แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านบางครั่ง จ.พังงา


“ โรงเรียนบ้านบางครั่ง จ.พังงา ”

125 หมู่ที่ 3 ตำบลบางวัน อำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา

หัวหน้าโครงการ
นางบุญศิริ ชูพงศ์

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านบางครั่ง จ.พังงา

ที่อยู่ 125 หมู่ที่ 3 ตำบลบางวัน อำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา จังหวัด พังงา

รหัสโครงการ ศรร.1412-098 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ต.15

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านบางครั่ง จ.พังงา จังหวัดพังงา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 125 หมู่ที่ 3 ตำบลบางวัน อำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านบางครั่ง จ.พังงา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านบางครั่ง จ.พังงา



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านบางครั่ง จ.พังงา " ดำเนินการในพื้นที่ 125 หมู่ที่ 3 ตำบลบางวัน อำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา รหัสโครงการ ศรร.1412-098 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านบางครั่ง จ.พังงา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 222 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ

สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียน บ้านบางครั่ง จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้

โรงเรียนบ้านบางครั่งได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ ความจำเป็นของสภาวะโภชนากาการ ทั้งภาวะขาดและเกินของนักเรียนจึงจัดทำโครงการเด็กไทยแก้มใสขึ้นมา เพื่อลดภาวะปัญหาโภชนาการและสุขภาพนักเรียน และเพื่อให้ครูและนักเรียนมีความรู้และแนวทางในการจัดการส่งเสริมสุขภาพ และพัฒนาการของนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการมีส่วนร่วมกับชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการสนับสนุนพัฒนาโรงเรียน สร้างกระบวนการประเมิน ติดตาม และเฝ้าระวัง แก้ปัญหา การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการระยะยาว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านบางครั่งมีภาวะโภชนาการที่ดี และเจริญเติบโตตามวัย
  2. เพื่อให้โรงเรียนบ้านบางครั่งเป็นโรงเรียนศูนย์เรียนรู้ต้นแบบ ในโครงการเด็กไทยแก้มใส
  3. เพื่อพัฒนาส่งเสริมด้านสุขอนามัยนักเรียน บุคลากร ผู้ปกครอง ชุมชน แก่ภาคีเครือข่ายโรงเรียนในตำบลบางวัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสม และเจริญเติบโตตามวัย
    2.โรงเรียนสามารถเป็นต้นแบบการทำโครงการเด็กไทยแก้มใส สำหรับภาคีเครือข่าย
    3.ผู้ปกครองและชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมตามโครงการเด็กไทยแก้มใส


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมการปลูกผัก และการเลี้ยงสัตว์

    วันที่ 21 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ลงทะเบียนผู้เข้าอบรม
    2. วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงปลา (ปลาดุก ปลานิล ปลาทับทิม)ในบ่อ
    3. วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงสัตว์ปีก ( การเลี่ยงไก้ไข่ เลี้ยงเป็ด) ในลานโล่ง
    4. วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวการกับปลูกผักบนดิน และการปลูกผักไร้ดิน (การปลูกผักโฮโรโปนิก)
    5. วิทยากรสาธิตการทำปุ๋ยหมักโดยการการใช้อินทรีย์จากพืชและสัตว์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงปลาดุก ปลานิล ปลาทับทิม เป็นเรื่องที่นักเรียนจะต้องรู้และเข้าใจกระบวนการในการเลี้ยง เช่านการคัดเลือกพันธุ์ปลาที่จะเลี้ยง จำนวนปลาที่จะเลี้ยงตามขนาดของบ่อ การให้อาหารปลาระยะปลาขนาดเล็ก ขนากลาง ขนาใหญ่ การดูแลรักษา เช่น การเปลี่ยนน้ำถ่ายน้ำเมื่อน้ำข้น การนำประโยชน์ของน้ำในบ่อปลาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อพืชผัก  การปลูกพืชผักรอบบ่อเลี้ยงปลา การคิดราคาต้นทุนในการเลี้ยงปลา การจัดหาตลาดในการจำหน่ายปลา การจัดทำเมนูอาหารจากปลาที่เลี้ยง และประโยชน์จากอาหารเมนูปลา 2.ความรู้ในการเลี้ยงสัตว์ปีก คือเลี้ยงไก่ไข่ เลี้ยงเป็ด เป็นเรื่องที่ต้องศึกษา วิธีการเลี้ยงที่ถูกต้อง ใช้บริบทสถานที่ที่มีในบริเวณ ในการจัดเลี้ยง เน้นการเลี้ยงเพื่อบริโภค เหลือบริโภคจึงจำหน่าย การคิดต้นทุนในการบริหารจัดการเมื่อจะดำเนินการในเชิงธุระกิจ การศึกษาวิธีการให้อาหาร การดูแลรักษา ให้ไก้ผลิตไข่อย่างต่อเนื่อง การจัดทำเมนูไข่ เพื่ออาหารในการบริโภค
      3.การให้ความเกี่ยวกับการปลูกพืช บนดิน การเลือกชนิดของพืชที่นำมาปลูก เพื่อให้มีกิน มีจำหน่ายอย่างต่อเนื่อง การดูแลรักษา ให้พืชมีผลผลิตอย่างต่อเนื่อง  ประโยชน์ของการบริโภคพืชที่ปลูกเอง กินเอง ไร้สารพิษตกค้าง โทษของของการบริโภคพืชผักสวนครัวที่มีสารตกค้าง การจัดทำเมนูอาหารจากพืชผักที่ปลูกเอง
    2. ประโยชน์ของการผลิตปุ๋ยหมักเอง  การนำปุ๋ยหมักไปใช้ในการบำรุงดูแลรักษาพืชชนิดต่างๆ การนำปุ๋ยหมักไปใช้ในการปลูกพืชชนิดต่าง     จากการดำเนินการอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนคณะครูบุคลากร ผู้ปกครอง หน่วยงานองค์กรต่างๆ บุคคลดังกล่าวได้นำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติ ในชีวิตประจำวัน ดำเนินการปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ ทำปุ๋ยใช้เอง ทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน ทำให้ครอบครัวมีความสุขกับการบริโภคอาหารที่ปราศจากสารพิษตกค้าง และเป็นการประหยัด ลดรายจ่ายภายในครอบครัวได้มากขึ้น นักเรียนในโรงเรียนมีเงินออมมากขึ้น นักเรียนได้ทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ นักเรียนมีพฤติกรรมที่ดี มีความรับผิดชอบ มุ่งตั้งใจในการทำงาน เห็นคุณค่าในการดำเนินการจากการที่ได้ความรู้มาปฏิบัติ จนประสบความสำเร็จ เกิดความภาคภูมิใจในการดำเนินงานที่ตนเองปฏิบัติ

     

    144 130

    2. จัดทำเกษตรสวนผสม

    วันที่ 6 สิงหาคม 2559 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมมอบหมายฐานกิจกรรมให้นักเรียน ครูประจำชั้น รับผิดชอบกิจกรรมฐาน
    2. จัดการเรียนการสอนวิธีการปฏิบัติการเกษตรในโรงเรียน โดยครูประจำวิชา
    3. ดำเนินการปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ในชั่วโมงลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
    4. ดูแล บำรุงรักษา เก็บเกี่ยวผลผลิต ในชั่วโมงลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
    5. จำหน่ายผลผลิตกับสหกรณ์โรงเรียน
    6. อาหารกลางซื้อผลผลิตจากสหกรณ์โรงเรียน ปรุงอาหารให้นักเรียนรับประทาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้ารับการอบรม ได้รับความรู้จากการอบรม  รู้จักการใช้วัสดอุปกร์ในการใช้อุปกรณ์เกษตร เพื่อปฏิบัติในการปลูกพืชผัก เลี้ยงสัตว์ เลี้ยงปลา พร้อมนำวัสดุอุปกรณ์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการปฏิบัติงาน จัดเก็บ รักษาให้ใช้งานได้อย่างยั่งยืน บูรณาการด้านการรับผิดชอบต่อหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย ตามภาระกิจกที่แต่กลุ่มได้ดำเนินการ ดังนี้ ระดับชั้นอนุบาล รับผิดชอบ การเพาะถั่วงอก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 รับผิดชอบเพาะเห็ดนางฟ้า ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 รับผิดชอบการเลี้ยงปลาน้ำจืด ในบ่อพลาสติก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 รับผิดชอบการปลูกผักไฮโรโปนิก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 รับผิดชอบเลี้ยงไก่ไข่ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 รับผิดชอบ ปลูกผักรอบบ้าน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 รับผิดชอบดูแลรักษาพืชเศรษฐกิจของชุมชนที่ปลูกรอบบริเวณโรงเรียน   จากการประเมินการดำเนินงานเกษตรสวนผสมในโรงเรียนตลอดระยะเวลาที่ดำเนินการ ปรากฏว่า นักเรียน ครู บุคลากร ผู้ปกครอง ชุมชน มีความพึงพอใจในการดำเนินการอยู่ในระดับ ดี

     

    182 120

    3. กิจกรรม ศึกษาดูงานด้านการจัดตั้งสหกรณ์นักเรียน

    วันที่ 16 กันยายน 2559 เวลา 07:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุม วิเคราะห์สภาพปัญหาการจัดการสหกรณ์ในโรงเรียน 2.วางแผนการศึกษาดูงาน สถานที่ที่จะไป การเดินทาง จำนวนผู้กิจกรรม 3. ศึกษาดูงาน ณ โรงเรียนบ้านกะไหลอำเภอตะกั่วทั่ง จังหวัดพังงา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการศึกษาดูงานของคณะครู นักเรียน ทำให้ มีความรู้ ความเข้าใจในการบริหารจัดการสหกรณ์ได้ดีขึ้น นักเรียน ครูได้รับประสบการณ์ตรงจากการศึกษาดูงาน พร้อมกับนำมาปฏิบัติ ปรับปรุงพัฒนางานด้านสหกรณ์ได้เป็นอย่างดี ทำให้ระบบการบริหารจัดการสหกรณ์ในโรงเรียนมีประสิทธิภาพ เป็นแบบอย่างที่ดีแก่โรงเรียนอื่น และชุมชน ซึ่งทำให้การดำเนินงานของสหกรณ์เป็นที่พึงพอใจของสมาชิก ผู้ปกครอง ชุมชน 

     

    35 12

    4. ประชุมติดตามการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1

    วันที่ 13 ตุลาคม 2559 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการเด็กไทยแก้มใส
    2. ปฏิบัติการลงโปรแกรมการใช้จ่ายเงินโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. การดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใส ของโรงเรียนต่างๆ เป็นแบบอย่างที่ดีได้ทุกโรงเรียน
    2. ครูกลุ่มแกนมีความมุ่งมั่น ตั้งใจในการปฏิบัติงานจนเกิดประสิทธิภาพในการดำเนินงานโครงการ
    3. โครงการเด็ดไทยแก้มใสประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ เป็นที่ยอมรับของนักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานต่าง ๆ เป็นอย่างดี

     

    3 2

    5. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดระบบสหกรณ์นักเรียน

    วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ผู้เข้าประชุมลงทะเบียน
    2. เปิดกิจกรรมอบรมโดยผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านบางครั่ง
    3. เจ้าหน้าที่สหกรร์จังหวัดพังงา ให้ความรู้แก่นักเรียน ครู ผู้ปกครอง
    4. ผู้เข้าอบรมปฏิบัติกิจกรรมร่วมกับเจ้าหน้าที่สหกรณ์จังหวัด
    5. ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านบางครั่ง สรุปการอบรมและปิดการอบรมการให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดระบบสหกรณ์นักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้ความรู้จาการฝึกอบรม ได้ปฏิบัติจริงในการเป็นสมาชิกของสหกรณ์นักเรียน
    2. เจ้าหน้าที่ / ครูสกรร์มีความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดการบริหารงานสหกรณ์ได้ชัดเจน ถูกต้องตามระบบสหกรณ์
    3. สมาชิกเห็นความสำคัญของการเข้าร่วมกลุ่มสหกรณ์นักเรียน เพื่อประโยชน์แก่ตนเอง
    4. นักเรียนมีความตระหนักในหารประหยัด และออมอย่างต่อเนื่อง
    5. นักเรียนเห็นความสำคัญของการออม
    6. นักเรียนได้ประโยชน์จากการออม ซึ่งเกิดจากการปันผลของเงินฝาก
    7. นักเรียนมีความมุ่งมั่นตั้งใจในการเพิ่มรายได้ระหว่างเรียน เพื่อการออมมากขึ้น
    8. นักเรียนรู้จักประหยัดการใช้จ่ายเงิน เพื่อการออมมากขึ้น
    9. ผู้ปกครองให้การสนับสนุนนักเรียนในการออม
    10. เจ้าหน้าที่มีความเสียสละในการดำเนินงานสหกรณ์นักเรียน สร้างนิสัยที่ดีให้กับนักเรียนในเรื่องการเสียสละเพื่อส่วนรวม

     

    81 75

    6. อบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร แม่ครัวโรงเรียนในโรงเรียนเครือข่าย

    วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กระบวนการในการอบรม 1. ลงทะเบียน รายงานตัว 2. เปิดอบรมโดย ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านบางครั่ง 3. วิทยากรจากสาธารณสุขอำเภอคุระบุรี ครูอาอนามัยโรงเรียนบ้านบางครั่ง ให้การอบรมตลอดทั้งวัน 4. ปิดการการอบรมโดย ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านบางครั่ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ครูอาหารกลางวัน/แม่ครัวมีความรู้ ความเข้าใจในจัดอาหารกลางวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    2. นักเรียนได้รับอาหารที่ปรุงอย่างมีประสิทธิภาพ
    3. นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น จากอาหารกลางวันที่ได้รับประทานจากโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน
    4. นักเรียน ผู้ปกครอง มีความพึงพอใจในการดำเนินการอาหารกลางวันที่โรงเรียน

     

    15 30

    7. ส่งเสริมสุขภาพนักเรียน (เด็กโรงเรียนบ้านบางครั่งใส่ใจสุขภาพ)

    วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา โดยเชิญวิทยากรจากสาธารณสุขอำเภอคุระบุรีมาให้ความรู้ ทำความเข้าใจ ในการรักษาสุขภาพของนักเรียนและผู้ปกครอง โดยดำเนินการให้การอบรม จำนวน 2 วัน ในวันที่ 18 กุมภาพัธ์ 2560 และ ในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2560 1. เปิดการอบรมโดยผู้อำนวยโรงเรียนบ้านบางครั่ง 2. วิทยากรบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการรักษาสุขภาพในด้านการบริโภคอาหาร การรักษาช่องปากและฟัน
    3. นักเรียนปฏิบัติงานตามกลุ่ม เพื่อระดมสมองหาแนวทางในการปฏิบัติตนเกี่ยวกับสุขภาพของนักเรียน 4. ปิดการอบรมโดยผู้อำนวยการดรงเรียนบ้านบางครั่ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อบรมให้ความรู้เกี่ยกับการปฏิบัติในการรักษาสุขภาพ เพื่อคุณภาพชีวิตของนักเรียน ผู้ปกครอง โดยการมอบหมายให้นักเรียน ผู้ปกครองร่วมประพฤตืปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี แก่บุคคลอื่น  พร้อมทั้งติดตามการปฏิบัติตนของนักเรียนในการรักษาสุขภาพของตนเอง ทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน ด้วยการร่วมกันสอดส่องดูแลพฤติกรรมของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง 

     

    234 196

    8. ประชุมติดตามการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 2

    วันที่ 4 มีนาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ลงทะเบียน รายงานตัว
    2. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานโครงการ 3.ตรวจสอบการรายงานการใช้เงินของโครงการ
    3. จัดทำรูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การดำเนินโครงการเด็กไทยแก้มใส ทั้ง 8 องค์ประกอบ แต่ละโรงเรียนได้ดำเนินการเสร็จสมบุรณ์ เกิดประโยชน์แก่นักเรียน ชุมชน เป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ชุมชน นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง มีวินัยในการทำงาน มีรายได้ระหว่างเรียน มีเงินออม มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินชีวิตที่ดี
    ปัญหา
    1. นักเรียนมีเวลาน้อยในการดำเนินงานทั้ง 8 องค์ประกอบ 2. ผู้ปกครองยังขาดความรู้ความเข้าใจในการใช้ชีวิตที่ดี 3. นักเรียนฐานะยากจน มักเห็นความสำคัญของการกินอาหารเพื่อให้อิ่มโดยเฉพาะอาหารประเภทเนื้อ 4. นักเรียน ผู้ปกครอง จะเน้นการกินอาหารกลางวันที่โรงเรียนเป็นหลัก เนื่อจากทางบ้าน ไม่ค่อยมีเวลาดูแลนักเรียน ไม่ได้ทานอาหารครบมื้อขณะอยุ๋บ้าน 5. ผู้ปกครองไม่ค่อยให้ความสำคัญกับการบริโภคอาหารของนักเรียน แนวทางแก้ไข 1. ทางโรงเรียนประชาสัมพันธื ทำความเข้าใจให้ผู้ปกครอง นักเรียน เข้าใจในการบริโภคที่เกิดประโยชน์แก่ร่างกาย 2. เน้นการทานอหารที่ดี มีประโยชน์ให้แก่นักเรียนทุกวัน 3. อบรม ชี้แนะ แนะนำ ให้นักเรียน ผู้ปกครอง เห็นความสำคัญของการกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ ในปริมาณที่พอเพียง

     

    3 2

    9. คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ

    วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุม สรุป รายงานการใช้เงินโครงการงวดที่ 2 โดยการตรวจสอบจากเจ้าหน้าที่โครงการ ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ถอนดอกเบี้ยจากบัญชีโครงการ 34.64 บาท

     

    0 2

    10. ถอนเงินเปิดบัญชี

    วันที่ 10 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ถอนเงินเปิดบัญชี

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านบางครั่งมีภาวะโภชนาการที่ดี และเจริญเติบโตตามวัย
    ตัวชี้วัด : นักเรียนต้องมีภาวะโภชนาการดีขึ้น 1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนไม่เกิน 5 เปอร์เซ็นต์ 2. ภาวะผอม ไม่เกิน 4 เปอร์เซ็นต์ 3. ภาวะเตี้ย ไม่เกิน 4 เปอร์เซ็นต์

    โรงเรียนติดตามภาวะโภชนาการอย่างต่อเนื่อง และจัดกิจกรรมแก้ไขปัญาให้นักเรียน ทั้งในโรงเรียนและที่บ้าน โดยใช้หลักการมีส่วนร่วมกับหลาย ๆฝ่าย

    2 เพื่อให้โรงเรียนบ้านบางครั่งเป็นโรงเรียนศูนย์เรียนรู้ต้นแบบ ในโครงการเด็กไทยแก้มใส
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีทักษะในการดำเนินชีวิตร้อยละ 85

    จากการประเมินความพึงพอใจ นักเรียน

    3 เพื่อพัฒนาส่งเสริมด้านสุขอนามัยนักเรียน บุคลากร ผู้ปกครอง ชุมชน แก่ภาคีเครือข่ายโรงเรียนในตำบลบางวัน
    ตัวชี้วัด : 1.นักเรียน บุคลากร ผู้ปกครอง ชุมชน ภาคีเครือข่ายโรงเรียนในตำบลบางวันมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2.นักเรียน บุคลากร ผู้ปกครอง ชุมชน ภาคีเครือข่ายโรงเรียนในตำบลบางวันมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นร้อยละ 85

    ประเมินสุขภาพอนามัย ของนักเรียน ผู้ปกครอง ข้อมูลจาก โรงเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบางวัน และข้อมูลจากองค์การบริหารส่วนตำบลบางวัน

    4
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านบางครั่งมีภาวะโภชนาการที่ดี และเจริญเติบโตตามวัย (2) เพื่อให้โรงเรียนบ้านบางครั่งเป็นโรงเรียนศูนย์เรียนรู้ต้นแบบ ในโครงการเด็กไทยแก้มใส (3) เพื่อพัฒนาส่งเสริมด้านสุขอนามัยนักเรียน บุคลากร ผู้ปกครอง ชุมชน แก่ภาคีเครือข่ายโรงเรียนในตำบลบางวัน (4)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านบางครั่ง จ.พังงา

    รหัสโครงการ ศรร.1412-098 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.15 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    กิจกรรม 1 งาน 1 ครอบครัว(เกษตรข้างบ้าน)

    1. ลักษณะการดำเนินงานเป็นการดำเนินการทำเกษตรเลี้ยงครอบครัว โดยใช้พื้นที่ข้างบ้านปลูกพืชผักสวนครัว ที่จำเป็นต้องใช้การประกอบอาหารในครัวเรือน เพื่อเป็นการลดรายจ่ายให้กับครอบครัว และเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว เมื่อเหลือกิน เหลือให้เป็นการสร้างจิตสำนึก สร้างความตระหนัก ในการดำเนินรงชีวิตแบบพอเพียง เลี้ยงชีวิตได้
    2. ขั้นตอน 2.1 ประชุมวิเคราะห์หาแนวทางในการดำเนินการสร้างจิตสำนึก อยู่อย่างพอเพียง กับคณะครู กรรมการสถานศึกษา 2.2 วางแผนการดำเนินงาน โดยการศึกษาหาความรุ้ จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ศึกษาดูงานจากแหล่งเรียนรู้ 2.3 ประชุมคณะครู กรรมการสถานศึกษา แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน กำหนดกิจกรรมการดำเนินงาน มอบหมายผู้รับผิดชอบแต่ละกิจกรรม 2.4 ดำเนินงานตามแผนที่วางไว้ 2.5 คณะกรรมการดำเนินงาน นิเทศ ติดตาม การดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
    3. รายละเอียด
      อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินงาน กับนักเรียน คณะครู ผู้ปกครอง ชุมชน เพื่อชี้แจงรายละเอียดในการดำเนินงาน พร้อมฝึกทักษะในการปฏิบัติงาน มอบหมายให้ปฏิบัติงาน ตามที่ได้รับมอบหมาย ดำเนินการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้งานสำเร็จตามเป้าหมาย สรุปผลการดำเนินงาน เพื่อพัฒนาปรับปรุง ต่อไป
    4. หลักฐาน
      เอกสารการดำเนินงาน เช่น บัญชีรับจ่าย การดำเนินงาน ภาพถ่ายบันทึกการศึกษาดูงานจากหน่วยงานต่าง

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    สหกรณ์โรงเรียน

    เป็นสหกรณ์ร้านค้ารับสินค้าผลผลิตการเกษตรในโรงเรียน เพื่อจำหน่ายให้กับโครงการอาหารกลางวัน และชุมชน โดยนำผลกำไรที่ได้ปันผลให้สมาชิก ตามระเบียบสหกรณ์

    ส่งเสริมสนับสนุน ให้มีการดำเนินการต่อไป ที่มีปัญหาปรับแก้ ที่มีความต้อง จะสนับสนุนต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    กิจกรรมรณรงค์กินไม่เหลือ เพื่อสุขภาพ

    การรับประทานอาหารให้หมด ตามที่ตัก เน้นกินผัก ผลไม้ กินแต่พอดี

    ส่งเสริม สนับสนุน การดำเนินงานกิจกรรมต่อไป เพื่อฝึกวินัยในการกินที่ถูกต้อง และเป็นประโยชน์แก่ รา่งกาย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    กิจกรรม จัดการภาวะน้ำหนักเด็กอ้วน-ผอม

    ลดปริมาณอาหาร เน้นอาหารหลัก5หมู่ สำหรับเด็กอ้วน เสริมออกกำลังกาย เพิ่มปริมาณอาหาร เน้นอาหารหลัก 5 หมู่ เสริม นม ไข่ ออกกำลังกาย ปรึกษาหมอ สำหรับเด็กผอม

    ส่งเสริม สนับสนุน การมีส่วนร่วมในการดำเนินงานกิจกรรม กับผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานสาธารณสุข

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    โครงงานเพื่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม

    เป็นโครงงานที่คิดค้นขึ้นมาเพื่อทดลองให้เห็นผล และเกิดประโยชน์กับนักเรียน คณะครู ผู้ปกครอง ชุมชน โดยบูรณาการในกระบวนการเรียนการสอน

    ส่งเสริม สนับสนุน กำกับติดตาม ให้ดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    โครงการโรงเรียนปลอดขยะ

    เป็นโครงการที่เน้นการรักษาสิ่งแวดล้อม ด้านขยะ เพื่อนำขยะมาให้ประโยชน์ในด้านการเกษตรในโรงเรียน เช่น ทำปุ๋ยอินทรีย์ น้ำหมักชีวิภาพ เพื่อการเกษตรในโรงเรียน การนำวัสดุเหลือใช้มาเป็นประโยชน์ในการทำเป็นของใช้ ของประดับตกแต่ง ของเล่น ภายในโรงเรียน

    ส่งเสริม สนับสนุน ขยายผล การดำเนินงานสู่ชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โรงเรียนบ้านบางครั่ง จ.พังงา จังหวัด พังงา

    รหัสโครงการ ศรร.1412-098

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางบุญศิริ ชูพงศ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด