ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านนา

รหัสโครงการ ศรร.1412-100 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.7 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

การทำเกษตรผสมผสาน

  1. มีการปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ และทำการประมง 2.กลุ่มยุวเกษตร จะเป็นพี่เลี้ยงคอยให้คำแนะนำแก่น้องๆที่รับผิดชอบแต่ละกิจกรรม

การเลือกพืชที่เหมาะสม กับสภาพอากาศเพื่อให้เกิดผลผลิตที่มีคุณภาพ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

 

  1. คณะกรรมการและสมาชิกสหกรณ์ประชุมวิเคราะห์รายรับรายจ่ายของสหกรณ์วิเคราะห์สินค้าที่นำเข้าขายในสหกรณ์โดยคำนึงถึงประโยชน์ของนักเรียนเป็นสำคัญ
  2. เมื่อสิ้นปีการศึกษา จะมีการปันผลกำไร ให้กับนักเรียน

โรงเรียนจะตั้งภาคีเครือข่ายผู้ปกครอง ชุมชน ให้นำผลผลิตที่เกิดจากชุมชนอย่างที่ปลอดสารพิษมาจำหน่ายให้แก่สหกรณ์นักเรียนเพื่อส่งต่อให้โครงการอาหารกลางวันมาซื้อไปจัดบริการอาหารกลางวันแก่นักเรียนที่มีคุณภาพ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

การใช้โปรแกรม thai school lunch ในการจัดรายการอาหารกลางวันแบบหมุนเวียน อย่างมีคุณภาพ

โรงเรียนมีการจัดบริการอาหารกลางวันให้กับนักเรียน โดยใช้ โปรแกรม Thai School lunch ซึ่งเมนูอาหารมีการหมุนเวียนกันและทางโรงเรียนได้นำผลผลิตที่ทางโรงเรียนปลูกนำมาใ้ช้ประกอบอาหาร

โรงเรียนจะพัฒนารูปแบบการจัดบริการอาหารกลางวันที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการด้านโภชนาการ สุขาภิบาลอาหารและสุขภาพอนามัยนักเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน
  1. โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
  2. กิจกรรมบริการสุขภาพอนามัยโรงเรียน
  1. การชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง ภาคเรียนละ 2 ครั้ง 2.การพัฒนานักเรียนที่มีปัญหาทุพภาวะโภชนาการของนักเรียน การออกกำลังกาย เต้นตารางเก้าช่องในทุกเย็น หลังเลิกเรียน
  1. จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ พัฒนาเครื่องมือในการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงให้ทันสมัย เพื่อความแม่นยำในการแปลผล
  2. ร่วมกันคิดกิจกรรมใหม่ๆ ที่สามารถแก้ปัญหานักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

สุขภาพดี ชีวีมีสุข

  1. การให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพอนามัย
  2. การตรวจสุขภาพ ฟัน เล็บ เสื้อผ้า ทุกวัน
  3. การแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน
  4. การตรวจสุขภาพฟัน ตรวจสายตา โดย รพ.สต.

การจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพให้มากขึ้น

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

กิจกรรมประกวดห้องเรียนสะอาด บริเวณสะอาด

  1. การแบ่งเขตบริเวณทำความสะอาดของแต่ละชั้น
  2. มีการตรวจสอบความเรียบร้อยโดยเจ้าหน้าที่สภานักเรียน
  3. ปลายภาคเรียนจะมีการมอบรางวัลให้กับห้องเรียนที่สะอาด และบริเวณต่างๆที่นักเรียนดูแลให้สะอาดอยู่ตลอดเวลา

การปลูกฝังให้ทุกคนช่วยกันดูแลรักษาความสะอาด ไม่ใช่ให้เป็นหน้าที่ของกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

พี่ดูแลน้องให้ความรู้ด้านสุขภาพให้กับนักเรียน ให้เรื่องของการตรวจฟัน

จัดให้มีชมรมอ.ย. น้อยให้ความรู้ด้านสุขภาพขั้นพื้นฐานที่นักเรียนต้องรู้และสามารถนำไปถ่ายทอดได้ปฏิบัติได้

พัฒนาชมรมให้เข้มแข็งมากยิ่งขึ้นและสร้างขวัญกำลังใจให้การสนับสนุนอย่างใกล้ชิด

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

การเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติจริง

การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ งานเกษตร สหกรณื อาหารและโภชนาการและสุขภาพอนามัย ให้เหมาะสมกับแต่ละกลุ่มสาระ

มีการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการที่เหมาะสมกับแต่ละระดับชั้น

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

  1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาเข้ามาส่งเสริมให้ความรู้เรื่องสุขภาพอนามัย
  2. สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์ เข้ามาให้คำแนะนำในการปลูก การเลี้ยงสัตว์
  3. สำนักงานที่ดินจังหวัดระนอง เข้ามาแนะนำในการปรับปรุงดิน
  4. สำนักงานทรัพยากรสิ่งแวดล้อมจังหวัดระนอง เข้ามาให้ความรู้เรื่อง การคัดแยกขยะ และให้ไส้เดือนนำมาเพาะเลี้ยงเพื่อนำมูลไส้เดือนมาปรับปรุงคุณภาพของดิน

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

โรงเรียนมีพื้นที่ว่างเปล่า่บริเวณรอบๆแต่มีปัญหาของดินที่ไม่เหมาะแก่การเพาะปลูกเนื่องจากเป็นดินลูกรังแต่เนื่องจากโรงเรียนอยู่ในพื้นที่ชุมชนที่มีการทำเกษตรกรรม มีปราชญ์ชาวบ้าน หรือหมอดิน ที่มีความรู้ในการทำเกษตรผสมผสานสามารถถ่ายทอดความรู้ และการปฎิบัติร่วมกันกับโรงเรียนเพื่อนำไปสูการแก้ไขปัญหาดินเสื่อมเพื่อในอนาคตเนื้อที่ดังกล่าวสามารถนำมาปลูกผัก ผลไม้ เพื่อป้อนเข้าสู่โครงการอาหารกลางในโรงเรียยน

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

  1. กลุ่มยุวเกษตร
  2. เครือข่ายผู้ปกครอง
  3. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ความสำคัญในการพัฒนาโรงเรียน
  4. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ เข้ามาให้ความรู้เรื่องสุขภาพ

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

  1. ครูผู้รับผิดชอบมารับความรู้จากการอบรมในโครงการ แล้วนำไปขยายผลให้ครู นักเรียน และแม่ครัว
  2. ศึกษาจากเอกสารและคู่มือด้วยตนเอง
  3. ฝึกปฏิบัติจริง

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

  1. ประชุมผู้ปกครอง ชี้แจงโครงการให้ทุกฝ่ายทราบ
  2. ผู้ปกครอง เข้ามาช่วยเหลือในการทำกิจกรรม เช่น การสร้างแปลงปลูกผัก
  3. ผู้ปกครอง เข้ามาส่วนร่วมในการอบรมการเพาะเห็ดนางฟ้า
  4. ผู้ปกครองเข้ามาช่วยทำตารางเก้าช่องไว้สำหรับให้นักเรียนเต้นออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

จัดซื้อวัตถุดิบจากชุมชนและตลาด เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการของโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน

  1. ใบจัดซื้อโครงการอาหารกลางวัน
  2. ชุมชนบ้านนา
  3. ตลาดเทศบาลอำเภอกะเปอร์

1.การสร้างแปลงปลูกผักเพิ่มเติม 2. การปลูกผักหมุนเวียนที่หลากหลายตามฤดูกาล

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)
  1. มีการจัดการเลี้ยง ไก่ไข่ ประมาณ 100 ตัว ทำให้ได้ผลผลิตต่อสัปดาห์ 500 ฟองต่อสัปดาห์
  2. การเลี้ยงเป็ดบ้านนา มีการเลี้ยงทั้งหมด 40 ตัว เพื่อเก็บไข่เป็ด ได้ประมาณวันละ 20 ฟอง นำไปทำเป็นไข่เค็ม
  1. บัญชีการรับซื้อผลผลิตทางการเกษตรของสหกรณ์
  2. ใบจัดซื้อโครงการอาหารกลางวัน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

มีการเลี้ยงปลาดุก ครั้งละ 1,500 ตัว ระยะเวลา 3 เดือน ก็สามารถส่งเข้าโครงการอาหารกลางวันได้ และให้ผลผลิต ประมาณ 300 กิโลกรัม จากนั้นก็จะมีการเลี้ยงหมุนเวียน

  1. บัญชีการรับซื้อผลผลิตทางการเกษตรของสหกรณ์
  2. ใบจัดซื้อโครงการอาหารกลางวัน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

1.โรงเรียนมีการจัดบริการผักสุกทุกวัน พร้อมมีคุณครูคอยกำกับดูแลในระหว่างการรับประทานอาหาร 2. โรงเรียนมีการจัดบริการ ผลไม้ 2 วัน ในหนึ่งสัปดาห์

ใบจัดซื้อโครงการอาหารกลางวัน

โรงเรียนมีการปลูกกล้วย สับปะรด เพื่อให้นักเรียนสามารถรับประทานได้ทุกวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

1.โรงเรียนมีการจัดบริการผักสุกทุกวัน พร้อมมีคุณครูคอยกำกับดูแลในระหว่างการรับประทานอาหาร 2. โรงเรียนมีการจัดบริการ ผลไม้ 2 วัน ในหนึ่งสัปดาห์

ใบจัดซื้อโครงการอาหารกลางวัน

โรงเรียนมีการปลูกกล้วย สับปะรด เพื่อให้นักเรียนสามารถรับประทานได้ทุกวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

1.โรงเรียนมีการจัดบริการผักสุกทุกวัน พร้อมมีคุณครูคอยกำกับดูแลในระหว่างการรับประทานอาหาร 2. โรงเรียนมีการจัดบริการ ผลไม้ 2 วัน ในหนึ่งสัปดาห์

ใบจัดซื้อโครงการอาหารกลางวัน

โรงเรียนมีการปลูกกล้วย สับปะรด เพื่อให้นักเรียนสามารถรับประทานได้ทุกวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน
  1. ชุมชนมีการปลูก ผักเหลียง ผักหวาน ซึ่งทางโรงเรียนมีการจัดซื้อ เพื่อนำมาประกอบอาหารกลางวัน

ใบจัดซื้อโครงการอาหารกลางวัน

การรวมกลุ่มของเครือข่ายผู้ปกครองเพื่อปลูกผลผลิตที่ปลอดสารพิษของส่งในกับโรงเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

มีการใช้โปรแกรม Thai school lunch แบบหมุนเวียนรายเดือน

ใบจัดซื้อรายการอาหารกลางวัน

แม่ครัวต้องมีความชำนาญในการใช้โปรแกรม Thai school lunch

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่
  1. มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ภาคเรียนละ 2 ครั้ง
  2. มีการอบรมนักเรียนที่มีภาวะ อ้วน ผอม
  3. มีการออกกำลังกาย เต้นแอโรบิค เต้นตารางเก้าช่อง ทุกเย็น หลังเลิกเรียน

สมุดบันทึกการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง

  1. การให้ผู้ปกครองเข้ามาร่วมแก้ไข
  2. ให้ความรู้กับผู้ปกครองเพื่อให้ตระหนักถึงปัญหาและหาแนวทางแก้ไขร่วมกับโรงเรียน
3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/22562 1/12562 1/22562 2/12563 1/12563 1/2
เตี้ย 7.30 7.30% 7.59 7.59% 7.34 7.34% 6.88 6.88% 3.69 3.69% 4.37 4.37% 5.75 5.75% 6.33 6.33% 5.07 5.07% 9.05 9.05% 8.85 8.85% 7.41 7.41% 4.28 4.28% 4.74 4.74% 5.18 5.18% 5.18 5.18% 4.95 4.95% 4.41 4.41%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 7.30 7.30% 15.18 15.18% 13.30 13.30% 11.93 11.93% 7.37 7.37% 12.66 12.66% 15.93 15.93% 18.55 18.55% 17.05 17.05% 19.10 19.10% 20.31 20.31% 15.34 15.34% 11.23 11.23% 13.74 13.74% 14.51 14.51% 12.44 12.44% 11.39 11.39% 10.29 10.29%
ผอม 6.87 6.87% 8.04 8.04% 6.88 6.88% 5.91 5.91% 2.78 2.78% 4.37 4.37% 4.44 4.44% 4.55 4.55% 4.63 4.63% 5.53 5.53% 2.60 2.60% 2.12 2.12% 4.81 4.81% 3.85 3.85% 2.08 2.08% 3.13 3.13% 4.46 4.46% 2.96 2.96%
ผอม+ค่อนข้างผอม 6.87 6.87% 18.30 18.30% 13.30 13.30% 11.82 11.82% 9.72 9.72% 15.72 15.72% 12.00 12.00% 11.36 11.36% 11.11 11.11% 12.06 12.06% 9.38 9.38% 8.99 8.99% 10.70 10.70% 9.13 9.13% 10.42 10.42% 8.33 8.33% 9.41 9.41% 8.87 8.87%
อ้วน 5.15 5.15% 2.68 2.68% 2.29 2.29% 2.27 2.27% 1.39 1.39% 3.93 3.93% 4.00 4.00% 4.55 4.55% 2.78 2.78% 4.02 4.02% 6.25 6.25% 6.88 6.88% 5.35 5.35% 3.85 3.85% 3.13 3.13% 2.60 2.60% 6.44 6.44% 5.42 5.42%
เริ่มอ้วน+อ้วน 5.58% 5.58% 6.70% 6.70% 5.50% 5.50% 5.45% 5.45% 4.63% 4.63% 9.61% 9.61% 9.33% 9.33% 10.91% 10.91% 10.19% 10.19% 12.56% 12.56% 13.02% 13.02% 13.23% 13.23% 11.23% 11.23% 10.58% 10.58% 9.90% 9.90% 9.90% 9.90% 14.85% 14.85% 14.29% 14.29%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง
  1. การติดตามแก้ปัญหาและให้ความรู้อย่างต่อเนื่อง
  2. การออกกำลังกาย เต้นแอโรบิค
  3. การควบคุมปริมาณอาหารให้เหมาะสมในแต่ละมือ
  1. แบบบันทึกการชั่งน้ำหนัก
  2. ทะเบียนนักเรียนอ้วน

การติดตามอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดความยั่งยืน ต้องดูแล ช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องมีกิจกรรมที่ต้องดูแลนักเรียนอย่างใกล้ชิด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง
  1. การติดตามแก้ปัญหาและให้ความรู้อย่างต่อเนื่อง
  2. การกินอาหารให้เหมาะสม
  3. การรับประทานอาหารเสริม เช่นนม และไข่ไก่
  1. แบบบันทึกการชั่งน้ำหนัก
  2. ทะเบียนนักเรียนผอม

การติดตามอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดความยั่งยืน ต้องดูแล ช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องมีกิจกรรมที่ต้องดูแลนักเรียนอย่างใกล้ชิด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง
  1. การติดตามแก้ปัญหาและให้ความรู้อย่างต่อเนื่อง
  2. การออกกำลังกาย เต้นแอโรบิค
  3. การควบคุมปริมาณอาหารให้เหมาะสมในแต่ละมือ
  4. การให้อาหารเสริม (นม)
  1. แบบบันทึกการชั่งน้ำหนัก
  2. ทะเบียนนักเรียนเตี้ย

ต้องดูแล ช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องมีกิจกรรมที่ต้องดูแลนักเรียนอย่างใกล้ชิด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง สำหรับนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ ในทุกๆ เดือน เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลง

  1. ทะเบียน นักเรียนที่มีภาวะ อ้วน ผอม เตี้ย

การแก้ปัญหาให้เหมาะสมกับภาวะทุพโภชนาการ ของนักเรียนแต่ละกลุ่ม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

เชฺิญผู้ปกครองนักเรียน เข้ามารับฟังและหาแนวทางแก้ไขสำหรับนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ

การอบรมผู้ปกครองนักเรียนนักเรียนที่มีภาวะอ้วน ผอมและ เตี้ย

  1. สร้างความตระหนักให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจถึงผลเสียของภาวะทุพโภชนาการ
  2. โรงเรียนมีการติดตามทั้งที่บ้านและโรงเรียน
  3. กระตุ้นให้เห็นความสำคัญในการแก้ไขปัญหา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

  1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาเข้ามาส่งเสริมให้ความรู้เรื่องสุขภาพอนามัย
  2. สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์ เข้ามาให้คำแนะนำในการปลูก การเลี้ยงสัตว์
  3. สำนักงานที่ดินจังหวัดระนอง เข้ามาแนะนำในการปรับปรุงดิน
  4. สำนักงานทรัพยากรสิ่งแวดล้อมจังหวัดระนอง เข้ามาให้ความรู้เรื่อง การคัดแยกขยะ และให้ไส้เดือนนำมาเพาะเลี้ยงเพื่อนำมูลไส้เดือนมาปรับปรุงคุณภาพของดิน

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh