ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนบ้านท่าลาด จ.พัทลุง |
สังกัด | ?? |
หน่วยงานต้นสังกัด | ?? |
ที่อยู่โรงเรียน | หมู่ที่ 3 ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง |
จำนวนนักเรียน | 260 คน |
ช่วงชั้น | อนุบาล,ประถม |
ผู้อำนวยการ | นางสุคนธ์ สุระกำแหง |
ครูผู้รับผิดชอบ | นางวิลาวัณย์ สุวรรณวงศ์ |
คืนดอกเบี้ยธนาคารเพื่อปิดโครงการ
ไม่ได้ดำเนินการตามแผน
ไม่ได้ดำเนินการตามแผน
1ประชุมชี้แจงครูผู้รับผิดชอบครูฝ่ายโภชนาการและอาหารกลางวัน ครูฝ่ายอนามัย ผู้ประกอบอาหารในโรงเรียน
2ให้ความรู้ในการจัดทำ
3 ดำเนินการจัดทำเมนูอาหาร Thai school lunch
4 ใช้เมนูประจำวัน
5 นิเทศ กำกับ ติดตามการดำเนินการ
ุ6.ปรับปรุงพัฒนา
โรงเรียนมีเมนูอาหารกลางวันที่ไม่ซ้ำ ทำให้นักเรียนไม่เบื่อ
ส่งผลต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต มีความสุขในการดำเนินชีวิต
ชุมชนมีความพึงพอใจในการดำเนินการอาหารกลางวัน
ประชุมชี้แจงมอบหมายงานให้ครูและนักเรียนแต่ละสี แบ่งเขตทำความสะอาด สถานที่รอบนอก ในห้องเรียน ห้องพิเศษ จัดเตรียมวัสดุ/อุปกรณ์ ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ ติดตามประเมินผล ปรับปรุงพัฒนางาน
นักเรียนมีจิตสาธารณะ
มีความรับผิดชอบ
ทำงานกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี ปฏิบัติตามข้อตกลงของกลุ่มได้
งานสำเร็จในเวลาที่กำหนดให้
ประชุมวางแผนการดำเนินงาน จัดทำรายละเอียดการทำเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ ดำเนินการจัดทำเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ ประเมินผลการดำเนินการ
นักเรียนมีความรู้และสามารถทำเมนูอาหารสุขภาพแบบง่ายๆได้ และสามารถนำไปใช้จริงในชิวิตประจำวัน ชุมชน ผู้ปกครอง เข้าใจและเปลี่ยนแปลงการโภชนาการในทางที่ถูกต้องมากขึ้น นักเรียนมีสุขภาพกายที่สมบูรณ์แข็งแรง
1.ประชุมชี้แจงครูและผู้ที่รับผิดชอบ คณะกรรมการสถานศึกษา ตัวแทนชุมชน ผู้ปกครอง นักเรียนเพื่อทราบถึงวัตถุประสงค์ งบประมาณ ของโครงการ เลี้ยงไก่ไข่
2.มอบหมายผู้รับผิดชอบโครงการประกอบด้วยครูผู้รับผิดชอบงานเกษตร ครูอาหารกลางวัน ครูฝ่ายโภชนาการ และนักเรียนที่รับผิดชอบ
3.จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ พันธ์ไก่ อาหารไก่ วัคซีน ที่ใส่อาหาร น้ำให้ไก่ ระบบการให้แสงสว่าง
4.ดำเนินงานตามแผนที่วางไว้ เลี้ยงไก่ไข่เพื่ออาหารกลางวัน โดยเน้นการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
5.นิเทศ กำกับ ติดตามการดำเนินงาน โดยผู้บริหารสถานศึกษาและผู้ที่ได้รับมอบหมาย
6.ประเมินผลการดำเนินการโครงการ
ผลผลิต คือมีไข่ไก่ให้นักเรียนบริโภคอย่างเพียงในโครงการอาหารกลางวัน ซึ่งสามารถปรุงอาหารได้อย่างหลากหลายเมนู นักเรียนชอบรับประทานไข่ในรูปแบบต่างๆ ซึ่งใช้เมนูผักร่วมด้วยในการดำเนินการ
ผลลัพธ์
๑.นักเรียนมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง
๒.เรียนรู้ระบบการทำงานกลุ่ม การเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
๓.นักเรียนได้เรียนรู้หลักการขายและการตลาด
๔.นักเรียนสามารถนำความรู้ไปบูรณาการในชีวิตประจำวัน
๕.นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต
ไม่มีการดำเนินการ
ไม่มีการดำเนินการ
จัดทำเมนู Thai school lunch ในโครงการอาหารกลางวัน
โรงเรียนมีเมนูอาหารที่มีคุณค่าทางอาหาร ไม่มีความจำเจ มีปริมาณที่เหมาะสมกับสภาพร่างกายของนักเรียน นักเรียนมีความแข็งแรง มีความสุขในการดำเนินชีวิตประจำวัน
1 . ประชุมชี้แจงย้ำเน้นถึงวัตถุประสงค์ของกิจกรรม ให้ครู นักเรียน ทราบ 2. ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาและชุมชนแจ้งถึงนโยบายการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใส ในกิจกรรมการเลี้ยงปลาดุก 3. มอบหมายครูรับผิดชอบกิจกรรมพร้อมนักเรียนร่วมกับครูเกษตรในโรงเรียน ครูฝ่ายอาหารกลางวัน ครูฝ่ายอนามัยโรงเรียน เพื่อความร่วมมือในการดำเนินงาน 4.จัดทำตามกิจกรรม เลี้ยงปลาดุกในบ่อคอนกรีต จำนวน ๒ บ่อ 5.นิเทศ กำกับ ติดตาม การดำเนินงานอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ุ6.ประเมินผล / รายงานผลกิจกรรม
1นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการงานอาชีพคือการเลี้ยงปลาดุก มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต 2 นักเรียนยึดหลักการดำเนินงานแบบพอเพียงและสามารถดำเนินการอย่างต่อเนื่องเมื่องบประมาณจากโครงการ 3.ทำงานกลุ่มร่วมกับผู้อื่นได้ มีความรับผิดชอบ อดทน ขยัน 4.นักเรียนสามารถเป็นแกนนำให้ความรู้แก่นักเรียนด้วยกันและนักเรียนของโรงเรียนอื่นๆได้ 5.นักเรียนสุขภาพอนามัยสมบูรณ์แข็งแรง ุ6.โรงเรียนมีเมนูอาหารกลางวันอย่างหลากหลายโดยใช้ปลาดุกที่เลี้ยงในโรงเรียน และเรียนรู้เรื่องการถนอมอาหาร 7.นักเรียนมีความรู้เรื่องหลักการสหกรณ์ในโรงเรียน 8.นักเรียนมีความสุขในการเรียนเพราะได้ฝึกการปฏิบัติจริง 9.คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน ผู้ปกครอง มีส่วนร่วมในการดำเนินการ
1.ครูประชุมชี้แจงความสำคัญของกิจกรรมการทำความสะอาดโรงเรียน 2.มอบหมายผู้รับผิดชอบกิจกรรม 3.แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มสี มีสีแดง สีฟ้า สีเหลือง และมีครูที่ปรึกษาประจำสี 4. มอบหมายและแบ่งเขตสีให้แต่ละสีทำความสะอาด 5. ติดตามประเมินผลการดำเนินการ
นักเรียนทุกคนได้ร่วมกันทำความสะอาดเขตสี นักเรียนสามารถทำงานกลุ่มได้เป็นอย่างดี มีความรับผิดชอบ โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่สะอาด สวยงาม และปลอดภัย นักเรียนมีพฤติกรรมที่ถาวรสามารถทำความสะอาดที่ที่เป็นสาธารณะและที่บ้านได้
ประชุมชี้แจงครู นักเรียน ผู้ที่เกี่ยวข้องจัดเตรียมสถานที่ เตรียมพันธุ์พืช /วัสดุ ดำเนินการปลูกพืชสมุนไพร บัวบก เสาวรส โหระพา แมงลัก กล้วย อัญชัน ขมิ้น สะระแหน่ ผักชีฝรั่ง ดูแล /จัดเก็บผลผลิต ส่งผลผลิตสู่สหกรณ์ และโครงการอาหารกลางวัน และช่วงปิดภาคเรียนจะนำผลผลิตสู่ชุมชน
นักเรียนมีความรู้เรื่องพืชสมุนไพร สรรพคุณทางยา ทำงานเป็นกลุ่มได้ มีพฤติกรรมจิตอาสาในการทำงาน บูรณาการสู่การเรียนรู้ การทำโครงงาน
ถอนเงินเปิดบัญชี
ถอนเงินที่เปิดบัญชี
ประชุมชี้แจงผู้ที่เกี่ยวข้องถึงวัตถุประสงค์และเป้าหมายของกิจกรรมเพื่อระดมความร่วมมือในการดำเนินการ ดำเนินการเตรียมพื้นที่ เตรียมวัสดุในการปลูกผัก ปลูกผักโดยให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติจริงที่โรงเรียนและที่บ้าน นำผลผลิตเข้าสู่กิจกรรมนักเรียน และโครงการอาหารกลางวัน ติดตามการดำเนินการ
พฤติกรรมของนักเรียนคือการรวมกลุ่มการดำเนินการอย่างต่อเนื่องได้เป็นอย่างดี มีความรับผิดชอบ และนำความรู้และทักษะไปใช้จริงในชีวิตประจำวันทั้งที่บ้านและโรงเรียน
- โรงเรียนได้ประชุมแบ่งกลุ่มนักเรียน ออกเป็น 3 กลุ่มสี คือ สีแดง สีเหลือง สีฟ้า พร้อมกับมอบหมายครูเป็นที่ปรึกษาารรักษา
- จัดแบ่งพื้นที่ในการรักษาความสะอาดให้กับเขตสีต่างๆ ประกอบด้วย อาคารเรียน อาคารประกอบ และบริเวณแวดล้อม
- นักเรียนทำความสะอาดเขตสีทุกวันใช้เวลาตอนเช้าก่อนเข้าแถวเคารพธงชาติ 4.การติดตามการดำเนินงานโดยสารวัตรนักเรียนแบ่งหน้าที่ตรวจสอบการทำความสะอาด 5.รายงานการทำความสะอาดเขตสีหน้าแถวหลังเคารพธงชาติ (เป็นกิจกรรมที่ดำเนินการทุกวัน
1.บริเวณอาคารเรียน อาคารประกอบ บริเวณโรงเรียนสะอาดเรียบร้อย เพราะความร่วมมือของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน 2.นักเรียนมีจิตอาสาและจิตสาธารณะ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ 3.โรงเรียนได้ให้บริการด้านสถานที่ต่อชุมชนและหน่วยงานที่มาขอใช้บริการ เช่นสนามกีฬา ห้องประชุม อาคารอเนกประสงค์ 4.โรงเรียนได้รับเกียรติบัตรและโล่รางวัลในการพัฒนาสภาพแวดล้อมของโรงเรียนจากหน่วยงานต้นสังกัด 5.ชุมชน บุคลากร นักเรียน และผู้ที่เกี่ยวข้องมีความภาคภูมิใจและสำนึกรักสถานศึกษา
เตรียมสถานที่
ให้ความรู้นักเรียน
เตรียมพันธุ์และอาหารปลาดุก
เลี้ยงปลาดุก
นำเข้าสู่กิจกรรมสหกรณ์นักเรียนและโครงการอาหารกลางวัน
นักเรียนมีความรู้และทักษะในการเลี้ยงปลาดุกในบ่อลอย มีพฤติกรรมการทำงานกลุ่มที่ดี มีความรับผิดชอบ ทำงานได้อย่างต่อเนื่อง
ให้ความรู้นักเรียนและผู้ที่เกี่ยวข้อง คณะครู ผู้ปกครอง เตรียมสถานที่ ซื้อเชื้อเห็ด เพาะเห็ด /ดูแลรดน้ำ เก็บเห็ด ส่งสหกรณ์นักเรียน และส่งต่อโครงการอาหารกลางวัน
นักเรียนสามารถดำเนินงานกลุ่มได้เป็นอย่างดี มีความรู้และประสบการณ์ในการเพาะเห็ด การคิดคำนวณต้นทุน ผลผลิต และกำไร
1 ประชุม ชี้แจงผู้ที่เกี่ยวข้อง
2 ,มอบหมายผู้รับผิดชอบการดำเนินการ
3. ส่งบุคลากรเข้ารับการพัฒนา /อบรม
4. ดำเนินการตามกิจกรรม
5 นิเทศ กำกับ ติดตาม และสรุปผลการดำเนินการ
6 ประเมินภาวะโภชนาการนักเรียนทุกคนตาช่วงเวลาที่กำหนด
1 โรงเรียนมีเมนูอาหารกลางวัน Thai school lunch ทำให้มีเมนูอาหารกลางวันที่หลากหลาย
2 อาหารมีปริมาณและคุณค่าทางอาหารอย่างครบถ้วนตามหลักภาวะโภชนาการ
3 นักเรียนไม่เบื่อหน่ายในเมนูอาหารกลางวัน
4 นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่สมบูรณ์ แข็งแรง นำ้หนักและส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด