ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนบ้านนา |
สังกัด | สพฐ. |
หน่วยงานต้นสังกัด | สพป.ระนอง |
ที่อยู่โรงเรียน | 9/9 จังหวัดระนอง 85120 |
จำนวนนักเรียน | 198 คน |
ช่วงชั้น | อนุบาล,ประถม,มัธยมต้น |
ผู้อำนวยการ | นายธีรวุฒิ บุญโสภาส |
ครูผู้รับผิดชอบ | นางสาวปริญญาพร ทบภักดิ์ |
- จัดกิจกรรมเพื่อกระตุ้นพฤติกรรมการบริโภคให้แก่นักเรียน
- จัดตั้งคณะกรรมการนักเรียนเพื่อตรวจวัดปริมาณอาหารที่เหลือทิ้งในแต่ละชั้น ชั้นใดห้องใดเหลือทิ้งน้อยที่สุดจะได้รับรางวัล
- นักเรียนได้รับสารอาหารต่อวันครบถ้วน
- อาหารเหลือทิ้งลดน้อยลงจากเดิมมาก
ตรวจประเมินด้านความปลอดภัยของสถานที่ปรุงประกอบอาหาร
สถานที่ปรุงประกอบอาหารมีความปลอดภัย
ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
นักเรียนทุกห้องจะต้องมีแปลงผักของตนเอง ช่วยปลูกและดูแลรักษา รวมถึงเก็บเกี่ยว จำหน่ายให้กับโรงเรียนเพื่อเป็นอาหารกลางวัน
ครู นักเรียน ร่วมกันปลูกผักสวนครัวในแปลงเกษตรของโรงเรียน นักเรียนเกิดทักษะการเพาะปลูก เกิดประสบการณ์ชีวิต
คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ
คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ
เข้าร่วมประชุมปฏิบัติการจัดทำรายงานสรุปการเงินปิดโครงการงวดที่ 2 และรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ แบบออนไลน์
จัดทำรายงานให้เป็นระบบและลงในระบบออนไลน์ให้ถูกต้อง และตรวจเอกสารการเงิน ให้ถูกต้องเรียบร้อย
- แจ้งให้นักเรียน ครู ผู้ปกครอง ทราบเกี่ยวกับกำหนดวันเวลาในการอบรม
- อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดรายการอาหารที่เหมาะสม โดยใช้โปรแกรมThai school lunch
นักเรียน ครู ผู้ปกครอง แม่ค้า แม่ครัว มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดรายการอาหารที่เหมาะสมและถูกหลักโภชนาการ
1.ฝึกการเรียนรู้การเลี้ยงสัตว์ (เลี้ยงไก่ไข่) 2.มีการทำบัญชีรายรับรายจ่าย ฝึกความรับผิดชอบ และนำผลผลิตขายให้สหกรณ์นักเรียน นำสู่โครงการอาหารกลางวัน
- ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส (ศรร.) มีวัตถุดิบเพื่อทำอาหารกลางวันจากกิจกรรมทั้งหมดแบบบูรณาการอย่างต่อเนื่อง
- สามารถสร้างผลผลิตเกษตรด้านพืชและสัตว์ สนับสนุนกิจกรรมโครงการอาหารกลางวัน เพียงพอกับความต้องการกับจำนวนนักเรียน
- พัฒนาให้ความรู้ครู นักเรียนผู้ปกครองและบุคคลที่เกี่ยวข้องให้ส่งเสริมสนับสนุนและเห็นความสำคัญด้านอาหารและโภชนาการอย่างยั่งยืน
- การแจ้งในที่ประชุมครูผู้ปกครอง
- จัดบอร์ดไวนิล ให้ความรู้ ในโรงอาคาร และห้องศูนย์การเรียนรู้
- ครูนำนักเรียนไปศึกษา หาความรู้ ตามจุดต่างๆ ที่เป็นแหล่งเรียนรู้
นักเรียน ครู ชุมชน เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใส
- เดินทางจาก โรงเรียนบ้านนา จังหวัดระนอง ถึง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี
- รายงานเอกสารการเงิน งวดที่ 1
เอกสารการเงินได้รับการตรวจสอบ
- ครูผู้ดูแลมอบหมายให้นักเรียนทำหน้าที่
- นักเรียน ดูแลเก็บไข่เป็ด ให้อาหาร ทุกวัน
- นักเรียนมีความรู้เรื่องเป็ดท้องถิ่นพันธุ์บ้านนา
- มีไข่เป็ดไว้บริโภคเป็นอาหารกลางวัน
1.ครูที่รับผิดชอบให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกพืชผักสวนครัวแก่นักเรียน 2.เตรียมพื้นที่สำหรับปลูก โดยทำเป็นกระบะยาวจากก้อนอิฐ 3.เตรียมดินใส่ปุ๋ย 4.จัดซื้อเมล็ดพันธุ์ผัก พันธุ์พืช การปลูกผักสวนครัว ชนิดต่างๆ เช่น มะเขือเปราะ มะเขือยาว พริก ผักบุ้ง กวางตุ้ง คะน้า ตะไคร้ ผักหวาน ชะอม 5.นักเรียนลงมือปฏิบัติปลูกผัก และบำรุงดูแล 6.เก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดสารพิษ ให้กับสหกรณ์นักเรียน เพื่อนำส่งโครงการอาหารกลางวัน
1.ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส (ศรร.) มีวัตถุดิบเพื่อทำอาหารกลางวันจากกิจกรรมทั้งหมดแบบบูรณาการอย่างต่อเนื่อง 2.สามารถสร้างผลผลิตเกษตรด้านพืชและสัตว์ สนับสนุนกิจกรรมโครงการอาหารกลางวัน เพียงพอกับความต้องการกับจำนวนนักเรียน 3.พัฒนาให้ความรู้ครู นักเรียนผู้ปกครองและบุคคลที่เกี่ยวข้องให้ส่งเสริมสนับสนุนและเห็นความสำคัญด้านอาหารและโภชนาการอย่างยั่งยืน
1. ประชุมคณะครูที่ปรึกษา 2.แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ 3.เสนอกรรมการสถานศึกษาเห็นชอบและเสนอแนะ 4.ดำเนินการตามกิจกรรม - สำรวจพื้นที่ - ปรับปรุงโรงเรียน - แบ่งกลุ่มนักเรียนตามกลุ่มสนใจ - ดำเนินการจัดการดูแลและจำหน่ายผลผลิต 5. ประเมินผลเมื่อสิ้นสุดกิจกรรม 6. สรุปวิเคราะห์รายงานผล 7. นำเสนอคณะกรรมการสถานศึกษา คณะครูวิเคราะห์ วิพากย์ให้ข้อเสนอแนะ
1.เพื่อขยายผลโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสสู่โรงเรียนเครือข่ายจำนวน 4 โรงเรียน 2.เพื่อพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดำเนินงานของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร เพื่อพัฒนาสุขภาพของนักเรียน ตามโครงการพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง
- จัดซื้อพันธุ์ปลาดุกมาเลี้ยงในบ่อซีเมนต์
- มอบหมายให้นักเรียนที่รับผิดชอบดูแล
- เมื่อปลาดุกโตพอที่จะรับผระทานได้ จะนำส่งสหกรณ์นักเรียน เพื่อส่งต่ออาหารกลางวัน
1.นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการเลี้ยงปลาดุก 2.รู้จักการจัดการวางแผนในการทำงาน 3. มีอาหารกลางวัน จากผลผลิตในโรงเรียนเอง
- อบรมให้ความรู้กับนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ และผู้ปกครองของนักเรียน
- ร่วมกันหาแนวทางแก้ไขปัญหา
นักเรียนมีความรู้ เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ถูกตามหลักโภชนาการ และรู้จักปรับปรุง เปลี่ยแปลงตัวเอง
ชี้แจงการดำเนินงาน ของศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
ครู ผู้ปกครอง ชุมชน พร้อมกันเดินหน้าตามนโยบายเด็กไทยแก้มใส
1. ให้ความรู้ความเข้าใจกับนักเรียนเรื่่องสหกรณ์นักเรียน
2.. ฝึกให้นักเรียนมีความรับผิดชอบ
2. ฝึกให้นักเรียนรู้จักการทำงานที่เป็นระบบ
3. สหกรณ์นักเรียน รับซื้อผลผลิตต่างๆ ที่มีอยู่ในโรงงเรียน มีจำหน่ายให้กับโครงการอาหารกลางวัน
- โรงเรียนมีสหกรณ์นักเรียนที่ดำเนินการโดยคณะกรรมการนักเรียนและมีสมาชิก 235 คน
- กิจกรรมร้านค้า มีการรับซื้อผลผลิตทางการเกษตร ไม่ว่าจะเป็นไข่ไก่ ผักต่างๆ จำหน่ายให้กับโครงการอาหารกลางวัน
- กิจกรรมออมทรัพยื มีการรับออมทรัพย์จากนักเรียนในโรงเรียน
- ฝึกการเรียนรู้การเลี้ยงสัตว์ (เลี้ยงไก่ไข่)
- มีการทำบัญชีรายรับรายจ่าย ฝึกความรับผิดชอบ และนำผลผลิตขายให้สหกรณ์นักเรียน นำสู่โครงการอาหารกลางวัน
- จัดซื้อไก่ไข่ อายุ 16-18 สัปดาห์ จำนวน 100 ตัว งบประมาณ 17,500 บาท
- จัดซื้ออาหาร 30 กระสอบ งบประมาณ 15,000 บาท
- ครูผู้รับผิดชอบจัดซื้อไก่ไข่ สำหรับเลี้ยง
- นักเรียนที่รับผิดชอบ เข้าไปดูแลทำความสะอาด
- นักเรียนที่รับผิดชอบเก็บไข่ที่ได้ ทำบัญชีรายรับรายจ่าย
- นำผลผลิตขายให้สหกรณ์นักเรียน นำสู่โครงการอาหารกลางวัน
1.ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงไก่เนื้อกับนักเรียนกลุ่มที่รับผิดชอบ 2.เตรียมโรงเรือนสำหรับเลี้ยงไก่พันธุ์เนื้อ 3.จัดซื้อวัสดุอุปกรณต่างๆถาดอาหาร ถาดใสน้ำ 4.จัดซื้อพันธ์ไก่เนื้อ 5.นักเรียนให้อาหาร และดูแลรักษาความสะอาดของโรงเรือน
- ได้ไก่พันธุ์เนื้อที่มีความแข็งแรง
- สามารถนำผลผลิตที่ได้ ส่งให้สหกรณ์นักเรียน เพื่อส่งเข้าสู่โครงการอาหารกลางวัน
- นักเรียนได้รู้จักกิจกรรมฐานการเรียนรู้แต่ละฐานตามโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
- นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อกิจกรรมการเรียนรู้ตามโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
- นักเรียนได้มีความรู้ มีทักษะ ลำดับขั้นตอน กระบวนการทำงานตามโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
- ให้ความรู้ความเข้าใจกับนักเรียนเรื่องการดูแลรักษา การปฏิบัติในการเพาะเห็ด การเก็บผลผลิต
- ฝึกให้นักเรียนมีความรับผิดชอบ เห็นคุณค่าของงานอาชีพที่สุจริต เพื่อเป็นแนวทางในการนำไปพัฒนาการประกอบอาชีพหรือรายได้เสริม
- นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจกับผลิตจากการปฏิบัติสามารถนำไปสนับสนุนกิจกรรมโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน เพื่อแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการ
- มีวัตถุดิบเพื่อทำอาหารกลางวันจากกิจกรรมทั้งหมดแบบบูรณาการอย่างต่อเนื่อง
- สามารถสร้างผลผลิตเกษตรด้านพืชและสัตว์ สนับสนุนกิจกรรมโครงการอาหารกลางวัน เพียงพอกับความต้องการกับจำนวนนักเรียน
- พัฒนาให้ความรู้ครู นักเรียนผู้ปกครองและบุคคลที่เกี่ยวข้องให้ส่งเสริมสนับสนุนและเห็นความสำคัญด้านอาหารและโภชนาการอย่างยั่งยืน
- นักเรียนมีความรู้ในเรื่องการดูแลรักษา การปฏิบัติในการเพาะเห็ด การเก็บผลผลิต
- นักเรียนได้ฝึกทักษะอาชีพและมีรายได้ระหว่างเรียน นักเรียนมีความรับผิดชอบ
- นำเห็ดที่ได้ไปสนับสนุนกิจกรรมโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน
- ครูที่รับผิดชอบให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกพืชผักสวนครัวแก่นักเรียน
- เตรียมพื้นที่สำหรับปลูก โดยทำเป็นกระบะยาวจากก้อนอิฐ
- เตรียมดินใส่ปุ๋ย
- จัดซื้อเมล็ดพันธุ์ผัก พันธุ์พืช การปลูกผักสวนครัว ชนิดต่างๆ เช่น มะเขือเปราะ มะเขือยาว พริก ผักบุ้ง กวางตุ้ง คะน้า ตะไคร้ ผักหวาน ชะอม
- นักเรียนลงมือปฏิบัติปลูกผัก และบำรุงดูแล
- เก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดสารพิษ ให้กับสหกรณ์นักเรียน เพื่อนำส่งโครงการอาหารกลางวัน
1.โรงเรียนมีผลผลิตทางการเกษตรโดยมีส่วนร่วมของนักเรียน ชุมชน
2. นักเรียนได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ