้ความรู้แก่นักเรียนด้วยกันและนักเรียนของโรงเรียนอื่นๆได้ 5.นักเรียนสุขภาพอนามัยสมบูรณ์แข็งแรง ุ6.โรงเรียนมีเมนูอาหารกลางวันอย่างหลากหลายโดยใช้ปลาดุกที่เลี้ยงในโรงเรียน และเรียนรู้เรื่องการถนอมอาหาร 7.นักเรียนมีความรู้เรื่องหลักการสหกรณ์ในโรงเรียน 8.นักเรียนมีความสุขในการเรียนเพราะได้ฝึกการปฏิบัติจริง 9.คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน ผู้ปกครอง มีส่วนร่วมในการดำเนินการ

     

    221 281

    13. การทำเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมวางแผนการดำเนินงาน จัดทำรายละเอียดการทำเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ ดำเนินการจัดทำเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ ประเมินผลการดำเนินการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีความรู้และสามารถทำเมนูอาหารสุขภาพแบบง่ายๆได้ และสามารถนำไปใช้จริงในชิวิตประจำวัน ชุมชน ผู้ปกครอง เข้าใจและเปลี่ยนแปลงการโภชนาการในทางที่ถูกต้องมากขึ้น นักเรียนมีสุขภาพกายที่สมบูรณ์แข็งแรง

     

    260 167

    14. กิจกรรมการทำความสะอาดโรงเรียน ครั้งที่ 9-10

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมชี้แจงมอบหมายงานให้ครูและนักเรียนแต่ละสี แบ่งเขตทำความสะอาด สถานที่รอบนอก ในห้องเรียน ห้องพิเศษ จัดเตรียมวัสดุ/อุปกรณ์ ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ ติดตามประเมินผล ปรับปรุงพัฒนางาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีจิตสาธารณะ
    มีความรับผิดชอบ
    ทำงานกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี ปฏิบัติตามข้อตกลงของกลุ่มได้ งานสำเร็จในเวลาที่กำหนดให้

     

    274 275

    15. จัดทำเมนูอาหาร Thai School Lunch ครั้งที่ 3

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1ประชุมชี้แจงครูผู้รับผิดชอบครูฝ่ายโภชนาการและอาหารกลางวัน  ครูฝ่ายอนามัย  ผู้ประกอบอาหารในโรงเรียน 2ให้ความรู้ในการจัดทำ 3 ดำเนินการจัดทำเมนูอาหาร Thai  school  lunch
    4  ใช้เมนูประจำวัน 5  นิเทศ กำกับ ติดตามการดำเนินการ ุ6.ปรับปรุงพัฒนา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โรงเรียนมีเมนูอาหารกลางวันที่ไม่ซ้ำ ทำให้นักเรียนไม่เบื่อ
    ส่งผลต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต มีความสุขในการดำเนินชีวิต ชุมชนมีความพึงพอใจในการดำเนินการอาหารกลางวัน

     

    274 7

    16. นำนักเรียน ครู บุคลากร ชุมชน ศึกษาดูงาน รร. บ้านเกาะเสือ

    วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ไม่ได้ดำเนินการตามแผน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ไม่ได้ดำเนินการตามแผน

     

    80 0

    17. คืนดอกเบี้ยเพื่อปิดโครงการ

    วันที่ 4 เมษายน 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คืนดอกเบี้ยธนาคารเพื่อปิดโครงการ

     

    2 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และปฏิบัติจริงเกี่ยวกับงานเกษตรในโรงเรียน มีผลผลิตทางการเกษตรที่ปราศจาก สารพิษ และนำมาประกอบอาหารกลางวันในโรงเรียน
    ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนร้อยละ 80สามารถปลูกผักปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวันได้ 2. นักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้ความสามารถในการเลี้ยงสัตว์เพื่ออาหารกลางวันได้

     

    2 เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดี มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่สมบูรณ์ แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
    ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย - ภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน ไม่เกิน ร้อยละ 10 - ภาวะค่อนข้างผอม และผอม ไม่เกิน ร้อยละ 7 - นักเรียนค่อนข้างเตี้ย และเตี้ย ไม่เกิน ร้อยละ 7 2 นักเรียนร้อยละ 100 ได้ออกกำลังกายสัปดาห์ละ3 วัน วันละ 20 นาที

     

    3 เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้การรวมกลุ่มเพื่อช่วยเหลือกันตามหลักการสหกรณ์นักเรียน
    ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนแกนนำ ร้อยละ 100มีความรู้เรื่องการจัดการสหกรณ์นักเรียน 2. นักเรียนแกนนำร้อยละ 100บริหารจัดการงานสหกรณ์นักเรียนได้ 3. นักเรียนแกนนำร้อยละ 100 ทำงานเป็นทีมได้ 4.นักเรียนทั่วไป ร้อยละ 80 รู้เกี่ยวกับหลักการสหกรณ์กรและการทำงานเป็นทีม

     

    4 เพื่อพัฒนาบุคลากรและนักเรียนในการจัดทำโครงการเด็กไทยแก้มใสอย่างเป็นระบบ
    ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนร้อยละ 80 สามารถปฏิบัติงานเกษตรในโรงเรียนได้ 2. บุคลากรในโรงเรียน ร้อยละ 90 ได้รับการพัฒนาเรื่่องอาหารและโภชนาการ 3. บุคลากรด้านโภชนาการร้อยละ 100 สามารถนำความรู้พัฒนางานอาหารกลางวันได้ 3. โรงเรียนได้รับความร่วมมือจาก อบต. อบจ. ชุมชน ผู้ปกครอง หน่วยงานทางการเกษตรทุกภาคส่วน

     

    5 เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมและการสุขาภิบาลของโรงเรียนบ้านท่าลาด
    ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนและบุคลากรทุกคนของโรงเรียนบ้านท่าลาดร่วมกันทำความสะอาดและจัดการสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนและการดำเนินชีวิตประจำวัน 2. เพื่อส่งเสริม และปลูกฝังจิตสำนึกให้กับนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าลาด

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และปฏิบัติจริงเกี่ยวกับงานเกษตรในโรงเรียน มีผลผลิตทางการเกษตรที่ปราศจาก สารพิษ และนำมาประกอบอาหารกลางวันในโรงเรียน (2) เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดี มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่สมบูรณ์ แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ (3) เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้การรวมกลุ่มเพื่อช่วยเหลือกันตามหลักการสหกรณ์นักเรียน (4) เพื่อพัฒนาบุคลากรและนักเรียนในการจัดทำโครงการเด็กไทยแก้มใสอย่างเป็นระบบ (5) เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมและการสุขาภิบาลของโรงเรียนบ้านท่าลาด

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

    ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านท่าลาด จ.พัทลุง

    รหัสโครงการ ศรร.1412-109 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.20 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

    วันที่เริ่มประเมิน

    1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    (ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    1. การเกษตรในโรงเรียน

    การปลูกผักปลอดสารพิษอย่างหลากหลาย

    ลักษณะเป็นการปลูกพืชแบบผสมผสาน ขั้นตอนมีการเตรียมพื้นที่และปลูกพืช เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายและให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง หลักฐาน ภาพถ่าย แหล่งอ้างอิงคือการรายงานในโครงการในความรับผิดชอบ

    โรงเรียนเห็นประโยชน์และคุณค่าของการเกษตรในโรงเรียนเพราะได้รับผลผลิตเพื่อใช้ในโครงการอาหารกลางวันโดยผ่านกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ซึ่งโรงเรียนตั้งปณิธานว่าต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องเพื่อประโยชน์แก่นักเรียนและบุคคลอื่นๆ ให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริงและเน้นการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    2. สหกรณ์นักเรียน

    สหกรณ์นักเรียนเป็นนวัตกรรมที่ฝึกการรวมกลุ่มของนักเรียน ช่วยเหลือกัน เป็นกิจกรรมที่สอนให้นักเรียนเรียนรู้หลักการผลิต การออม การขาย กำไร ขาดทุน

    จัดกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนให้มีประธาน มีผู้จัดการ มีเลขานุการ มีการให้นักเรียนสมัครเข้าร่วมเป็นสมาชิกตามความสมัครใจเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ถึงหลักการ สหกรณ์
    อ้างอิงจากกิจกรเรียนมสหกรณ์นักเรียน

    โรงเรียนต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องเพราะนักเรียนได้เรียนรู้หลักการสหกรณ์และสามารถบูรณาการไปใช้ในชีวิตประจำวัน

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

    การทำเมนูอาหาร Thai schooliunch เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารอย่างหลากหลายครบทั้งปริมาณและคุณค่าทางโภชนาการ

    ๑.จัดให้ครูได้รับการอบรม ๒.ดำเนินการจัดทำร่วมกับผู้ประกอบอาหาร ๓.นิเทศ กำกับ ติดตาม การดำเนินการ ๔.ประเมินผล

    โรงเรียนต้องดำเนินการ อย่างต่อเนื่องเพราะนักเรียนจะได้มีเมนูอาหารทีหลากหลาย ไม่เบื่อ มีคุณค่าทางโภชนาการ

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

    โรงเรียนเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการอย่างต่อเนื่องเป็นระบบ มีการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง ทดสอบสมรรถภาพทางกาย โดยมีครูที่รับผิดชอบอย่างชัดเจน

    ข้อมูล/สารสนเทศ น้ำหนักและส่วนสูง ข้อมูลการทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียน

    โรงเรียนต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพราะเป็นการเฝ้าระวังและติดตาม ป้องกันการเกิดโรคภัยไข้เจ็บและต้องจัดทำข้อมูลสารสนเทศประกอบการรายงาน

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

    โรงเรียนได้มีการพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน เพราะนักเรียนคือบุคคลที่มีความสำคัญที่สุดในการจัดการศึกษา เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพที่ดี สมบูรณ์ แข็งแรงทั้งทางร่างกายและจิตใจ มีความสุขในการดำเนินชีวิตและโรงเรียนได้ตอบโจทย์การปฏิบัตืตามองค์ประกอบของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับเพชร โครงการเด็กไทยสุขภาพดี เมื่อนักเรียนมีสุขภาพที่ดี สามารถเรียนรู้และปฏิบัติกิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ

    การดำเนินการตามองค์ประกอบของ โครงการเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรและโครงการเด็กไทยสุขภาพดี

    ดำเนินการอย่างต่อเนื่องตามองค์ประกอบ อย่างเข้มแข็งโดยยึด นักเรียนเป็นศูนย์กลาง

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

    โรงเรียนพัฒนาสภาพแวดล้อมให้สะอาด
    สวยงามและปลอดภัยทุกส่วนของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ เน้นการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ฝึกให้นักเรียนและครูร่วมรับผิดชอบเขตสีในการทำความสะอาด ๓สี แบ่งเป็น เขตสีแดง เขตสีเหลือง และเขตสีฟ้า ดำเนินการเป็นประจำและเมื่อดำเนินการเสร็จทีมสภานักเรียนก็ได้ตรวจผลการทำความสะอาดและรายงานหน้าเสาธงทุกๆเช้า

    ประชุมแบ่งเขตสีให้นักเรียนโดยแบ่งให้เท่าๆกันทั้งสามสี มอบหมายครู รับผิดชอบ นักเรียนจะสวมเสื้อสีตามกลุ่มสีที่กำหนด นักเรียนทุกคนต้องลงเขตสี หลักฐานเชิงประจักษ์/ภาพถ่าย/ผลการประเมินการทำความสะอาดที่ทีมสภานักเรียนตรวจ

    ดำเนินการอย่างต่อเนื่องเพื่อฝึกฝนให้นักเรียนมีจิตอาสา มีความรับผิดชอบ รักโรงเรียน และเห็นถึงประโยชน์และความสำคัญของการรักษาความสะอาด การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม จนกลายเป็นการกระทำที่ยั่งยืนและต่อเนื่อง

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

    สุขภาพนักเรียนเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุด นักเรียนที่มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตจะดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข โรงเรียนจึงวางแผนกำหนดนโยบายบริการสุขภาพนักเรียนโดยความร่วมมือจากหน่วยงานโรงพยาบาล สาธารณสุข อสม.และผู้ปกครอง กำหนดช่วงเวลาการบริการสุขภาพเป็นรายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน และรายปีแล้วแต่ประเภทของการบริการ

    จัดทำปฏิทินการบริการสุขภาพนักเรียน มอบหมายผู้รับผิดชอบ ทั้งตัวนักเรียนเองซึ่งสามารถตรวจสุขภาพตนเอง โดยครูอนามัยโรงเรียน ครูประจำชั้น แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ดำเนินการตามปฏิทินซึ่งกำหนดรายละเอียดไว้อย่างชัดเจน เป็นระบบ หลักฐานคือสมุดบัตรสุขภาพนักเรียน ภาพถ่าย บันทึกการเยี่ยมของเจ้าหน้าที่

    โรงเรียนดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ตามปฏิทินและตามเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเฉพาะกิจ โดยเน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

    โรงเรียนได้บูรณาการการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัยสู่หลักสูตรสถานศึกษาและการอบรมหน้าเสาธง การอบรมของครูประจำชั้น ครูประจำวิชาและการดำเนินชีวิตประจำวัน

    ละสภาพจริงเชิงประจักษ์ มีการจัดการองค์ความรู้แบบบูรณาการสู่หลักสูตรสถานศึกษา และสู่การจัดการเรียนการสอน มีหลักฐานคือแผนการจัดการเรียนรู้ ภาพถ่าย เกียรติบัตร

    โรงเรียนมุ่งมั่นพัฒนาการดำเนินการอย่างต่อเนื่องโดยเน้นการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีการวัดและประเมินอย่างต่อเนื่องเป็นระบบ เพื่อปรับปรุงพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพ

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    9. อื่น ๆ

    การพัฒนาสถานศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้และประสานความร่วมมือจากภูมิปัญญาหลากหลายสาขาร่วมให้ความรู้และจัดการเรียนรู้ให้แก่นักเรียน

    จัดทำทะเบียนภูมิปัญญาท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้ และหาประสบการณ์ หลักฐาน ทะเบียนภูมิปัญญาและทะเบียนแหล่งเรียนรู้

    การจัดการศึกษาต้องเน้นให้สังคมมีส่วนร่วมให้หลากหลายสาขาเพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้และประสบการณ์ส่ง เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้

    2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

    1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

    1.1 โรงเรียนเครือข่ายจำนวน10โรงเรียน ได้แก่ 1) โรงเรียนบ้านบางมวง2) โรงเรียนวัดชุมประดิษฐ์3) โรงเรียนบ้านเทพราช4)โรงเรียนวัดท่านางพรหม5)โรงเรียนวัดควนโก6)โรงเรียนอนุบาลเขาชัยสน7) โรงเรียนบ้านไสนายขัน8) โรงเรียนวัดโพธิยาราม 9) โรงเรียนไทยรับวิทยา 23 10)โรงเรียนวัดควนสามโพธิ์

    1.2 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านท่าลาด

    1.3 องค์การบริหารส่วนตำบลควนขนุน

    2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

    สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

    ๑.สภาพพื้นที่โรงเรียนที่กว้างขวาง สะอาด สวยงามและปลอดภัย เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้และบริการชุมชน

    ๒.ทีมงานครูและบุคลากรทางการศึกษาที่เข้มแข็ง รับผิดชอบ มีความรักต่อนักเรียนเป็นกัลยาณมิตร ทุ่มเทมุ่งมั่นในการปฏิบัติงาน มีเป้าหมายร่วมกันในการดำเนินงาน ทำงานอย่างเป็นระบบ

    ๓.ชุมชน ผู้ปกครองคณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาทุกภาคส่วน ร่วมมือและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ และงานสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ

    ๔.มีการนิเทศ ติดตาม การปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ ต่อเนื่อง ช่วยเหลือ ดูแล สร้างขวัญและกำลังใจแก่ครูและบุคลากร ทำให้ปัญหาและสิ่งบั่นทอนหมดไป

    ๕.มีการวัด/ประเมินอย่างเป็นระบบ นำผลสู่การปรับปรุงพัฒนา เน้นการประเมินจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

    3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

    ความเป็นกัลยาณมิตร ความยุติธรรม โปร่งใส ตรวจสอบได้ เป็นกลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและเกิดทีมทำงานที่แข็งแกร่ง
    ส่งผลต่อความสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ

    4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

    กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติจริง และสร้างองค์ความรู้ และบูรณาการสู่การดำเนินชีวิตประจำวัน ทำให้งานสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ
    การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ยึดตัวผู้เรียนเป็นสำคัญ การมีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ส่งผลต่อความสำเร็จอย่างมีคุณภาพ

    5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

    โรงเรียนได้รับความร่วมมือด้วยดีจากผู้ปกครองและชุมชน เพราะโรงเรียนและชุมชนเป็นทั้งผู้ให้และผู้รับ เป็นกัลยณมิตรต่อกัน ร่วมกันจัดการศึกษา ทำให้งานสำเร็จ ลดปัญหา และสิ่งบั่นทอนที่เป็นอุปสรรคต่อการจัดการศึกษา

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

    โรงเรียนบ้านท่าลาด ได้ปลูกผักและผลไม้อย่างหลากหลายและเพียงพอ เช่นผักกินใบกินหัว พืชสมุนไพร เพียงพอต่อการนำไปประกอบอาหารกลางวันและจำหน่าย

    แปลงผัก รูปภาพ

    ดำเนินการอย่างต่อเนื่องเน้นให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริง เพื่อสร้างองค์ความรู้ให้เกิดขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

    โรงเรียนมีการเลี้ยงปลาดุก ไก่ไข่เป็ด เพื่อเป็นอาหารโปรตีน

    จากสภาพจริงเชิงประจักษ์ และจากภาพถ่าย

    ดำเนินการอย่างต่อเนื่องโดยเน้นการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย ที่เกี่ยวข้อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

    มีการเลี้ยงปลาดุก เพื่อให้โปรตีน

    สภาพจริงเชิงประจักษ์ ภาพถ่าย

    ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยเน้นให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริง ระดมความร่วมมือจากทุกฝ่าย วัดผลประเมินอย่างต่อเนื่องเป็นระบบสู่การปรับปรุงพัฒนา

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

    โรงเรียนด้บริการอาหารเช้าแก่นักเรียนฟรีทุกคน

    ข้อมูลเชิงประจักษ์ บันทึกการรับบริการ ของนักเรียน

    ดำเนินการอย่างต่อเนื่องเพื่อช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครอง ส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพที่สมบูรณ์ แข็งแรง เป็นการช่วยเหลือและลดค่าใช้จ่ายของผู้ปกครอง

    5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

    เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม ทุกวัน

    เมนูอาหารกลางวัน

    หลักฐานการจัดซื้ออาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    เด็กประถม 6-12 ปี ได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    เมนูอาหารกลางวัน

    ดำเนินการอย่างต่อเนื่องเพราะส่งผลต่อความเจริญเติบโตของนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    เด็กประถม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    เมนูอาหารกลางวัน

    ดำเนินการอย่างต่อเนื่องเพราะส่งผลต่อความเจริญเติบโตของนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

    โรงเรียนและชุมชนตระหนักถึงพิษร้ายจากอาหารว่าส่งผลกระทบต่อสุขภาพและการเจ็บป่วย จึงร่วมมือในการผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษ

    จากสภาพจริงเชิงประจักษ์ จากการพูดคุย สัมภาษณ์

    โรงเรียนและชุมชนต้องร่วมกันอย่างเข้มแข็งในการผลิตอาหารปลอดสารพิษ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

    สุขภาพกายและจิตที่ดีส่งผลให้คนมีความสุข

    การดำเนินงานตามหลักการของโครงการเด็กไทยแก้มใส

    ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

    4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

    ทำได้ แต่ไม่สมบูรณ์แบบ

    บันทึกเมนูอาหารกลางวัน

    ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องและให้ความรู้แก่ครูและผู้รับผิดชอบ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

     

     

     

    3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

    สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

    ภาวะ2558 1/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/22562 1/12562 1/22562 2/1
    เตี้ย 6.30 6.30% 3.89 3.89% 3.11 3.11% 3.09 3.09% 5.04 5.04% 2.71 2.71% 4.00 4.00% 2.87 2.87% 4.82 4.82% 4.05 4.05% 2.92 2.92% 2.99 2.99% 3.51 3.51% 3.07 3.07% 2.19 2.19% 2.18 2.18% 3.07 3.07%
    เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 11.81 11.81% 10.12 10.12% 8.95 8.95% 6.95 6.95% 10.47 10.47% 6.98 6.98% 11.60 11.60% 10.66 10.66% 10.44 10.44% 10.12 10.12% 8.75 8.75% 10.26 10.26% 10.96 10.96% 8.33 8.33% 5.26 5.26% 5.68 5.68% 6.58 6.58%
    ผอม 1.97 1.97% 3.11 3.11% 7.06 7.06% 1.93 1.93% 1.55 1.55% 1.16 1.16% 2.40 2.40% 1.63 1.63% 0.80 0.80% 1.62 1.62% 2.08 2.08% 2.56 2.56% 1.32 1.32% 3.07 3.07% 7.02 7.02% 4.37 4.37% 3.51 3.51%
    ผอม+ค่อนข้างผอม 6.69 6.69% 8.56 8.56% 15.69 15.69% 8.49 8.49% 8.14 8.14% 7.75 7.75% 6.40 6.40% 6.12 6.12% 7.23 7.23% 5.26 5.26% 7.08 7.08% 5.98 5.98% 7.02 7.02% 7.02 7.02% 12.72 12.72% 10.04 10.04% 10.53 10.53%
    อ้วน 9.06 9.06% 7.78 7.78% 5.88 5.88% 6.95 6.95% 7.75 7.75% 13.57 13.57% 8.40 8.40% 8.57 8.57% 8.84 8.84% 10.12 10.12% 10.42 10.42% 10.26 10.26% 11.84 11.84% 11.84 11.84% 7.46 7.46% 7.42 7.42% 8.33 8.33%
    เริ่มอ้วน+อ้วน 14.57% 14.57% 14.01% 14.01% 12.94% 12.94% 16.22% 16.22% 20.16% 20.16% 15.12% 15.12% 15.60% 15.60% 18.78% 18.78% 19.68% 19.68% 20.65% 20.65% 18.75% 18.75% 18.80% 18.80% 20.18% 20.18% 19.74% 19.74% 14.04% 14.04% 13.54% 13.54% 14.47% 14.47%
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

    นักเรียนเริ่มอ้วนและอ้วนเพิ่มมากขึ้นในบางปีการศึกษา

    เอกสารข้อมูลของฝ่ายอนามัย

    ต้องดูแลช่วยเหลืออย่างเป็นรูปธรรม ต่อเนื่อง และเข้มแข็ง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

    นักเรียนมีภาวะค่อนข้างผอมและผอมแต่ไม่มากนัก แต่เป็นเพราะพันธุกรรม

    ข้อมูลจากฝ่ายอนามันโรงเรียน

    ต้องดูแล ช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องมีกิจกรรมที่ต้องดูแลนักเรียนอย่างใกล้ชิด

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

    นักเรียนดื่มนมทำให้สูงขึ้น การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ลดภาวะข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

    ข้อมูลจากฝ่ายอนามันโรงเรียน

    ต้องดูแล ช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องมีกิจกรรมที่ต้องดูแลนักเรียนอย่างใกล้ชิด

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

    ดูแลเป็นรายบุคคลที่มีภาวะทุพโภชนาการ

    ข้อมูลจากฝ่ายอนามันโรงเรียน

    ต้องดูแลช่วยเหลือนักเรียนทุกคนและอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

    ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา จากการประชุมผู้ปกครอง การเยี่ยมบ้าน เพื่อปรึกษาหารือและร่วมมือกันช่วยเหลือนักเรียน

    บันทึกการประชุม

    ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

    โครงการเด็กไทยแก้มใสเป็นโครงการที่ดี จุดประกายให้โรงเรียนมีพลัง มีกำลังใจเพิ่มมากขึ้นในการดูแลนักเรียน

    ผลการจัดการศึกษา การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆของนักเรียน ผลสัมฤทธิ์ เกียรติบัตร

    โครงการควรมีต่อเนื่อง

    5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

    1.1 โรงเรียนเครือข่ายจำนวน10โรงเรียน ได้แก่ 1) โรงเรียนบ้านบางมวง2) โรงเรียนวัดชุมประดิษฐ์3) โรงเรียนบ้านเทพราช4)โรงเรียนวัดท่านางพรหม5)โรงเรียนวัดควนโก6)โรงเรียนอนุบาลเขาชัยสน7) โรงเรียนบ้านไสนายขัน8) โรงเรียนวัดโพธิยาราม 9) โรงเรียนไทยรับวิทยา 23 10)โรงเรียนวัดควนสามโพธิ์

    1.2 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านท่าลาด

    1.3 องค์การบริหารส่วนตำบลควนขนุน

    หมายเหตุ *

    • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    โรงเรียนบ้านท่าลาด จ.พัทลุง จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ ศรร.1412-109

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุคนธ์ สุระกำแหง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด