ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านกุยเหนือ

รหัสโครงการ ศรร.1412-095 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.12 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน
  1. ปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้
  2. เลี้ยงปลาดุก
  3. เลี้ยงกบ
  4. แปลงสาธิตข้าว

นักเรียนแกนนำในชมรมเกษตรเพื่ออาหารกลางวันรับผิดชอบ เลี้ยงกบ เลี้ยงปลาดุก ปลูกผักเพื่อใช้ในการประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียนในโรงเรียน โดยบูรณาการกับกลุ่มสาระสุขศึกษา การงานอาชีพและสังคมศึกษา

ขยายผลสู่ชุมชนโดยผ่านแกนนำและผู้ปกครองนักเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน
  1. สหกรณ์จัดจำหน่ายอาหารว่างให้กับนักเรียน
  2. กิจกรรมสหกรณ์สู่ชุมชน
  1. จัดตั้งคณะกรรมการดำเนินงานกิจกรรมสหกรณ์
  2. ประชุมวางแผนการดำเนินงานโดยผ่านคณะกรรการสหกรณ์
  3. ดำเนินกิจกรรมสหกรณ์

ขยายผลสู่ชุมชนโดยผ่านนักเรียนที่เป็นสมาชิกสหกรณ์

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

โปรแกรม Thai School Lunch

  1. อบรมครูให้มีความรู้เรื่องของการใช้โปรแกรม Thai School Lunch
  2. ใช้โปรแกรม Thai School Lunch ในการเลือกเมนูอาหารให้แก่นักเรียน
  3. มีการบูรณาการการใช้โปรแกรม Thai School Lunch กับเมนูอาหารใในท้องถิ่น
  4. มีการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับงบประมารที่ได้รับการสนับสนุน
  1. ขยายผลให้แก่โรงเรียนในศูนย์เครือข่าย
  2. ขยายผลให้แก่หน่วยงานที่สนใจ
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

โปรแกรม INMU Thai-Growth

  1. ชั่งน้ำหนักนักเรียนเป็นรายเดือน
  2. รายงานผลภาวะการเจริญเติบโตให้แก่นักเรียนเป็นรายเดือน
  3. เฝ้าระวังนักเรียนที่อยู่ในกลุ่ม อ้วน เริ่มอ้วน ท้วม ผอม ค่อนข้างผอม เตี้ยและค่อนข้างเตี้ย

ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมอนามัย ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ และโรงพยาบาล มาให้ความรู้ความเข้าใจกับผู้ปกครองและผู้เี่ยวข้องกับนักเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน
  1. อาหารเช้าของหนูเพื่อการเรียนรู้ที่ดี
  2. การออกกำลังกาย
  3. แปรงฟันหลังอาหารกลางวัน
  1. จัดบริการอาหารเช้าแก่นักเรียนโดให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วม
  2. จัดให้มีชมรม กีฬาเพื่อสุขภาพ
  3. แปรงฟันหลังอาหารกลางวัน

สร้างและปลูกจิตสำนึกให้เกิดขึ้นแก่นักเรียน ให้ติดตัวอย่างถาวร

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
  1. โรงเรียนปลอดขยะ Zero Waste School
  2. กิจกรรมกระบวนการเรียนรการสอนประดิษฐ์เศษวัสดุเป็นของประดับตกแต่ง
  1. โครงการรณรงค์เรื่องการรักษาสิ่งแวดล้อม กำจัดขยะในโรงเรียนและชุมชน

ส่งเสริมสนับสนุนโครงการอย่างต่อเนื่อง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน
  1. โรงเรียนในโครงการต้นแบบนักเรียนไทยสุขภาพดี
  2. ชมรมกีฬาเพื่อสุขภาพ
  1. โครงการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการให้แก่นักเรียน
  2. เพื่อเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนออกกำลังกายให้มีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงและห่างไกลจากยาเสพติด
  1. จัดสรรงบประมาณให้อยู่ในแผนการปฏิบัติงานประจำปี
  2. ส่งเสริมให้มีความเป็นเลิศทางกีฬา
  3. ประสานงานกับหน่วยงานภายนอก เช่น โรงพยาบาล สาธารณสุขจังหวัด สาธารณสุขอำเภอ
  4. มอบหมายให้มีผูรับผิดชอบอย่างต่อเนื่อง
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

เกษตรเพื่ออาหารกลางวัน อาหารกลางวันเพื่อสุขภาพ สุขภาพเพื่อการเรียนรู้ที่ดี

เป็นการเชื่อมโยงกิจกรรมให้มีการบูรณาการเข้าสู่ตัวเด็กนักเรียน ซึ่งเป็นผลลัพธ์ของการจัดการศึกษา

จัดให้โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนอย่างแท้จริง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

  1. ผู้ปกครอง ศิษย์เก่าและชุมชน ให้ความร่วมมือในการดำเนินงานและระดมทุนในการพัฒนาโรงเรียน
  2. ประสานความร่วมมือกับภาคีเครื่อข่าย ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นและโรงเรียนเครือข่าย
  3. จัดให้มีการดำเนินงานโครงการเพื่อเป็นต้นแบบในการเรียนรู้ของนักเรียน

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

  1. เป็นโรงเรียนที่อยู่ในชนบท มีบรรยากาศสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการจัดการเรียนการสอน
  2. การคมนาคมสะดวก
  3. มีครูและบุคลากรที่เพียงพอและมีความรู้ความสามารถ
  4. ชมชนให้ความร่วมมือในการดำเนินกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอ

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

  1. สร้างแรงจูงใจในการทำงาน
  2. ส่งเสริมให้ครูมีผลงานที่เป็นเลิศ
  3. อบรมและพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความเข้าใจในการทำงาน
  4. จัดให้มีสวัสดิการภายในสถานศึกษา

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

  1. เรียนรู้ด้วยการปฏิบัติจริง
  2. มีการศึกษาดูงานโรเรียนที่ประสบความสำเร็จ
  3. ส่งนักเรียนไปเรียนรู้และร่วมกิจกรรมกับหน่วยงานต่างๆ
  4. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนได้ร่วมกิจกรรรมอย่างต่อเนื่องครบทุกกระบวนการ

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

  1. ผู้ปกครองให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมของนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ
  2. โรงเรียนมีการประชุมทำความเข้าใจกับผู้ปกครองอย่างน้อยภาคเรียนละ 2 ครั้ง
  3. มีการรายงานผลการดำเนินต่อผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ
  1. ปลูกผักสวนครัวเพื่ออาหารกลางวัน

ภาพถ่าย

เพิ่มปริมาณและชนิดของผักตามความจำเป็น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)
  1. เลี้ยงปลาดุก
  2. เลี้ยงกบ

ภาพถ่าย

เพิ่มปริมาณและชนิดของสัตว์ตามความจำเป็น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

อาหารเช้าของหนูเพื่อการเรียนรู้ที่ดี

  1. โครงการ
  2. ภาพถ่าย

สร้างและปลูกจิตสำนึกให้เกิดขึ้นแก่นักเรียน ให้ติดตัวอย่างถาวร

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

จัดบริการผลไม้ให้แก่นักเรียนทุกวัน

เมนูอาหารจากโปรแกรม Thai School Lunch

ปลูกผลไม้ที่โรงเรียนสามารถปลูกได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

จัดบริการผักให้แก่นักเรียนทุกวัน

เมนูอาหารจากโปรแกรม Thai School Lunch

ปลูกผักสวนครัวและเพิ่มปริมาณการปลูกให้มากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน
  1. เกษตรกรต้นแบบ
  2. ศูนย์ข้าวจังหวัดนครศรีธรรมราช
  3. สำนักงานพัฒนาที่ดินเพื่อการเกษตร

ภาพถ่าย

  1. ทำให้เกิดผลกับกระบวนการแก่นักเรียน
  2. ขยายผลไปยังผู้ปกครองและชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่
  1. อบรมครูให้มีความรู้เรื่องของการใช้โปรแกรม Thai School Lunch
  2. ใช้โปรแกรม Thai School Lunch ในการเลือกเมนูอาหารให้แก่นักเรียน
  3. มีการบูรณาการการใช้โปรแกรม Thai School Lunch กับเมนูอาหารใในท้องถิ่น
  4. มีการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับงบประมารที่ได้รับการสนับสนุน

เมนูอาหารจากโปรแกรม Thai School Lunch

  1. ขยายผลให้แก่โรงเรียนในศูนย์เครือข่าย
  2. ขยายผลให้แก่หน่วยงานที่สนใจ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่
  1. ชั่งน้ำหนักนักเรียนเป็นรายเดือนโดยใช้โปรแกรม INMU Thai-Growth ในการประเมินภาวะการเจริญเติบโต
  2. รายงานผลภาวะการเจริญเติบโตให้แก่นักเรียนเป็นรายเดือน
  3. เฝ้าระวังนักเรียนที่อยู่ในกลุ่ม อ้วน เริ่มอ้วน ท้วม ผอม ค่อนข้างผอม เตี้ยและค่อนข้างเตี้ย

รูปเล่มรายงานผลภาวะการเจริญเติบโต

ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมอนามัย ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ และโรงพยาบาล มาให้ความรู้ความเข้าใจกับผู้ปกครองและผู้เี่ยวข้องกับนักเรียน

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/22562 1/12562 1/22562 2/1
เตี้ย 2.14 2.14% 4.51 4.51% nan nan% 6.87 6.87% 3.76 3.76% 6.54 6.54% 6.54 6.54% 6.67 6.67% 3.81 3.81% 3.13 3.13% 3.13 3.13% 3.30 3.30% 3.30 3.30% 4.49 4.49% 3.37 3.37% 3.49 3.49%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 5.00 5.00% 11.28 11.28% nan nan% 9.92 9.92% 4.51 4.51% 11.21 11.21% 11.21 11.21% 11.43 11.43% 8.57 8.57% 7.29 7.29% 7.29 7.29% 4.40 4.40% 4.40 4.40% 10.11 10.11% 7.87 7.87% 6.98 6.98%
ผอม 0.71 0.71% 3.76 3.76% 1.28 1.28% 0.76 0.76% 1.50 1.50% 5.61 5.61% 1.87 1.87% 4.76 4.76% 2.86 2.86% 3.13 3.13% 2.08 2.08% 0.99 0.99% 0.99 0.99% 13.48 13.48% 2.25 2.25% 2.33 2.33%
ผอม+ค่อนข้างผอม 7.86 7.86% 15.04 15.04% 8.33 8.33% 3.82 3.82% 5.26 5.26% 9.35 9.35% 7.48 7.48% 9.52 9.52% 6.67 6.67% 9.38 9.38% 5.21 5.21% 3.96 3.96% 3.96 3.96% 23.60 23.60% 6.74 6.74% 8.14 8.14%
อ้วน 2.14 2.14% 6.77 6.77% 2.56 2.56% 4.58 4.58% 3.76 3.76% 7.48 7.48% 7.48 7.48% 7.62 7.62% 8.57 8.57% 11.46 11.46% 10.42 10.42% 6.93 6.93% 6.93 6.93% 11.24 11.24% 13.48 13.48% 16.28 16.28%
เริ่มอ้วน+อ้วน 7.86% 7.86% 18.05% 18.05% 9.62% 9.62% 12.21% 12.21% 6.02% 6.02% 17.76% 17.76% 16.82% 16.82% 17.14% 17.14% 16.19% 16.19% 19.79% 19.79% 21.88% 21.88% 18.81% 18.81% 18.81% 18.81% 17.98% 17.98% 19.10% 19.10% 19.77% 19.77%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง
  1. ชั่งน้ำหนักนักเรียนเป็นรายเดือนโดยใช้โปรแกรม INMU Thai-Growth ในการประเมินภาวะการเจริญเติบโต
  2. รายงานผลภาวะการเจริญเติบโตให้แก่นักเรียนเป็นรายเดือน
  3. ออกกำลังกายวันละ 1 ชั่วโมง
  1. รูปเล่มรายงานผลภาวะการเจริญเติบโต
  2. ภาพถ่าย

ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมอนามัย ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ และโรงพยาบาล มาให้ความรู้ความเข้าใจกับผู้ปกครองและผู้เี่ยวข้องกับนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง
  1. ชั่งน้ำหนักนักเรียนเป็นรายเดือนโดยใช้โปรแกรม INMU Thai-Growth ในการประเมินภาวะการเจริญเติบโต
  2. รายงานผลภาวะการเจริญเติบโตให้แก่นักเรียนเป็นรายเดือน
  3. ออกกำลังกาย
  1. รูปเล่มรายงานผลภาวะการเจริญเติบโต
  2. ภาพถ่าย

ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมอนามัย ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ และโรงพยาบาล มาให้ความรู้ความเข้าใจกับผู้ปกครองและผู้เี่ยวข้องกับนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง
  1. ชั่งน้ำหนักนักเรียนเป็นรายเดือนโดยใช้โปรแกรม INMU Thai-Growth ในการประเมินภาวะการเจริญเติบโต
  2. รายงานผลภาวะการเจริญเติบโตให้แก่นักเรียนเป็นรายเดือน
  3. ออกกำลังกาย
  1. รูปเล่มรายงานผลภาวะการเจริญเติบโต
  2. ภาพถ่าย

ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมอนามัย ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ และโรงพยาบาล มาให้ความรู้ความเข้าใจกับผู้ปกครองและผู้เี่ยวข้องกับนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร
  1. ชั่งน้ำหนักนักเรียนเป็นรายเดือนโดยใช้โปรแกรม INMU Thai-Growth ในการประเมินภาวะการเจริญเติบโต
  2. รายงานผลภาวะการเจริญเติบโตให้แก่นักเรียนเป็นรายเดือน
  3. ออกกำลังกายวันละ 1 ชั่วโมง
  1. รูปเล่มรายงานผลภาวะการเจริญเติบโต
  2. ภาพถ่าย

ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมอนามัย ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ และโรงพยาบาล มาให้ความรู้ความเข้าใจกับผู้ปกครองและผู้เี่ยวข้องกับนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

ผู้ปกครองเซ็นสมุดออกกำลังกายวันละ 1 ช่ั่วโมงงของนัเรียน

  1. ภาพถ่าย

ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมอนามัย ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ และโรงพยาบาล มาให้ความรู้ความเข้าใจกับผู้ปกครองและผู้เี่ยวข้องกับนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

  1. ผู้ปกครอง ศิษย์เก่าและชุมชน ให้ความร่วมมือในการดำเนินงานและระดมทุนในการพัฒนาโรงเรียน
  2. ประสานความร่วมมือกับภาคีเครื่อข่าย ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นและโรงเรียนเครือข่าย
  3. จัดให้มีการดำเนินงานโครงการเพื่อเป็นต้นแบบในการเรียนรู้ของนักเรียน

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh