ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนบ้านบางครั่ง จ.พังงา |
สังกัด | ?? |
หน่วยงานต้นสังกัด | ?? |
ที่อยู่โรงเรียน | 125 หมู่ที่ 3 จังหวัดพังงา |
จำนวนนักเรียน | 208 คน |
ช่วงชั้น | อนุบาล,ประถม |
ผู้อำนวยการ | นางบุญศิริ ชูพงศ์ |
ครูผู้รับผิดชอบ | นางสาวศุภิสราพุทธพิทักษ์ |
ถอนเงินเปิดบัญชี
ประชุม สรุป รายงานการใช้เงินโครงการงวดที่ 2 โดยการตรวจสอบจากเจ้าหน้าที่โครงการ ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ถอนดอกเบี้ยจากบัญชีโครงการ 34.64 บาท
- ลงทะเบียน รายงานตัว
- ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานโครงการ 3.ตรวจสอบการรายงานการใช้เงินของโครงการ
- จัดทำรูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์
การดำเนินโครงการเด็กไทยแก้มใส ทั้ง 8 องค์ประกอบ แต่ละโรงเรียนได้ดำเนินการเสร็จสมบุรณ์ เกิดประโยชน์แก่นักเรียน ชุมชน เป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ชุมชน นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง มีวินัยในการทำงาน มีรายได้ระหว่างเรียน มีเงินออม มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินชีวิตที่ดี
ปัญหา
1. นักเรียนมีเวลาน้อยในการดำเนินงานทั้ง 8 องค์ประกอบ
2. ผู้ปกครองยังขาดความรู้ความเข้าใจในการใช้ชีวิตที่ดี
3. นักเรียนฐานะยากจน มักเห็นความสำคัญของการกินอาหารเพื่อให้อิ่มโดยเฉพาะอาหารประเภทเนื้อ
4. นักเรียน ผู้ปกครอง จะเน้นการกินอาหารกลางวันที่โรงเรียนเป็นหลัก เนื่อจากทางบ้าน ไม่ค่อยมีเวลาดูแลนักเรียน ไม่ได้ทานอาหารครบมื้อขณะอยุ๋บ้าน
5. ผู้ปกครองไม่ค่อยให้ความสำคัญกับการบริโภคอาหารของนักเรียน
แนวทางแก้ไข
1. ทางโรงเรียนประชาสัมพันธื ทำความเข้าใจให้ผู้ปกครอง นักเรียน เข้าใจในการบริโภคที่เกิดประโยชน์แก่ร่างกาย
2. เน้นการทานอหารที่ดี มีประโยชน์ให้แก่นักเรียนทุกวัน
3. อบรม ชี้แนะ แนะนำ ให้นักเรียน ผู้ปกครอง เห็นความสำคัญของการกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ ในปริมาณที่พอเพียง
อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา โดยเชิญวิทยากรจากสาธารณสุขอำเภอคุระบุรีมาให้ความรู้ ทำความเข้าใจ ในการรักษาสุขภาพของนักเรียนและผู้ปกครอง โดยดำเนินการให้การอบรม จำนวน 2 วัน ในวันที่ 18 กุมภาพัธ์ 2560 และ ในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2560
1. เปิดการอบรมโดยผู้อำนวยโรงเรียนบ้านบางครั่ง
2. วิทยากรบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการรักษาสุขภาพในด้านการบริโภคอาหาร การรักษาช่องปากและฟัน
3. นักเรียนปฏิบัติงานตามกลุ่ม เพื่อระดมสมองหาแนวทางในการปฏิบัติตนเกี่ยวกับสุขภาพของนักเรียน
4. ปิดการอบรมโดยผู้อำนวยการดรงเรียนบ้านบางครั่ง
อบรมให้ความรู้เกี่ยกับการปฏิบัติในการรักษาสุขภาพ เพื่อคุณภาพชีวิตของนักเรียน ผู้ปกครอง โดยการมอบหมายให้นักเรียน ผู้ปกครองร่วมประพฤตืปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี แก่บุคคลอื่น พร้อมทั้งติดตามการปฏิบัติตนของนักเรียนในการรักษาสุขภาพของตนเอง ทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน ด้วยการร่วมกันสอดส่องดูแลพฤติกรรมของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
กระบวนการในการอบรม 1. ลงทะเบียน รายงานตัว 2. เปิดอบรมโดย ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านบางครั่ง 3. วิทยากรจากสาธารณสุขอำเภอคุระบุรี ครูอาอนามัยโรงเรียนบ้านบางครั่ง ให้การอบรมตลอดทั้งวัน 4. ปิดการการอบรมโดย ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านบางครั่ง
- ครูอาหารกลางวัน/แม่ครัวมีความรู้ ความเข้าใจในจัดอาหารกลางวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- นักเรียนได้รับอาหารที่ปรุงอย่างมีประสิทธิภาพ
- นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น จากอาหารกลางวันที่ได้รับประทานจากโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน
- นักเรียน ผู้ปกครอง มีความพึงพอใจในการดำเนินการอาหารกลางวันที่โรงเรียน
- ผู้เข้าประชุมลงทะเบียน
- เปิดกิจกรรมอบรมโดยผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านบางครั่ง
- เจ้าหน้าที่สหกรร์จังหวัดพังงา ให้ความรู้แก่นักเรียน ครู ผู้ปกครอง
- ผู้เข้าอบรมปฏิบัติกิจกรรมร่วมกับเจ้าหน้าที่สหกรณ์จังหวัด
- ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านบางครั่ง สรุปการอบรมและปิดการอบรมการให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดระบบสหกรณ์นักเรียน
- นักเรียนได้ความรู้จาการฝึกอบรม ได้ปฏิบัติจริงในการเป็นสมาชิกของสหกรณ์นักเรียน
- เจ้าหน้าที่ / ครูสกรร์มีความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดการบริหารงานสหกรณ์ได้ชัดเจน ถูกต้องตามระบบสหกรณ์
- สมาชิกเห็นความสำคัญของการเข้าร่วมกลุ่มสหกรณ์นักเรียน เพื่อประโยชน์แก่ตนเอง
- นักเรียนมีความตระหนักในหารประหยัด และออมอย่างต่อเนื่อง
- นักเรียนเห็นความสำคัญของการออม
- นักเรียนได้ประโยชน์จากการออม ซึ่งเกิดจากการปันผลของเงินฝาก
- นักเรียนมีความมุ่งมั่นตั้งใจในการเพิ่มรายได้ระหว่างเรียน เพื่อการออมมากขึ้น
- นักเรียนรู้จักประหยัดการใช้จ่ายเงิน เพื่อการออมมากขึ้น
- ผู้ปกครองให้การสนับสนุนนักเรียนในการออม
- เจ้าหน้าที่มีความเสียสละในการดำเนินงานสหกรณ์นักเรียน สร้างนิสัยที่ดีให้กับนักเรียนในเรื่องการเสียสละเพื่อส่วนรวม
1.ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการเด็กไทยแก้มใส
2. ปฏิบัติการลงโปรแกรมการใช้จ่ายเงินโครงการ
- การดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใส ของโรงเรียนต่างๆ เป็นแบบอย่างที่ดีได้ทุกโรงเรียน
- ครูกลุ่มแกนมีความมุ่งมั่น ตั้งใจในการปฏิบัติงานจนเกิดประสิทธิภาพในการดำเนินงานโครงการ
- โครงการเด็ดไทยแก้มใสประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ เป็นที่ยอมรับของนักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานต่าง ๆ เป็นอย่างดี
1.ประชุม วิเคราะห์สภาพปัญหาการจัดการสหกรณ์ในโรงเรียน 2.วางแผนการศึกษาดูงาน สถานที่ที่จะไป การเดินทาง จำนวนผู้กิจกรรม 3. ศึกษาดูงาน ณ โรงเรียนบ้านกะไหลอำเภอตะกั่วทั่ง จังหวัดพังงา
จากการศึกษาดูงานของคณะครู นักเรียน ทำให้ มีความรู้ ความเข้าใจในการบริหารจัดการสหกรณ์ได้ดีขึ้น นักเรียน ครูได้รับประสบการณ์ตรงจากการศึกษาดูงาน พร้อมกับนำมาปฏิบัติ ปรับปรุงพัฒนางานด้านสหกรณ์ได้เป็นอย่างดี ทำให้ระบบการบริหารจัดการสหกรณ์ในโรงเรียนมีประสิทธิภาพ เป็นแบบอย่างที่ดีแก่โรงเรียนอื่น และชุมชน ซึ่งทำให้การดำเนินงานของสหกรณ์เป็นที่พึงพอใจของสมาชิก ผู้ปกครอง ชุมชน
- ประชุมมอบหมายฐานกิจกรรมให้นักเรียน ครูประจำชั้น รับผิดชอบกิจกรรมฐาน
- จัดการเรียนการสอนวิธีการปฏิบัติการเกษตรในโรงเรียน โดยครูประจำวิชา
- ดำเนินการปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ในชั่วโมงลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
- ดูแล บำรุงรักษา เก็บเกี่ยวผลผลิต ในชั่วโมงลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
- จำหน่ายผลผลิตกับสหกรณ์โรงเรียน
- อาหารกลางซื้อผลผลิตจากสหกรณ์โรงเรียน ปรุงอาหารให้นักเรียนรับประทาน
ผู้เข้ารับการอบรม ได้รับความรู้จากการอบรม รู้จักการใช้วัสดอุปกร์ในการใช้อุปกรณ์เกษตร เพื่อปฏิบัติในการปลูกพืชผัก เลี้ยงสัตว์ เลี้ยงปลา พร้อมนำวัสดุอุปกรณ์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการปฏิบัติงาน จัดเก็บ รักษาให้ใช้งานได้อย่างยั่งยืน บูรณาการด้านการรับผิดชอบต่อหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย ตามภาระกิจกที่แต่กลุ่มได้ดำเนินการ ดังนี้ ระดับชั้นอนุบาล รับผิดชอบ การเพาะถั่วงอก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 รับผิดชอบเพาะเห็ดนางฟ้า ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 รับผิดชอบการเลี้ยงปลาน้ำจืด ในบ่อพลาสติก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 รับผิดชอบการปลูกผักไฮโรโปนิก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 รับผิดชอบเลี้ยงไก่ไข่ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 รับผิดชอบ ปลูกผักรอบบ้าน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 รับผิดชอบดูแลรักษาพืชเศรษฐกิจของชุมชนที่ปลูกรอบบริเวณโรงเรียน จากการประเมินการดำเนินงานเกษตรสวนผสมในโรงเรียนตลอดระยะเวลาที่ดำเนินการ ปรากฏว่า นักเรียน ครู บุคลากร ผู้ปกครอง ชุมชน มีความพึงพอใจในการดำเนินการอยู่ในระดับ ดี
- ลงทะเบียนผู้เข้าอบรม
- วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงปลา (ปลาดุก ปลานิล ปลาทับทิม)ในบ่อ
- วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงสัตว์ปีก ( การเลี่ยงไก้ไข่ เลี้ยงเป็ด) ในลานโล่ง
- วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวการกับปลูกผักบนดิน และการปลูกผักไร้ดิน (การปลูกผักโฮโรโปนิก)
- วิทยากรสาธิตการทำปุ๋ยหมักโดยการการใช้อินทรีย์จากพืชและสัตว์
- ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงปลาดุก ปลานิล ปลาทับทิม เป็นเรื่องที่นักเรียนจะต้องรู้และเข้าใจกระบวนการในการเลี้ยง เช่านการคัดเลือกพันธุ์ปลาที่จะเลี้ยง จำนวนปลาที่จะเลี้ยงตามขนาดของบ่อ การให้อาหารปลาระยะปลาขนาดเล็ก ขนากลาง ขนาใหญ่ การดูแลรักษา เช่น การเปลี่ยนน้ำถ่ายน้ำเมื่อน้ำข้น การนำประโยชน์ของน้ำในบ่อปลาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อพืชผัก การปลูกพืชผักรอบบ่อเลี้ยงปลา การคิดราคาต้นทุนในการเลี้ยงปลา การจัดหาตลาดในการจำหน่ายปลา การจัดทำเมนูอาหารจากปลาที่เลี้ยง และประโยชน์จากอาหารเมนูปลา
2.ความรู้ในการเลี้ยงสัตว์ปีก คือเลี้ยงไก่ไข่ เลี้ยงเป็ด เป็นเรื่องที่ต้องศึกษา วิธีการเลี้ยงที่ถูกต้อง ใช้บริบทสถานที่ที่มีในบริเวณ ในการจัดเลี้ยง เน้นการเลี้ยงเพื่อบริโภค เหลือบริโภคจึงจำหน่าย การคิดต้นทุนในการบริหารจัดการเมื่อจะดำเนินการในเชิงธุระกิจ การศึกษาวิธีการให้อาหาร การดูแลรักษา ให้ไก้ผลิตไข่อย่างต่อเนื่อง การจัดทำเมนูไข่ เพื่ออาหารในการบริโภค
3.การให้ความเกี่ยวกับการปลูกพืช บนดิน การเลือกชนิดของพืชที่นำมาปลูก เพื่อให้มีกิน มีจำหน่ายอย่างต่อเนื่อง การดูแลรักษา ให้พืชมีผลผลิตอย่างต่อเนื่อง ประโยชน์ของการบริโภคพืชที่ปลูกเอง กินเอง ไร้สารพิษตกค้าง โทษของของการบริโภคพืชผักสวนครัวที่มีสารตกค้าง การจัดทำเมนูอาหารจากพืชผักที่ปลูกเอง - ประโยชน์ของการผลิตปุ๋ยหมักเอง การนำปุ๋ยหมักไปใช้ในการบำรุงดูแลรักษาพืชชนิดต่างๆ การนำปุ๋ยหมักไปใช้ในการปลูกพืชชนิดต่าง จากการดำเนินการอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนคณะครูบุคลากร ผู้ปกครอง หน่วยงานองค์กรต่างๆ บุคคลดังกล่าวได้นำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติ ในชีวิตประจำวัน ดำเนินการปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ ทำปุ๋ยใช้เอง ทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน ทำให้ครอบครัวมีความสุขกับการบริโภคอาหารที่ปราศจากสารพิษตกค้าง และเป็นการประหยัด ลดรายจ่ายภายในครอบครัวได้มากขึ้น นักเรียนในโรงเรียนมีเงินออมมากขึ้น นักเรียนได้ทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ นักเรียนมีพฤติกรรมที่ดี มีความรับผิดชอบ มุ่งตั้งใจในการทำงาน เห็นคุณค่าในการดำเนินการจากการที่ได้ความรู้มาปฏิบัติ จนประสบความสำเร็จ เกิดความภาคภูมิใจในการดำเนินงานที่ตนเองปฏิบัติ