แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนคุระบุรี


“ โรงเรียนคุระบุรี ”

116/15 หมู่ที่ 1 ตำบลคุระ อำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา

หัวหน้าโครงการ
นายสมยศ ผลอินทร์

ชื่อโครงการ โรงเรียนคุระบุรี

ที่อยู่ 116/15 หมู่ที่ 1 ตำบลคุระ อำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา จังหวัด พังงา

รหัสโครงการ ศรร.1413-097 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนคุระบุรี จังหวัดพังงา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 116/15 หมู่ที่ 1 ตำบลคุระ อำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนคุระบุรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนคุระบุรี



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนคุระบุรี " ดำเนินการในพื้นที่ 116/15 หมู่ที่ 1 ตำบลคุระ อำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา รหัสโครงการ ศรร.1413-097 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,000.00 บาท จาก โรงเรียนคุระบุรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 1829 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนคุระบุรี จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาสุขภาวะ และโภชนาการของนักเรียน
  2. 2 เพื่อสร้างการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะนักเรียน
  3. 3.เพื่อยกระดับความสำเร็จในการดำเนินงานโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ทั้ง 3 ด้าน คือ ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) และผลกระทบ (Impact) เป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
  4. 4.เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ครู บุคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางโครงการเด็กไทยแก้มใส ถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กนักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการ ดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
    2. โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
    3. พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและ
      ความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชนตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน
    4. ชุมชนมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. การพัฒนาบุคลากรด้านการจัดอาหาร โภชนาการ และสุขภาพ

    วันที่ 8 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำครูและแม่ครัว จำนวน 40 คน ไปศึกษาดูงานการจัดการอาหารกลางวันโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch และโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใสที่โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 1 และโรงเรียนอนุบาลกระบี่จังหวัดกระบี่ โดยได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการบริการอาหารกลางวันโปรแกรม Thai School Lunch การจัดการเรียนรู้การเกษตรในโรงเรียน สหกรณ์โรงเรียน มาพัฒนาและปรับใช้ในโรงเรียนคุระบุรี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1. ครูและแม่ครัว จำนวน40คน มีความรู้ในเรื่องการจัดบริหารกลางวันโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch ให้กับนักเรียนและสามารถนำมาปรับใช้ในโรงเรียนคุระบุรีได้

    2. ครู มีความรู้เรื่องการจัดการเกษตรในโรงเรียนที่ได้ผลและนำมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้กับนักเรียนในโรงเรียนคุระบุรีได้

    3. ครู มีความรู้ความเข้าใจในการจัดการเรียนรู้เรื่องสหกรณ์โรงเรียนโดยนักเรียนมีส่วนร่วมได้

    ผลผลัพธ์

    1. โรงเรียนคุระบุรีสามารถนำโปรแกรม Thai School Lunch มาจัดบริการอาหารกลางวันให้กับนักเรียนได้

    2. โรงเรียนคุระบุรีสามารถจัดการเรียนรู้เรื่องเกษตรในโรงเรียนเพื่อใช้ในโครงการอาหารกลางวันให้กับนักเรียนได้

    3. โรงเรียนคุระบุรีสามารถจัดการเรียนรู้เรื่องสหกรณ์โรงเรียนให้กับนักเรียนได้

     

    40 40

    2. เกษตรโรงเรียน (เพาะเห็ดนางฟ้า)

    วันที่ 29 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดการเรียนรู้เกี่ยวกับการเพาะเห็ดนางฟ้าให้เด็กนักเรียน ระดับชั้น ป.3 จำนวน 4 ห้องเรียนโดยให้ความรู้ครั้งละ 1 ห้องเรียน ซึ่งมีคุณครูยลดานันท์มงคลวัฒนาสกุล ตำแหน่งครูผู้สอนวิชาเกษตร ดังนี้
      1.1.ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเห็ดการวางก้อนเชื้อในลักษณะแนวนอนโดยวางเรียงต่อกันเป็นแนวและวางซ้อนกันเป็นชั้นๆ

    1.2.การเปิดดอก โดยเปิดจุกและสำลีจากคอขวดออกและพับปากถุงให้เหมือนเดิมกับตอนที่ยังมีจุกคอขวดอยู่เพื่อจะทำให้เก็บดอกเห็ดได้ง่าย

    1.3.การรดน้ำ ควรพ่นให้ผิวหน้าของก้อนเชื้อชื้นก็พอ เพราะจะทำให้ก้อนเชื้อมีเชื้อราจะเน่าเสียเร็ว การรดน้ำประมาณวันละ 3-4 ครั้งแล้วแต่สภาพอากาศ

    1.4.การเก็บดอกเห็ดและการทำความสะอาดหน้าก้อนเห็ด เมื่อเห็ดออกดอกและบานจนได้ขนาดที่ต้องการแล้วเก็บดอกโดยจับที่โคนดอกทั้งช่อโยกซ้ายขวาบนล่างแล้วดึงออกจากถุงเห็ด ระวังอย่าให้ถุงเห็ดบาน ถ้าโคนเห็ดขาดอยู่ให้แคะออกเพื่อป้องกันการเน่าเสีย การทำความสะอาดก้อนเชื้อทำได้โดยเขี่ยเศษเห็ดที่ติดอยู่ข้างในถุงออกให้หมด และงดให้น้ำ 3 วันถ้าก้อนเห็ดมีเชื้อราให้นำออกทันที

    1. ส่งผลผลิตที่ได้สู่โรงอาหารในโครงการอาหารกลางวันและจำหน่ายสู่ชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1. นักเรียนระดับชั้น ป.3 จำนวน141คน มีความรู้ มีทักษะในการเพาะเห็ดนางฟ้า

    2. นักเรียนระดับชั้น ป.3 จำนวน141คน นำความรู้และทักษะไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

    3. นักเรียนจำนวน141 คน เป็นแกนนำในการให้ความรู้แก่เพื่อนนักเรียนในเรื่องการเพาะเห็ดนางฟ้าได้

    ผลผลัพธ์

    1. โรงเรียนคุระบุรีมีแหล่งเรียนรู้การเพาะเห็ดนางฟ้าให้กับโรงเรียน และชุมชน

    2. โรงเรียนคุระบุรีมีผลผลิตเห็ดนางฟ้านำไปใช้ประกอบอารหารในโครงการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนทั้งโรงเรียน

    3. โรงเรียนคุระบุรีสามารถเชื่อมโยงและบูรณาการการเพาะเห็ดนางฟ้าเข้ากับวิชาเรียนเกษตร กลุ่มสาระการงานอาชีพฯ และจัดการเรียนรู้ให้กับนักเรียนทุกระดับชั้น

    4. นักเรียนโรงเรียนคุระบุรีมีทักษะชีวิตและทักษะการทำงานร่วมกัน

     

    952 141

    3. เกษตรโรงเรียน (เลี้ยงปลา)

    วันที่ 6 กันยายน 2559 เวลา 08.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดการเรียนรู้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงปลาดุกและปลานิลให้กับนักเรียนชั้น ป.4 จำนวน 114 คน จำนวน 4 ห้องเรียนโดยให้ความรู้ครั้งละ 1 ห้องเรียน ซึ่งมีคุณครูแสนโกสินทร์วงษ์มะยุรา เป็นครูผู้สอน ดังนี้

    1.1.การเตรียมบ่อซีเมนต์เลี้ยงปลาดุกและปลานิล เนื่องจากทางโรงเรียนมีบ่อซีเมนต์อยู่แล้ว การเตรียมบ่อจึงเป็นไปได้ง่ายโดยการนำน้ำสะอาดใส่ในบ่อแล้วแช่ทิ้งไว้ประมาณ 1 วันหลังจากนั้นให้เปิดน้ำทิ้งเพื่อปรับสภาพบ่อแล้วเปิดน้ำเตรียมสำหรับใส่ปลาดุก และปลานิล

    1.2.การเลือกพันธุ์ปลาดุกและปลานิล - พันธุ์ปลาดุกเลือกลูกพันธุ์ปลาดุกที่มีความแข็งแรงและไม่เล็กเกินไปขนาดประมาณ2นิ้วจำนวน1,000ตัวใส่ในบ่อซีเมนต์4บ่อๆ ละ 250 ตัวขนาดบ่อซีเมนต์100 x 60 ซม. - พันธ์ุปลานิลเลือกลูกพันธุ์ปลานิลใช้พันธุ์จิตลดาเพราะมีความแข็งแรงและปรับตัวเข้ากับสภาพน้ำจืดและทนทานต่อโรคใช้ขนาดประมาณ 2 นิ้ว จำนวน1,000ตัวจำนวน1บ่อ ขนาดบ่อซีเมนต์400 x 80 ซม.
    1.3.อาหารปลาดุกและปลานิล และวิธีการให้อาหาร
    - อาหารปลาดุกและปลานิล จะใช้เป็นอาหารสำเร็จรูปสำหรับปลาดุกขนาดเล็ก ซึ่งการใช้อาหารสำเร็จรูปจะทำได้ง่ายเพียงแค่สาดอาหารลงไปในบ่อเลี้ยงปลาในขนาดพอเหมาะประมาณ ครึ่งกิโลกรัมต่อปลา 1,000 ตัว และเพิ่มปริมาณอาหารขึ้นเรื่อยเมื่อปลามีขนาดโตขึ้น

    1.4.วิธีการดูแลปลาดุก และปลานิล
    - ปลาดุก ต้องมีระดับถ่ายเทน้ำให้น้ำใสสะอาดไม่ขุ่น เพราะถ้าน้ำขุ่นหรือน้ำสกปรกที่เกิดจากอาหารตกค้างจะทำให้ปลาดุกตาย อาการจากคุณภาพน้ำไม่ดีจะสังเกตได้จากการที่ปลาจะว่ายน้ำขึ้นลงเร็วกว่าปกติ และจะลอยตัวอยู่เหนือน้ำเป็นสัญญาณเตือนให้รู้ว่าน้ำกำลังสกปรกและควรเปลี่ยนน้ำทันทีโรงเรียนจึงแก้ปัญหานี้โดยการใช้ระบบหมุนเวียนน้ำ - ปลานิล ไม่ชอบให้เปลี่ยนน้ำบ่อย ชอบน้ำขุ่นๆ ควรปลูกพืชน้ำไว้ในบ่อด้วย ปลานิลมีข้อเสียในเรื่องของการปรับสภาพน้ำ ถ้าโดนน้ำฝนมากเกินไปปรับสภาพไม่ทันก็จะตาย ดังนั้นจึงควรมีหลังคาป้องกันน้ำฝน

    1.5.การนำผลผลิตไปใช้ - ปลาดุก สามารถเติบโตได้ขนาด200กรัมต่อตัวในระยะเวลาประมาณ3เดือน และนำมาประกอบอาหารและจำหน่ายได้ - ปลานิล สามารถเติบโตได้ขนาด400กรัมต่อตัวในระยะเวลาประมาณ4เดือนและนำมาประกอบอาหารและจำหน่ายได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1. นักเรียนระดับชั้น ป.4 จำนวน114คน มีความรู้ มีทักษะในการเลี้ยงปลาดุกและปลานิล

    2. นักเรียนระดับชั้น ป.4 จำนวน114คน นำความรู้และทักษะไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

    3. นักเรียนจำนวน114คน เป็นแกนนำในการให้ความรู้แก่เพื่อนนักเรียนในเรื่องการเลี้ยงปลาดุกและปลานิลได้

    ผลผลัพธ์

    1. โรงเรียนคุระบุรีมีแหล่งเรียนรู้การเลี้ยงปลาดุกและปลานิลให้กับโรงเรียน และชุมชน

    2. โรงเรียนคุระบุรีมีผลผลิตปลาดุกและปลานิลนำไปใช้ประกอบอารหารในโครงการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนทั้งโรงเรียน และจำหน่ายให้กับชุมชน

    3. โรงเรียนคุระบุรีสามารถเชื่อมโยงและบูรณาการการเลี้ยงปลาดุกและปลานิลเข้ากับวิชาเรียนเกษตร กลุ่มสาระการงานอาชีพฯ และจัดการเรียนรู้ให้กับนักเรียนทุกระดับชั้น

    4. นักเรียนโรงเรียนคุระบุรีมีทักษะชีวิตและทักษะการทำงานร่วมกัน

     

    114 114

    4. ประชุมสัญจร ครั้งที่1 จัดทำรายงานปิดงวด 1

    วันที่ 13 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดทำรายงานในระบบออนไลน์เว็บไซต์ http://www.dekthaikamsai.com โดยมีวิทยากรพี่เลี้ยงให้การแนะนำ
    2. จัดทำเอกสารรายงานการใช้เงิน ง1 รายงานความก้าวหน้าโครงการ ส1
    3. ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับโรงเรียนต่างๆ 13 โรง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1. บุคลากรจำนวน  3  คน  มีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำรายงานในระบบออนไลน์เว็บไซต์ http://www.dekthaikamsai.com
    2. สามารถนำส่งรายงาน ง1 และ ส1 ได้

    ผลลัพธ์ 1. บุคลากรที่เข้าประชุมได้นำความรู้ไปถ่ายทอดและขยายผลให้กับเพื่อนครูในโรงเรียน 2. โรงเรียนสามารถส่งเอกสารรายงาน ง1 และ ส1 ได้อย่างถูกต้อง

     

    3 3

    5. จัดทำเมนูอาหารกลางวัน

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ส่งบุคลากรครูไปอบรมเรื่องการจัดอาหารกลางวันตามโปรแกรม Thai School Lunch
    2. ให้ความรู้กับแม่ครัว
    3. ดำเนินการจัดเมนูอาหารโดยให้ครูนักเรียนมีส่วนร่วม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต   นักเรียนโรงเรียนคุระบุรีได้รับประทานอาหารกลางวันถูกต้องตามหลักโภชนาการ ผลลัพธ์   โรงเรียนคุระบุรีมีเมนูอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunch 

     

    1,875 1,853

    6. อบรมโภชนาการอาหาร

    วันที่ 19 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ประชุมวางแผนเพื่อกำหนดกิจกรรมและวันเวลาในการจัดการอบรม -ขอความร่วมมือโรงพยาบาลคุระบุรีชัยพัฒนาสนับสนุนวิทยากรการอบรม -ส่งหนังสือเชิญวิทยากรผู้ให้การอบรม -จัดการอบรมแก่ ครู นักเรียน และแม่ครัวรับการอบรมตามวันเวลาที่กำหนด - ครู นักเรียน และแม่ครัวนำความรู้มาจัดอาหารกลางวันให้กับนักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต - ครู นักเรียน และแม่ครัวได้รับการอบรมด้านโภชนาการอาหารที่เหมาะสม สำหรับเด็กวัยเรียน - ครู นักเรียน และแม่ครัวนำความรู้มาจัดอาหารกลางวันให้กับนักเรียนอย่างเหมาะสม

    ผลลัพธ์ -โรงเรียนคุระบุรีจัดอาหารกลางวันได้ถูกต้องตามหลักโภชนาการถูกต้องเหมาะสมกับวัยและเพียงพอกับความต้องการ

     

    160 142

    7. เกษตรโรงเรียน (ปลูกผัก)

    วันที่ 26 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ครูแต่ละชั้นให้ความรู้นักเรียนเกี่ยวกับพันธุ์ผัก วิธีการปลูก การดูแลรักษา การเก็บผลิต
    2. ให้นักเรียนแต่ละชั้นเรียนเลือกพันธุ์ผักที่จะนำมาปลูก
    3. ให้นักเรียนลงมือปลูกโดยแบ่งเป็นเดี่ยวหรือกลุ่ม
    4. นำผลผลิตมาจัดทำอาหารกลางวัน
    5. นำผลผลิตมาจำหน่ายในตลาดนัดแก้มใส 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต   1. นักเรียนสามารถปลูกผัก และนำผลผลิตทางการเกษตรไปทำอาหารกลางวันรับประทาน   2. นักเรียนสามารถปลูกผักเพื่อรับประทานและจำหน่ายในครัวเรือนได้ ผลลัพธ์   1. โรงเรียนมีผลผลิตทางการเกษตรในการประกอบอาหารกลางวัน   2. โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ด้านการเกษตรสำหรับนักเรียนและชุมชน

     

    952 996

    8. การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย ตามโครงการลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้

    วันที่ 9 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดการเรียนรู้บูรณาการด้านการเกษตร โภชนาการ และสุขภาพให้กับนักเรียนครอบคลุมทั้ง 8 กลุ่มสาระ สำหรับนักเรียนประถม และกิจกรรมหลักทั้ง 6 กิจกรรม สำหรับนักเรียนอนุบาล และทำสื่อประกอบการเรียนการสอน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต   นักเรียนได้พัฒนาตนเองให้มีความรู้ทักษะ ทัศนคติ และลักษณะนิสัยที่ดีในเรื่องของเกษตร สหกรณ์ยั่งยืน โภชนาการและสุขภาพอนามัย ผลลัพธ์   1. โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการเกษตร โชนาการ และสุขภาพอนามัยทุกชั้นเรียน   2. โรงเรียนมีสื่อสำหรับใช้ประกอบการเรียนการสอนบูรณาการเกษตร โชนาการ และสุขภาพอนามัยทุกชั้นเรียน

     

    952 992

    9. การเรียนรู้บริษัทสร้างการดี

    วันที่ 3 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. โรงเรียนจัดทำแผนงานตามกิจกรรม และขอความร่วมมือเทศบาลตำบลคุระบุรี
    2. เทศบาลตำบลคุระบุรีได้เข้ามาจัดกิจกรรมให้ความรู้นักเรียนในการคัดแยกขยะ
    3. นักเรียนได้เรียนรู้จากคู่มือ และปฏิบัติจริงในการคัดแยกขยะจากห้องเรียน
    4. นักเรียนสร้างรายได้จากขยะ
    5. รายงานกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต   นักเรียนโรงเรียนคุระบุรีมีความรู้ในการคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี
    ผลลัพธ์   1. โรงเรียนมีคู่มือการกำจัดขยะที่ถูกวิธี   2. โรงเรียนคุระบุรีสะอาดปลอดจากขยะ

     

    0 1,025

    10. กำจัดโรคร้ายทำลายแหล่งเพาะพันธุ์โรค

    วันที่ 6 มีนาคม 2560 เวลา 15:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ให้ความรู้นักเรียนหน้าเสาธงในประชุมสุดสัปดาห์ และจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ในโรงเรียน
    2. ครูจัดกิจกรรมบูรณาการเรียนการสอนในห้องเรียน
    3. ให้นักเรียนปฏิบัติจริงในการเดินรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียนและชุมชน
    4. แจกแผ่นพับให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต   นักเรียนมีความรู้เรื่องโรคและสามารถป้องกันโรคด้วยตัวเองไ้ด้ ผลลัพธ์   โรงเรียนคุระบุรีไม่มีแหล่งเพาะพันธ์ุโรค

     

    38 156

    11. ตลาดนัดแก้มใส

    วันที่ 14 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    โรงเรียนได้มีการจัดกิจกรรมตลาดนัดแก้มใส เดือนละ 1 ครั้ง โดยร่วมตั้งแต่เปิดภาคเรียนที่ 2 ซึ่งจะจัดในทุกวันอังคารที่ 2 ของเดือน  และได้มีการจัดกิจกรรมตลาดนัดแก้มใสขึ้นร่วมกับโรงเรียนในเครือข่าย ในวันที่ 14 มีนาคม 2560 โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. แจ้งวัตถุประสงค์ของกิจกรรมตลาดนัดแก้มใสให้ครูและบุคลากร นักเรียนในโรงเรียนคุระบุรี และโรงเรียนเครือข่าย 5 โรงทราบ 2. แจ้งกำหนดการให้ครูและบุคลากร นักเรียน  ผู้ปกครอง ชุมชน โดยการประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย และทำหนังสือเชิญโรงเรียนเครือข่ายเข้าร่วม 3. ดำเนินกิจกรรมตลาดนัดแก้มใสตามวันและเวลาที่กำหนด 4. รายงานผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต   นักเรียนโรงเรียนคุระบุรี ครูและบุคลากร ผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษา และครู นักเรียนโรงเรียนเครือข่าย  จำนวน  1,090  คน ได้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนำผลผลิต ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรมาจำหน่ายในกิจกรรมตลาดนัดแก้มใส ผลลัพธ์   โรงเรียนคุระบุรีมีกิจกรรมตลาดนัดแก้มใสให้บริการแก่นักเรียน ครูและบุคลากร ผู้ปกครอง ชุมชน กรรมการสถานศึกษา และโรงเรียนเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง

     

    1,040 1,085

    12. จัดทำรายงานปิดโครงการ งวด 2 พร้อมคืนดอกเบี้ย

    วันที่ 17 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำจัดทำรายงานปิดโครงการ งวด 2 พร้อมคืนดอกเบี้ย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต   คืนดอกเบี้ย ผลลัพธ์   คืนดอกเบี้ย

     

    2 2

    13. นำส่งภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

    วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำส่งภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย เดือนมีนาคม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นำส่งภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย เดือนมีนาคม

     

    1 1

    14. ประชุมสัญจรครั้งที่ 2 จัดทำรายงานปิดงวด 2

    วันที่ 4 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดทำรายงานในระบบออนไลน์เว็บไซต์  http://www.dekthaikamsai.com โดยมีวิทยากรพี่เลี้ยงให้การแนะนำ
    2. จัดทำเอกสารรายงานการใช้เงิน ง2 รายงานความก้าวหน้าโครงการ ส2
    3. ร่วมแลกเปลี่ยนรู้กับโรงเรียนต่างๆ 12 โรง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต
      1. บุคลากร จำนวน 2 คน มีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำรายงานในระบบเว็บไซต์  http://www.dekthaikamsai.com   2. สามารถนำส่งรายงาน ง2 และ ส2 ได้ ผลลัพธ์   1. บุคลากรที่เข้าประชุมได้นำความรู้ไปถ่ายทอดและขยายผลให้กับเพื่อนครูในโรเรียน   2. โรงเรียนสามารถส่งเอกสารรายงาน ง2 และ ส2 ได้อย่างถูกต้อง

     

    3 2

    15. นำส่งเงินภาษีหัก ณ ที่จ่าย งวดที่ 2

    วันที่ 5 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำส่งเงินภาษีหัก ณ ที่จ่าย งวดที่ 2.1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นำส่งเงินภาษีหัก ณ ที่จ่าย งวดที่ 2.1

     

    1 1

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาสุขภาวะ และโภชนาการของนักเรียน
    ตัวชี้วัด : 1.ภาวะอ้วน ผอม ไม่เกิน ไม่เกิน 7 % (ทั้งนี้ดูตามเกณฑ์ของโรงเรียนเป็นหลัก) ภาวะเตี้ย ไม่เกิน 7 % 2.เด็กมีการปรับพฤติกรรมการกิน โดยกินผักและผลไม้ เฉลี่ยในมื้อกลางวันประมาณ 40-100 กรัม (อาจดูตามเกณฑ์ของแต่ละโรงเรียน ที่แยกเป็น ช่วงอนุบาล และ ช่วงปฐม) 3.มีการนำโปรแกรม Thai school lunch มาใช้ในการกำหนดเมนูอาหารกลางวัน 4.มีกระบวนการติดตาม ประเมินสุขภาวะของนักเรียน โดยเด็กและเยาวชน ครู และผู้ปกครอง ร่วมกัน

    มีการวัดและติดตามประเมินผลคือ ติดตามโดยการดูแลในการทานอาหารของนักเรียนทุกวัน โดยสังเกตการทานอาหารหมดจาน หรือไม่หมดจาน มีการทิ้งอาหารที่เป็นผักหรือไม่ โดยครูประจำชั้นเป็นผู้ดูแลและบันทึกไว้ ผลการติดตามคือ นักเรียนทานอาหารหมดและไม่เหลือเศษอาหารไว้

    2 2 เพื่อสร้างการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะนักเรียน
    ตัวชี้วัด : 1.เด็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินผักและผลไม้เพิ่มขึ้น เฉลี่ยประมาณ 40-100 กรัม ในมื้ออาหารเย็น และอาหารว่าง (ติตตามผลโดยครูและผู้ปกครอง) 2.นักเรียนประมาณ 80% มีพฤติกรรมสุขภาวะที่ดี ได้แก่ การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร มีการแปรงฟันหลังทานอาหาร รวมทั้งแปรงฟันก่อนเข้านอน และมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถัง 3.ทางโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมออกกำลังกาย ก่อนเลิกเรียน (อาจจะเน้นที่เด็กมีภาวะอ้วนเป็นพิเศษ)
    • ติดตามและประเมินโดยมีสมุดบันทึกกิจกรรมการแปรงฟัน การล้างมือหลังอาหาร และมีบันทึกการดื่มนมของนักเรียนทุกห้องเรียน โดยหัวหน้าชั้นและครูประจำชั้นมีบันทึกการดูแลสุขภาพที่บ้านโดยให้ผู้ปกครองเป็นคนบันทึกให้และนำมาส่งครูประจำชั้น มีการตรวจสุขภาพในห้องเรียน
    • ทางโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมออกกำลังกายในตอนเย็นหลังเลิกเรียนทุกวัน โดยนำนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินและมีภาวะอ้วนมาเต้นฮูลาฮูปประกอบเพลง โดยบันทึกการเปลี่ยนแปลงของน้ำหนักก่อนทำกิจกรรมและหลังทำกิจกรรม มีรางวัลให้กับนักเรียนที่น้ำหนักลดลง
    3 3.เพื่อยกระดับความสำเร็จในการดำเนินงานโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ทั้ง 3 ด้าน คือ ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) และผลกระทบ (Impact) เป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
    ตัวชี้วัด : โรงเรียนมีระดับความสำเร็จในการดำเนินงานทั้ง 3 ด้าน เฉลี่ยไม่ต่ำกว่า ระดับ 3

    จากบันทึกภาวะโภชนาการของนักเรียน มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานเพิ่มขึ้น ภาวะอ้วนและผอมลดลง

    4 4.เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ครู บุคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางโครงการเด็กไทยแก้มใส ถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
    ตัวชี้วัด : 1.โรงเรียนมีระดับความสำเร็จในด้านการเชื่อมโยงอาหารและสุขภาพ อยู่ในระดับ 4 2.จำนวนกิจกรรมที่มีส่วนร่วมของครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนเพิ่มขึ้น 40%
    • ความสำเร็จในการเชื่อมโยงอาหารและสุขภาพดูจากบันทึกการรับประทานอาหาร พักและผลไม้เพิ่มขึ้นนำไปสู่การมีโภชนาการสมวัย ภาวะอ้วนผอมลดลง
    • จำนวนกิจกรรมที่มีส่วนร่วมของผู้ปกครองประเมินจากบันทึกการมีส่วนร่วมและบันทึกความพึงพอใจของผู้ปกครองในทุกๆ กิจกรรมที่ทำทั้งหมดในโครงการและการเสนอแนวทางการจัดกิจกรรมของผู้ปกครองแสดงให้เห็นถึงความร่วมมือและมีส่วนร่วมของผู้ปกครองมากขึ้น

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาสุขภาวะ และโภชนาการของนักเรียน (2) 2 เพื่อสร้างการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะนักเรียน (3) 3.เพื่อยกระดับความสำเร็จในการดำเนินงานโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ทั้ง 3 ด้าน คือ ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) และผลกระทบ (Impact) เป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส (4) 4.เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ครู บุคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางโครงการเด็กไทยแก้มใส ถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โรงเรียนคุระบุรี

    รหัสโครงการ ศรร.1413-097 รหัสสัญญา 58-00-2265 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    กืจกรรม STEM ศึกษา

    ขั้นตอนแรกคือคัดเลือกพืชที่ปลูกในโรงเรียนเพื่อนำมาศึกษา หลังจากนั้นร่วมกันจ้ดทำแผนการจัดการเรียนรู้STEM ศึกษา โดยครูวิชาวิทยาศาสตร์วิชาเทคโนโลยีวิชาาิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์ ซึ่งพืชที่เลือกก็คือ บวบ แล้วนำมา บูรณาการการเรียนการสอนเรื่องบวบกับ วิชาวิทยาศาสตร์วิชาเทคโนโลยีวิชาาิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์ในห้องเรียน ให้นักเรียนได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติจริง และบันทึกผลการเรียนรู้

    จัดการเรียนการสอน แบบ STEM ศึกษา โดยคัดเลือกพืชชนิดอื่นที่ปลูกในโรงเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    สหกรณ์นักเรียน

    การดำเนินการสหกรณ์นักเรียนให้ดำเนินการโดยนักเรียนทั้งหมดโดยมีครูเป็นที่ปรึกษา

    ดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    เมนูอาหารตามโปรแกรม Thai schoollunch

    ดำเนินการโดยส่งครูเข้าอบรมThai schoollunch แล้วนำความรู้มาขยายผลต่อครู นักเรียน ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดเมนูอาหาร แล้วให้ฝึกคำนวนคุณค่าทางโภชนาการ แต่ต้องคำนึงถึงวัตถุดิบที่มีในท้องถิ่น นำเมนูอาหารที่ได้มาจัดทำเป็นรายเดือน ให้โครงการอาหารกลางวันจัดทำอาหารกลางวันตามเมนู

    จัดทำเมนูอาหารกลางวันให้ครบทั้งภาคเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    กิจกรรมแก้มใสไร้พุง

    ติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนทั้งโรงเรียน คัดแยกนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ เข้าร่วมกิจกรรมแก้มใสไร้พุง โดยให้นักเรียนได้ออกำลังกายโดยใช้ฮูล่าฮูปทุกวันหลังเลิกเรียน วันละ 1 ชั่วโมงทุกวัน โดยบันทึกน้ำหนักก่อนร่วมกิจกรรมและ ระหว่างการทำกิจกรรมทุกๆเดือนปรากฏว่าน้ำหนักของนักเรียนลดลง

    ดำเนินกิจกรรมต่อเนื่องในปีการศึกษาต่อไป แต่ใข้วิธีการออกกำลังกาย แบบ บาสโลป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    กิจกรรมเด็กดีคุระบุรี..ยิ้มสวย

    ให้ความรู้เรื่องการดูแลรักษาสุขภาพฟันโดยครูและเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาล จ้ดกิจกรรมให้นักเรียนแปรงฟันพร้อมกันหลังทานอาหารกลางวัน และมีการประกวดเด้กดีคุระบุรี..ยิ้มสวย โดยให้เจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลเป็นผู้ตัดสิน และมอบของรางวัลเป็นกำลังใจ

    ดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง โดยมีกิจกรรมแปรงฟันโดยใช้เพลงประกอบ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    กิจกรรม คุระบุรีไม่่มีถังขยะ

    ระดมความคิดในการทำให้โรงเรียนคุระบุรีสะอาด ไร้ขยะ เป็นที่ชื่นชมของผู้มาเยี่ยมเยียน หลังจากนั้นเริ่มกิจกรรมโดยเก็บถังขยะที่มีอยู่ทั้งหมดออกไป ให้นักเรียนจัดการด้วยตนเองที่ไม่ให้มีขยะแม้เพียงชิ้นเดียวตกอยู่ในโรงเรียน โดยเก็บใส่กระเป๋ากลับบ้าน ไปทิ้งที่บ้าน หรือช่วยกันค้ดแยกจากห้องเรียนแล้วนำไปจัดการอย่างถูกวิธี สุขนิสัยในการดูแลเรื่องขยะก็เริ่มปลูกฝังให้เกิดขี้นกับนักเรียนทุกคน จนโรงเรียนคุระบุรีไม่มีถังขยะ และไม่มีขยะจริงๆ

    ดำเนินกิจกรรม คุระบุรีไม่มีถังขยะต่อไปทุกปีการศึกษาและขยายผลต่อโรงเรียนอื่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โรงเรียนคุระบุรี จังหวัด พังงา

    รหัสโครงการ ศรร.1413-097

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสมยศ ผลอินทร์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด