แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โรงเรียนสำนักสงฆ์ศรีวิชัย
“ โรงเรียนสำนักสงฆ์ศรีวิชัย ”
หมู่ที่ 12 บ้านศรีวิชัย ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสมบูรณ์ ขุนไพชิต
ชื่อโครงการ โรงเรียนสำนักสงฆ์ศรีวิชัย
ที่อยู่ หมู่ที่ 12 บ้านศรีวิชัย ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ ศรร.1413-112 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ต.1
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนสำนักสงฆ์ศรีวิชัย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 12 บ้านศรีวิชัย ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนสำนักสงฆ์ศรีวิชัย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนสำนักสงฆ์ศรีวิชัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนสำนักสงฆ์ศรีวิชัย " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 12 บ้านศรีวิชัย ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ศรร.1413-112 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 168,400.00 บาท จาก โรงเรียนสำนักสงฆ์ศรีวิชัย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 578 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ
- การเกษตรในโรงเรียน
- สหกรณ์นักเรียน
- การจัดการบริหารของโรงเรียน
- การติดตามภาวะโภชนาการ
- การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน
- การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
- การจัดบริการสุขภาพ
- การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย
โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนสำนักสงฆ์ศรีวิชัยจึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้
(สรุปผลการดำเนินงาน ของโครงการฯ ปีที่ 1 พร้อมสถานการณ์ด้านอาหารและโภชนาการของเด็กนักเรียน ก่อน-หลังเข้าร่วมโครงการ และกิจกรรมที่ประสบความสำเร็จที่เห็นผลผลิต ผลลัพธ์ หรือนวัตกรรม อย่างเป็นรูปธรรม ตามข้อมูลในใบสมัครส่วนที่3)
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่ส่งเสริมและพัฒนาการจัดบริการอาหารของโรงเรียนให้มีคุณภาพ และเหมาะสมตามมาตรฐานโภชนาการ และเพิ่มทักษะชีวิต
- เพื่อพัฒนารูปแบบการแก้ปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียนที่มีภาวะอ้วน เตี้ย และผอม
- เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของพ่อแม่ ผู้ปกครองในการดูแลอาหารและสุขภาพที่บ้าน
- เพื่อสร้างกระแส การตื่นตัว ของชุมชนศรีวิชัย และพื้นที่ใกล้เคียง ให้ตระหนักถึงความสำคัญของอาหารและโภชนาการ และสุขภาพของเด็กในวัยเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีสุขภาพดี เติบโตสมวัย มีอารมณ์สติปัญญาที่ดีขึ้น และมีทักษะชีวิตที่สามารถนำไปใช้จริงได้
- โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน
- พ่อแม่ ผู้ปกครอง มีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร
- เกิดกระแสตื่นตัวในชุมชนศรีวิชัย บ้านควนดาน บ้านเกาะยาว และให้ความสำคัญกับอาหารและโภชนาการ และสุขภาพของเด็กวัยเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมอบรมแม่ครัว แกนนำผู้ปกครอง นักเรียน ครู
วันที่ 27 กรกฎาคม 2559 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมครูเพื่อให้เข้าใจเรื่องการคัดกรองนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการไม่สมส่วน
- สำรวจนักเรียนที่มีปัญหาด้านภาวะทุพโภชนาการ
- ทำหนังสือขอเชิญผู้ปกครอง ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำชุมชน ครุอนามัย ครูผู้รับผิดโครงการอาหารกลางวัน แกนนำนักเรียน อย.น้อย
- ดำเนินการประชุมตามแผนที่ได้วางไว้
- สรุปผลการประชุม
- รายงานผลต่อผูู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต = นักเรียนเข้าร่วมทั้งหมด 5 คน ผู้ปกครองเข้าร่วมทั้งหมด 42 คน ครู 8 คน ท้องถิ่น 1 คน และหน่วยงานรัฐ ทั้งหมด 7 คน
ผลลัพธ์ = นักเรียนเข้าร่วม 100% มีความรู้ทักษะสามารถเป็นแกนนำถ่ายทอดให้กับเพื่อนๆได้
= ผู้ปกครองที่เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 100 มีความรู้เข้าใจในการดูแลสุขภาพของลูกหลานของตนเองได้
= ครูที่เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 100 สามารถนำไปบูรณาการเข้ากับเนื้อหาวิชา และนำความรู้ไปปรับใช้เพื่อส่งเสริมให้เกิดผลกับตัวเด็ก
= แม่ครัวร้อยละ 100 นำเทคนิควิธีและเกร็ดความรู้ไปปรับใช้กับการปรุงอาหารที่ดี และมีคุณค่าให้กับนักเรียน
= ตัวแทนชุมชน ที่เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 100 นำความรู้ไปพัฒนาให้คนในชุมชนนเกิดความตระหนักในเรื่องสุขภาพเพิ่มมากขึ้น
40
63
2. กิจกรรมขยายผลสู่โรงเรียนในเครือข่าย 10 โรงเรียน
วันที่ 2 กันยายน 2559 เวลา 09:00 -12.00น. น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดทำหนังสือเชิญประชุมครู-ผู้ปกครองในโรงเรียนเครือข่ายคูหาสัมพันธ์
- ผู้อำนวยการโรงเรียนสำนักสงฆ์ศรีวิชัยได้ชี้แจงความเป็นมาของโครงการ
- ชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ลักษณะการดำเนินงานของโครงการ
- การดูแลสุขภาวะอนามัยของนักเรียนแต่ละโรงเรียนในโรงเรียนเครือข่ายคูหาสัมพันธ์
- ตอบข้อซักถาม พร้อมร่วมแสดงความคิดเห็น
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต = ผู้ปกครองในโรงเรียนเครือข่ายเข้าร่วมทั้งหมด 43 คน
= ครูในโรงเรียนเครือข่ายเข้าร่วมทั้งหมด 14 คน
ผลลัพธ์ = ครูในโรงเรียนเครือข่ายมีความรู้และทักษะไปดำเนินการต่อร้อยละ 100
= ผู้ปกครองในโรงเรียนเครือข่าย มีความรู้และให้ความร่วมมือกับโรงเรียนเครือข่ายในการดำเนินงานโครงการร้อยละ 100
30
57
3. กิจกรรมนักบัญชีน้อย
วันที่ 17 กันยายน 2559 เวลา 08:00-16.30 น.กิจกรรมที่ทำ
การดำเนินกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนโรงเรียนสำนักสงฆ์ศรีวิชัยโดยมีการพัฒนานักเรียน เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในหลักของการทำกิจกรรมสหกรณ์ โดยการดำเนินการมีเนื้อหาสาระหลักที่ต้องเรียนรู้ และฝึกปฎิบัติ มีเนื้อหาสาระ ดังนี้
- ประวัติการสหกรณ์
- ระเบียบว่าด้วยการสหกรณ์นักเรียน
- คณะกรรมการสหกรณ์
- การจัดทำบัญชีสหกรณ์
- ประเภทสหกรณ์
- ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการสหกรณ์
- การบันทึกบัญชีประเภทต่างๆ (ภาคปฎิบัติ)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output) = นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 20 คน
= ครูเข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 3 คน
ผลลัพธ์ (Outcome) = นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในด้านการสหกรณ์ และสามารถนำไปถ่ายทอดให้เพื่อนๆฟังร้อยละ 100
= ครูสามารถนำหลักทฤษฎีไปปรับใช้ในสถานศึกษาต่อไปร้อยละ 100
120
23
4. กิจกรรมไข่แลกผัก
วันที่ 28 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-ทางโรงเรียนได้ซื้อพันธุ์ไก่ไข่ (ไก่รุ่น) มาจำนวน 100 ตัว
-ให้นักเรียนเลี้ยงไก่ไข่ในโรงเรียน
-จัดกิจกรรมผักแลกไข่ โดยเฉพาะเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ
-สนับสนุนให้นักเรียนผู้ปกครองปลูกผักส่วนหนึ่งไว้รับประทานและนำมาแลกไข่เพื่อเพิ่มอาหารโแรตีนให้กับเด็ก
-ให้ความรู้นักเรียนและผู้ปกครอง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต= นักเรียนที่นำไข่มาแลกกับผัก จำนวนร้อยละ 36
= ผู้ปกครองของนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการเข้าร่วมโครงการร้อยละ 100
ผลลัพธ์= มีไข่ไก่ไว้สำหรับให้นักเรียนได้นำผักมาแลกกับทางโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 100
=มีไข่มาปรุงเป็นอหารกลางวันให้กับนักเรียนสัปดาห์ละ 3 วัน
= นักเรียนมีภาวะโภชนาการดีขึ้นร้อยละ 90
146
33
5. ประชุมสัญจร/แลกเปลี่ยนเรียนรู้
วันที่ 13 ตุลาคม 2559 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
มีการประชุมสัญจร/ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยทางศศร. จะจัดพี่เลี้ยงคอยดูแลและให้คำแนะนำเกี่ยวกับการตรวจเอกสารทางการเงินต่างๆ และมีการแก้ไขข้อมูลในระบบออนไลน์ให้ถูกต้องและให้สอดคล้องกัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต = ครูโรงเรียนสำนักสงฆ์ศรีวิชัย จำนวน 5 คน ได้เข้าร่วมการประชุมสัญจร แลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยการบันทึกกิจกรรมและรายงานผลผ่านระบบติดตามออนไลน์
ผลลัพธ์ = ครูผู็เข้าร่วมประชุมมีความรู้ และเกิดความเข้าใจเพิ่มมากขึ้นในการลงข้อมูลติดตามระบบออนไลน์ ร้อยละ 100
2
5
6. นำนักเรียนศึกษาดูงานแหล่งเรียนรู้
วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
นำนักเรียนจำนวน 35 คน เข้าศึกษาดูงานและเรียนรู้ศูนย์สาธิตฝึกอาชีพเศรษฐกิจพอเพียง โดยทางศูนย์ฯได้อธิบายเกี่ยวกับการปลูกผัก การเลี้ยงไก่ฯลฯ และฝึกให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงและมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานการฝึกอาชีพและเศรษฐกิจพอเพียง และมีการบรรยายแนวทางการดำเนินงานในรายละเอียดแต่ละกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต = นักเรียนทั้งหมด 35 คนได้เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 100
= ครูทั้งหมด 4 คน ได้เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 100
ผลลัพธ์ = นักเรียนได้มีความรู้และเทคนิคในด้านเศรษฐกิจพอเพียง ร้อยละ 100
= ครูและนักเรียนสามารถนำความรู้มาปรับใช้ในสถานศึกษา ร้อยละ 100
39
39
7. กิจกรรมอ้วนผอมทำได้ด้วยตนเอง/จัดหาอุปกรณ์การออกกำลังกาย
วันที่ 21 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดหาอุปกรณ์สำหรับออกกำลังกายให้กับนักเรียน เช่น ฮูลาฮูป เชือกกระโดด โดยจะให้ออกกำลังกายในช่วงเช้า หรือในยามว่าง เพื่อให้นักเรียนได้มีสุขภาพที่ดี
- มีการจัดกิจกรรมออกกำลังกายทุกวัน
- ให้ความรู้แก่นักเรียน/ ผู้ปกครอง และชุมชนเกี่ยวกับการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
- อบรมแกนนำในการออกกำลังกาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลลลิต = มีอุปกรณ์ในการออกกำลังกาย ฮูลาฮูปจำนวน 55 ชิ้น เชือกกระโดดจำนวน 17 เส้น
= มีนักเรียนเข้าร่วมออกกำลังกายจำนวน 200 คน
= ผู้ปกครอง และชุมชนเข้าร่วมจำนวน 22 คน
=ครูเข้่าร่วมจำนวน 26 คน
ผลลัพธ์ = ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทุกคนมีความตระหนักในการออกกำลังกายเพือสุขภาพ
= ทำให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีร่สุขภาพางกายที่แข็งแรง สมวัย
146
246
8. กิจกรรมสบายกายสบายใจปลอดภัยในสิ่งแวดล้อม
วันที่ 23 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ ดังนี้ 1.รำละเอียด 40 กก. 2. จุลินทรีย์EM 40 ลิตร 3. กากน้ำตาล 10 ลิตร 4. แกลบ 20 กระสอบ
- จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
- สาธิตให้ความรู้เเก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต = นักเรียน 120 คนได้เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 100
= ครู 26 คน ได้เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 100
= ผู้ปกครอง / ชุมชน 7 คนตามเป้าหมายโครงการ ได้เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 100
= จัดทำวัสดุเหลือใช้จากธรรมชาติในโรงเรียน
ผลลัพธ์ = เด็กและผู้ปกครองมีความตระหนักในการดูแลเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อม
= เด็กนักเรียนมีรายได้เสริมจากการทำกิจกรรม
= ใช้วัสดุเหลือใช้ให้เกิดประโยชน์ซึ่งปราศจากสารเคมี และรู้จักการรักษาสิง่แวดล้อม
148
151
9. เพิ่มพันธุ์ไก่
วันที่ 24 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ได้ซื้อพันธุ์ไก่ไข่รุ่น เพิ่มจำนวน 50 ตัว เพื่อทดแทนไก่ที่ได้จำหน่ายออกไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต= มีไก่รุ่นมมาทดแทนไก่ที่จำหน่ายออกไปจำนวน 50ตัว
ผลลัพธ์ = นักเรียนมีไข่ไก่ไว้รับประทานในโครงการอาหารกลางวันเพิ่มขึ้นร้อยละ 100
9
15
10. ซ่อมแซมคอกไก่ (ปรับปรุงระบบน้ำ)
วันที่ 24 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดเตรียมซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการปรับปรุงระบบน้ำจำนวน 10 จุด ภายในคอกไก่
ครู บุคลากร ผู้ปกครองและนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมจัดซ่อมคอกไก่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต = ครู ผู้ปกครองบุคลากร และนักเรียน จำนวน 17 คน ร่วมกันซ่อมแซมระบบน้ำภายในคอกไก่ ที่ชำรุด
ผลลัพธ์ = ได้ระบบน้ำภายในคอกไก่พร้อมในการใช้งานได้ อันที่ชำรุดก็ได้ซ่อมแซมให้ใช้งานได้
=นักเรียนได้ความรู้ทักษะในการจัดทำระบบน้ำภายในคอกไก่
=มีความสามัคคีและมีส่วนร่วมในการดำเนินงานระหว่างโรงเรียนและผู้ปกครอง
12
17
11. กิจกรรมบริการสุขภาพดี ชีวีมีสุข
วันที่ 24 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-จัดซื้ออุปกรณ์ ดังนี้ 1. น้ำผึ้งรวง 2. ไข่ไก่พื้นเมือง 3. เบียร์ 4. จุลินทรีย์ EM
-อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพอนามัยตนเอง
-จัดกิจกรรมทำความสะอาดตนเอง
-กิจกรรมกำจัดเหา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต = ทำสมุนไพรการทำความสะอาดร่างกาย กำจัดเหา
= ผลิตภัณฑ์ขัดผิวในการขัดขี้ไคลนักเรียน
= นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม 60 คน
= นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม 5 คน
ผลลัพธ์ = นักเรียนได้มีของใช้ที่ปลอดจากสารพิษ สารเคมี
= นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลร้อยละ 100
63
67
12. ปลูกผักไร้ดิน
วันที่ 24 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-จัดซื้ออุปกรณ์ในการปลูกผักไร้ดิน 1.ท่อปลูก 2.ถังเก็บน้ำ 3.ท่อPVC ขนาด 2 หุน 4. ท่อPVC ขนาด 4 หุน 5.ปุ๋ย 6. เมล็ดพืช 7. สายยาง 8. พลาสติกคลุมกันฝน 9.ชุดฟองน้ำสำหรับเพาะ
= ให้ความรู้้แก่ครู ผู้ปกครอง และนักเรียนที่เข้าร่วมทำกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต = นักเรียนจำนวน 50 คน เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 100
= ครูจำนวน 5 คน เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ ๅ100
= ผู้ปกครองจำนวน 8 คน เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 100
= ทางโรงเรียนต้องการปลูกผักไร้ดินไว้สำหรับนักเรียน 1 โรงเรือน
ผลลัพธ์ = มีผักที่ปลอดสารพิษ เฉลี่ยวันละ 10 กิโลกรัม
= นักเรียนได้บริโภทผักที่ปลอดสารพิษ
26
63
13. แบบพิมพ์ / สมุดบันทึกรายรับ รายจ่าย
วันที่ 29 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดทำแบบพิมพ์ รายรับ รายจ่าย ให้กับนักเรียน เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักการบันทึกรายจ่ายของตนเอง
- อบรมให้ความรู้ในการจัดทำบัญชีรายรับ รายจ่าย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต = นักเรียนจำนวน 200 คน มีสมุดบันทึกรายรับ รายจ่ายของตนเอง
= ครูจำนวน 24 คน ได้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้ในการจัดทำบัญชีรายรับ /รายจ่ายของนักเรียน
ผลลัพธ์ = เด็กมีวินัยในการใช้เงินของตนเอง
= นักเรียนรู้จักการประหยัดค่าใช้จ่าย
= เด็กมีความรู้ในการทำบัญชีรายรับ รายจ่ายของตนเอง
224
224
14. ถอนเงินเปิดบัญชี
วันที่ 31 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ถอนเงินค่าเปิดบัญชีโครงการจำนวน 500 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต = ถอนเงินค่าเปิดบัญชีโครงการ
ผลลัพธ์ = ได้เงินค่าเปิดบัญชีโครงการเด็กไทยแก้มใส จำนวน 500 บาท
0
2
15. ประชุมติดตามการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 2
วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
เข้าร่วมประชุมปฏิบัติการจัดทำรายงานสรุปการเงินปิดโครงการงวดที่ 2 และรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ แบบออนไลน์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต = เข้าร่วมประชุมการจัดทำรายงานปิดโครงการงวดที่ 2
ผลลัพธ์ = จัดทำรายงานให้เป็นระบบและลงในระบบออนไลน์ให้ถูกต้อง
2
2
16. คืนเงินประชุมสัญจร
วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ทางโครงการจะจัดกิจกรรมประชุมสัญจรครั้งที่ 1 ณ โรงเรียนสำนักสงฆ์ศรีวิชัย (เจ้าภาพ) ได้เลื่อนออกไปก่อน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คืนเงินประชุมสัญจร 48,400 บาท
2
2
17. คืนเงิน ดอกเบี้ย
วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
คืนเงินดอกเบี้ยในสมุดบัญชีธนาคารที่ทางโรงเรียนได้เปิดบัญชีโครงการเด็กไทยแก้มใสไว้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คืนดอกเบี้ย จำนวน 87.83 บาทให้กลับโครงการ
0
2
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่ส่งเสริมและพัฒนาการจัดบริการอาหารของโรงเรียนให้มีคุณภาพ และเหมาะสมตามมาตรฐานโภชนาการ และเพิ่มทักษะชีวิต
ตัวชี้วัด : 1. โรงเรียนจัดเมนูอาหารหมุนเวียนรายเดือนตามโปรแกรม TSL
2.แม่ครัวมีความรู้และสามารถตักอาหารให้นักเรียนที่เหมาะสมกับนักเรียนแต่ละกลุ่มชั้นเรียน
3.โรงครัวและสถานที่รับประทานอาหารของเด็กถูกหลักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
2
เพื่อพัฒนารูปแบบการแก้ปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียนที่มีภาวะอ้วน เตี้ย และผอม
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนที่มีภาวะอ้วน และผอม ได้รับการจัดรูปแบบอาหารกลางวันให้เหมาะสมเพื่อแก้ัปัญหาทุพโภชนาการของเด็กเป็นรายบุคคล
2. โรงเรียนมีระบบการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของนักเรียนทุกคน
3. นักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกิน 9%
3
เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของพ่อแม่ ผู้ปกครองในการดูแลอาหารและสุขภาพที่บ้าน
ตัวชี้วัด : พ่อแม่ ผู้ปกครองและนักเรียนได้รับการอบรมในการปรับพฤติกรรมการบริโภคและการจัดการอาหารและสุขภาพให้ถูกต้อง
4
เพื่อสร้างกระแส การตื่นตัว ของชุมชนศรีวิชัย และพื้นที่ใกล้เคียง ให้ตระหนักถึงความสำคัญของอาหารและโภชนาการ และสุขภาพของเด็กในวัยเรียน
ตัวชี้วัด : ชุมชนศรีวิชัยและพื้นที่ใกล้เคียง จัดบริการอาหารตามหลักโภชนาการ
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โรงเรียนสำนักสงฆ์ศรีวิชัย จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ ศรร.1413-112
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสมบูรณ์ ขุนไพชิต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โรงเรียนสำนักสงฆ์ศรีวิชัย
“ โรงเรียนสำนักสงฆ์ศรีวิชัย ”
หมู่ที่ 12 บ้านศรีวิชัย ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลาหัวหน้าโครงการ
นายสมบูรณ์ ขุนไพชิต
ชื่อโครงการ โรงเรียนสำนักสงฆ์ศรีวิชัย
ที่อยู่ หมู่ที่ 12 บ้านศรีวิชัย ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ ศรร.1413-112 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ต.1
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนสำนักสงฆ์ศรีวิชัย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 12 บ้านศรีวิชัย ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนสำนักสงฆ์ศรีวิชัย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนสำนักสงฆ์ศรีวิชัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนสำนักสงฆ์ศรีวิชัย " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 12 บ้านศรีวิชัย ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ศรร.1413-112 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 168,400.00 บาท จาก โรงเรียนสำนักสงฆ์ศรีวิชัย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 578 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ
- การเกษตรในโรงเรียน
- สหกรณ์นักเรียน
- การจัดการบริหารของโรงเรียน
- การติดตามภาวะโภชนาการ
- การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน
- การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
- การจัดบริการสุขภาพ
- การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย
โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนสำนักสงฆ์ศรีวิชัยจึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้
(สรุปผลการดำเนินงาน ของโครงการฯ ปีที่ 1 พร้อมสถานการณ์ด้านอาหารและโภชนาการของเด็กนักเรียน ก่อน-หลังเข้าร่วมโครงการ และกิจกรรมที่ประสบความสำเร็จที่เห็นผลผลิต ผลลัพธ์ หรือนวัตกรรม อย่างเป็นรูปธรรม ตามข้อมูลในใบสมัครส่วนที่3)
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่ส่งเสริมและพัฒนาการจัดบริการอาหารของโรงเรียนให้มีคุณภาพ และเหมาะสมตามมาตรฐานโภชนาการ และเพิ่มทักษะชีวิต
- เพื่อพัฒนารูปแบบการแก้ปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียนที่มีภาวะอ้วน เตี้ย และผอม
- เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของพ่อแม่ ผู้ปกครองในการดูแลอาหารและสุขภาพที่บ้าน
- เพื่อสร้างกระแส การตื่นตัว ของชุมชนศรีวิชัย และพื้นที่ใกล้เคียง ให้ตระหนักถึงความสำคัญของอาหารและโภชนาการ และสุขภาพของเด็กในวัยเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีสุขภาพดี เติบโตสมวัย มีอารมณ์สติปัญญาที่ดีขึ้น และมีทักษะชีวิตที่สามารถนำไปใช้จริงได้
- โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน
- พ่อแม่ ผู้ปกครอง มีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร
- เกิดกระแสตื่นตัวในชุมชนศรีวิชัย บ้านควนดาน บ้านเกาะยาว และให้ความสำคัญกับอาหารและโภชนาการ และสุขภาพของเด็กวัยเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมอบรมแม่ครัว แกนนำผู้ปกครอง นักเรียน ครู |
||
วันที่ 27 กรกฎาคม 2559 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต = นักเรียนเข้าร่วมทั้งหมด 5 คน ผู้ปกครองเข้าร่วมทั้งหมด 42 คน ครู 8 คน ท้องถิ่น 1 คน และหน่วยงานรัฐ ทั้งหมด 7 คน
|
40 | 63 |
2. กิจกรรมขยายผลสู่โรงเรียนในเครือข่าย 10 โรงเรียน |
||
วันที่ 2 กันยายน 2559 เวลา 09:00 -12.00น. น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต = ผู้ปกครองในโรงเรียนเครือข่ายเข้าร่วมทั้งหมด 43 คน
= ครูในโรงเรียนเครือข่ายเข้าร่วมทั้งหมด 14 คน
|
30 | 57 |
3. กิจกรรมนักบัญชีน้อย |
||
วันที่ 17 กันยายน 2559 เวลา 08:00-16.30 น.กิจกรรมที่ทำการดำเนินกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนโรงเรียนสำนักสงฆ์ศรีวิชัยโดยมีการพัฒนานักเรียน เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในหลักของการทำกิจกรรมสหกรณ์ โดยการดำเนินการมีเนื้อหาสาระหลักที่ต้องเรียนรู้ และฝึกปฎิบัติ มีเนื้อหาสาระ ดังนี้ - ประวัติการสหกรณ์ - ระเบียบว่าด้วยการสหกรณ์นักเรียน - คณะกรรมการสหกรณ์ - การจัดทำบัญชีสหกรณ์ - ประเภทสหกรณ์ - ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการสหกรณ์ - การบันทึกบัญชีประเภทต่างๆ (ภาคปฎิบัติ) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output) = นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 20 คน = ครูเข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 3 คน ผลลัพธ์ (Outcome) = นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในด้านการสหกรณ์ และสามารถนำไปถ่ายทอดให้เพื่อนๆฟังร้อยละ 100 = ครูสามารถนำหลักทฤษฎีไปปรับใช้ในสถานศึกษาต่อไปร้อยละ 100
|
120 | 23 |
4. กิจกรรมไข่แลกผัก |
||
วันที่ 28 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ-ทางโรงเรียนได้ซื้อพันธุ์ไก่ไข่ (ไก่รุ่น) มาจำนวน 100 ตัว ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต= นักเรียนที่นำไข่มาแลกกับผัก จำนวนร้อยละ 36 = ผู้ปกครองของนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการเข้าร่วมโครงการร้อยละ 100 ผลลัพธ์= มีไข่ไก่ไว้สำหรับให้นักเรียนได้นำผักมาแลกกับทางโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 100 =มีไข่มาปรุงเป็นอหารกลางวันให้กับนักเรียนสัปดาห์ละ 3 วัน = นักเรียนมีภาวะโภชนาการดีขึ้นร้อยละ 90
|
146 | 33 |
5. ประชุมสัญจร/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ |
||
วันที่ 13 ตุลาคม 2559 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำมีการประชุมสัญจร/ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยทางศศร. จะจัดพี่เลี้ยงคอยดูแลและให้คำแนะนำเกี่ยวกับการตรวจเอกสารทางการเงินต่างๆ และมีการแก้ไขข้อมูลในระบบออนไลน์ให้ถูกต้องและให้สอดคล้องกัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต = ครูโรงเรียนสำนักสงฆ์ศรีวิชัย จำนวน 5 คน ได้เข้าร่วมการประชุมสัญจร แลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยการบันทึกกิจกรรมและรายงานผลผ่านระบบติดตามออนไลน์ ผลลัพธ์ = ครูผู็เข้าร่วมประชุมมีความรู้ และเกิดความเข้าใจเพิ่มมากขึ้นในการลงข้อมูลติดตามระบบออนไลน์ ร้อยละ 100
|
2 | 5 |
6. นำนักเรียนศึกษาดูงานแหล่งเรียนรู้ |
||
วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำนำนักเรียนจำนวน 35 คน เข้าศึกษาดูงานและเรียนรู้ศูนย์สาธิตฝึกอาชีพเศรษฐกิจพอเพียง โดยทางศูนย์ฯได้อธิบายเกี่ยวกับการปลูกผัก การเลี้ยงไก่ฯลฯ และฝึกให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงและมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานการฝึกอาชีพและเศรษฐกิจพอเพียง และมีการบรรยายแนวทางการดำเนินงานในรายละเอียดแต่ละกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต = นักเรียนทั้งหมด 35 คนได้เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 100 = ครูทั้งหมด 4 คน ได้เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 100 ผลลัพธ์ = นักเรียนได้มีความรู้และเทคนิคในด้านเศรษฐกิจพอเพียง ร้อยละ 100 = ครูและนักเรียนสามารถนำความรู้มาปรับใช้ในสถานศึกษา ร้อยละ 100
|
39 | 39 |
7. กิจกรรมอ้วนผอมทำได้ด้วยตนเอง/จัดหาอุปกรณ์การออกกำลังกาย |
||
วันที่ 21 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลลลิต = มีอุปกรณ์ในการออกกำลังกาย ฮูลาฮูปจำนวน 55 ชิ้น เชือกกระโดดจำนวน 17 เส้น = มีนักเรียนเข้าร่วมออกกำลังกายจำนวน 200 คน = ผู้ปกครอง และชุมชนเข้าร่วมจำนวน 22 คน =ครูเข้่าร่วมจำนวน 26 คน ผลลัพธ์ = ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทุกคนมีความตระหนักในการออกกำลังกายเพือสุขภาพ = ทำให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีร่สุขภาพางกายที่แข็งแรง สมวัย
|
146 | 246 |
8. กิจกรรมสบายกายสบายใจปลอดภัยในสิ่งแวดล้อม |
||
วันที่ 23 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต = นักเรียน 120 คนได้เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 100
= ครู 26 คน ได้เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 100
= ผู้ปกครอง / ชุมชน 7 คนตามเป้าหมายโครงการ ได้เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 100
|
148 | 151 |
9. เพิ่มพันธุ์ไก่ |
||
วันที่ 24 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำได้ซื้อพันธุ์ไก่ไข่รุ่น เพิ่มจำนวน 50 ตัว เพื่อทดแทนไก่ที่ได้จำหน่ายออกไป ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต= มีไก่รุ่นมมาทดแทนไก่ที่จำหน่ายออกไปจำนวน 50ตัว ผลลัพธ์ = นักเรียนมีไข่ไก่ไว้รับประทานในโครงการอาหารกลางวันเพิ่มขึ้นร้อยละ 100
|
9 | 15 |
10. ซ่อมแซมคอกไก่ (ปรับปรุงระบบน้ำ) |
||
วันที่ 24 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดเตรียมซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการปรับปรุงระบบน้ำจำนวน 10 จุด ภายในคอกไก่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต = ครู ผู้ปกครองบุคลากร และนักเรียน จำนวน 17 คน ร่วมกันซ่อมแซมระบบน้ำภายในคอกไก่ ที่ชำรุด ผลลัพธ์ = ได้ระบบน้ำภายในคอกไก่พร้อมในการใช้งานได้ อันที่ชำรุดก็ได้ซ่อมแซมให้ใช้งานได้ =นักเรียนได้ความรู้ทักษะในการจัดทำระบบน้ำภายในคอกไก่ =มีความสามัคคีและมีส่วนร่วมในการดำเนินงานระหว่างโรงเรียนและผู้ปกครอง
|
12 | 17 |
11. กิจกรรมบริการสุขภาพดี ชีวีมีสุข |
||
วันที่ 24 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ-จัดซื้ออุปกรณ์ ดังนี้ 1. น้ำผึ้งรวง 2. ไข่ไก่พื้นเมือง 3. เบียร์ 4. จุลินทรีย์ EM -อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพอนามัยตนเอง -จัดกิจกรรมทำความสะอาดตนเอง -กิจกรรมกำจัดเหา ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต = ทำสมุนไพรการทำความสะอาดร่างกาย กำจัดเหา
|
63 | 67 |
12. ปลูกผักไร้ดิน |
||
วันที่ 24 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ-จัดซื้ออุปกรณ์ในการปลูกผักไร้ดิน 1.ท่อปลูก 2.ถังเก็บน้ำ 3.ท่อPVC ขนาด 2 หุน 4. ท่อPVC ขนาด 4 หุน 5.ปุ๋ย 6. เมล็ดพืช 7. สายยาง 8. พลาสติกคลุมกันฝน 9.ชุดฟองน้ำสำหรับเพาะ = ให้ความรู้้แก่ครู ผู้ปกครอง และนักเรียนที่เข้าร่วมทำกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต = นักเรียนจำนวน 50 คน เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 100 = ครูจำนวน 5 คน เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ ๅ100 = ผู้ปกครองจำนวน 8 คน เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 100 = ทางโรงเรียนต้องการปลูกผักไร้ดินไว้สำหรับนักเรียน 1 โรงเรือน ผลลัพธ์ = มีผักที่ปลอดสารพิษ เฉลี่ยวันละ 10 กิโลกรัม
= นักเรียนได้บริโภทผักที่ปลอดสารพิษ
|
26 | 63 |
13. แบบพิมพ์ / สมุดบันทึกรายรับ รายจ่าย |
||
วันที่ 29 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต = นักเรียนจำนวน 200 คน มีสมุดบันทึกรายรับ รายจ่ายของตนเอง
= ครูจำนวน 24 คน ได้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้ในการจัดทำบัญชีรายรับ /รายจ่ายของนักเรียน
|
224 | 224 |
14. ถอนเงินเปิดบัญชี |
||
วันที่ 31 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำถอนเงินค่าเปิดบัญชีโครงการจำนวน 500 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต = ถอนเงินค่าเปิดบัญชีโครงการ ผลลัพธ์ = ได้เงินค่าเปิดบัญชีโครงการเด็กไทยแก้มใส จำนวน 500 บาท
|
0 | 2 |
15. ประชุมติดตามการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 2 |
||
วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการจัดทำรายงานสรุปการเงินปิดโครงการงวดที่ 2 และรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ แบบออนไลน์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต = เข้าร่วมประชุมการจัดทำรายงานปิดโครงการงวดที่ 2 ผลลัพธ์ = จัดทำรายงานให้เป็นระบบและลงในระบบออนไลน์ให้ถูกต้อง
|
2 | 2 |
16. คืนเงินประชุมสัญจร |
||
วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำทางโครงการจะจัดกิจกรรมประชุมสัญจรครั้งที่ 1 ณ โรงเรียนสำนักสงฆ์ศรีวิชัย (เจ้าภาพ) ได้เลื่อนออกไปก่อน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคืนเงินประชุมสัญจร 48,400 บาท
|
2 | 2 |
17. คืนเงิน ดอกเบี้ย |
||
วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำคืนเงินดอกเบี้ยในสมุดบัญชีธนาคารที่ทางโรงเรียนได้เปิดบัญชีโครงการเด็กไทยแก้มใสไว้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคืนดอกเบี้ย จำนวน 87.83 บาทให้กลับโครงการ
|
0 | 2 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่ส่งเสริมและพัฒนาการจัดบริการอาหารของโรงเรียนให้มีคุณภาพ และเหมาะสมตามมาตรฐานโภชนาการ และเพิ่มทักษะชีวิต ตัวชี้วัด : 1. โรงเรียนจัดเมนูอาหารหมุนเวียนรายเดือนตามโปรแกรม TSL 2.แม่ครัวมีความรู้และสามารถตักอาหารให้นักเรียนที่เหมาะสมกับนักเรียนแต่ละกลุ่มชั้นเรียน 3.โรงครัวและสถานที่รับประทานอาหารของเด็กถูกหลักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ |
||||
2 | เพื่อพัฒนารูปแบบการแก้ปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียนที่มีภาวะอ้วน เตี้ย และผอม ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนที่มีภาวะอ้วน และผอม ได้รับการจัดรูปแบบอาหารกลางวันให้เหมาะสมเพื่อแก้ัปัญหาทุพโภชนาการของเด็กเป็นรายบุคคล 2. โรงเรียนมีระบบการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของนักเรียนทุกคน 3. นักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกิน 9% |
||||
3 | เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของพ่อแม่ ผู้ปกครองในการดูแลอาหารและสุขภาพที่บ้าน ตัวชี้วัด : พ่อแม่ ผู้ปกครองและนักเรียนได้รับการอบรมในการปรับพฤติกรรมการบริโภคและการจัดการอาหารและสุขภาพให้ถูกต้อง |
||||
4 | เพื่อสร้างกระแส การตื่นตัว ของชุมชนศรีวิชัย และพื้นที่ใกล้เคียง ให้ตระหนักถึงความสำคัญของอาหารและโภชนาการ และสุขภาพของเด็กในวัยเรียน ตัวชี้วัด : ชุมชนศรีวิชัยและพื้นที่ใกล้เคียง จัดบริการอาหารตามหลักโภชนาการ |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โรงเรียนสำนักสงฆ์ศรีวิชัย จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ ศรร.1413-112
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสมบูรณ์ ขุนไพชิต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......