แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนเทศบาล 3 วัดสมุทราราม


“ โรงเรียนเทศบาล 3 วัดสมุทราราม ”

หมู่ที่ ๓ ตำบลลิปะน้อย อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาววิภากรโพธิ์วิเศษ

ชื่อโครงการ โรงเรียนเทศบาล 3 วัดสมุทราราม

ที่อยู่ หมู่ที่ ๓ ตำบลลิปะน้อย อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัด สุราษฎร์ธานี

รหัสโครงการ ศรร.1422-101 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ต.19

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนเทศบาล 3 วัดสมุทราราม จังหวัดสุราษฎร์ธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ ๓ ตำบลลิปะน้อย อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนเทศบาล 3 วัดสมุทราราม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนเทศบาล 3 วัดสมุทราราม



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนเทศบาล 3 วัดสมุทราราม " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ ๓ ตำบลลิปะน้อย อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี รหัสโครงการ ศรร.1422-101 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนเทศบาล 3 วัดสมุทราราม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 251 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ
1. การเกษตรในโรงเรียน
2. สหกรณ์นักเรียน
3. การจัดการบริหารของโรงเรียน
4. การติดตามภาวะโภชนาการ
5. การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
7. การจัดบริการสุขภาพ
8. การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย

โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ

สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ

  1. การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา
  2. สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนเทศบาล 3 วัดสมุทราราม จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเจริญเติบโตสมวัย มีอารมณ์สติปัญญาดีขึ้น
  2. นักเรียนมีทักษะในการทำงาน มีความมุ่งมั่นในการทำงานให้สำเร็จและรู้จักการทำงานร่วมกับผู้อื่น
  3. ผู้ปกครอง ชุมชน มีความรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการและสุขภาพของเด็กในปกครอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนมีโภชนาการที่ดี สุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์
    2. นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการตามหลักสุขาภิบาลอาหาร
    3. นักเรียนได้มีพื้นฐานในการฝึกปฏิบัติงาน อาชีพในการนำไปเป็นพื้นฐานดำเนินชีวิตต่อการเกษตร
    4. นักเรียนได้มีการนำกระบวนการทางด้านกิจกรรมสหกรณ์โรงเรียนให้ความรู้จักประหยัดและอดออม
    5. นักเรียนมีความรู้มีทักษะในการจัดสภาพแวดล้อมให้มีความเหมาะสมทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน
    6. นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปสู่ครอบครัว และชุมชน
    7. นักเรียนได้รับการพัฒนาทางสุขนิสัยที่ถูกสุขลักษณะ
    8. นักเรียนจะมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีผลการเรียนดี มีโภชนาการที่ดี และมีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดี
    9. โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน
    10. เกิดกระแสตืนตัวในชุมชนในเรื่องอาหารโภชนาการและสุขภาพของเด็ก

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรม ผักปลอดสารพิษพิชิตโรค

    วันที่ 17 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ครูและนักเรียนเตรียมแปลงสำหรับปลูกผัก ( กวางตุ้ง แตงกวา มะเขือ บวบ ผักบุ้ง ) 2.นักเรียนลงมือปลูกผักที่เตรียมต้นกล้าไว้ในแปลง 3.นักเรียนและครูวางแผนการดูแลผักที่ปลูกไว้โดยการแบ่งกลุ่ม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ได้ผลผลิตการเกษตรจากการปลูกผัก 5 ชนิดได้แก่  มะเขือ  ผักบุ้ง พริกขี้หนู ส่วน ผักอีก 3 ชนิด ได้แก่ กวางตุ้ง แตงกวา และ บวบ ไม่เติบโตเนื่องจากได้รับแสงแดดไม่เพียงพอ 2. จำนวนผลผลิตที่นำส่งสหกรณ์นักเรียน ได้ มะเขือเปราะ 3 กก. ผักบุ้ง 10 กก. พริกขี้หนู 1/2 กก.
    3. ได้ผลผลิตทำเมนูอาหารกลางวัน ได้แก่ แกงเขียวหวานไก่มะเขือเปราะ (ต้องซื้อเพิ่ม 4 กก. จากตลาดสดหน้าทอน) ผัดผักบุ้งได้ 1 มื้อโดยไม่ต้องซี้อจากภายนอก 

     

    233 226

    2. กิจกรรม รู้ไว้ใช่ว่า เรื่องการปรับปรุงดิน อบรมแกนนำนักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และครู เพื่อพัฒนาคุณภาพของดิน

    วันที่ 19 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ครูที่รับผิดชอบด้านการเกษตรและครูโภชนาการวางแผนงานร่วมกันโดยใช้ข้อมผลการวิเคราะห์สภาพดินของปี 2554 มาเป็นฐานในการวางแผนการเพาะปลุกที่เหมาะสมเพือให้ได้ผลผลิตที่ดี 2.ประชุมครูที่มีส่วนร่วมในการเข้ารร่วมกิจกรรม และเตรียมแปลงสาธิตเพื่อใช้ในการอบรมปรับปรุงดินชายทะเลให้เหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชผักที่ใช้ประกอบอาหารกลางวัน ได้แก่ ผักบุ้ง ผักคะน้า  พริกชี้ฟ้า โหระพา กระเพรา มะเขือเปราะ ถั่วพู มะละกอ ฟักเขียว ผักหวาน มันปู ต้นแคดอก มะขาม (หลายชนิดตามความสนใจของเด็กและสิ่งที่ต้องการบริโภค) 3.ส่งหนังสือเชิญวิทยากรจากสำนักงานเกษตรอำเภอ/ ผู้ปกครองนักเรียนทุกชั้นเรียนตั้งแต่ชั้นอนุบาล-ประถมศึกษาปีที่ 6 ห้องละ 3 คน
    4.เชิญหัวหน้ากองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลนครกาะสมุย มาเป็นประธานเปิดการประชุม 5.จัดอบรมจำนวน 2 วัน และเตรียมเมล็ดพันธุ์ในวันที่ 2 เพื่อนำไปทดสอบการปลูก หลังการปรับปรุงสภาพดิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.จำนวนนักเรียนแกนนำชั้นป.4-6 (20 คน) ครู ผู้ปกครอง และชุมชน(อสม. และกรรมการชุมชนลิปะน้อยในเขตเทศบาลนครเกาะสมุย) ได้รับการอบรมจำนวนรวม 62 คน
    2.มีการอบรมบรรยายการปรับปรุงจากสภาพความเป็น กรด-ด่าง ให้มีสภาพเป็นกลางเหมาะสมแก่การเพาะปลูกตามความต้องการของโรงเรียน 3.มีการสาธิตการปรับปรุงดิน จำนวน 4 กลุ่ม
    4.นักเรียนเก็บตัวอย่างดินจากแปลงสาธิต โดยสุ่มทั้ง 4 ด้าน โดยใช้วิธีแบบตักเฉียง 45 องศา และตักหน้าตรงโดยมีความลึก 10 ซม. นำดินมาผสมแล้วทดสอบด้วยน้ำยาเคมีเพื่อดูความเป็น กรด-ด่าง และจดบันทึก 5.มีการนำผลจากการทดสอบมาวิเคราะห์เพื่อปรับสภาพดินตามหลักวิชาที่ได้เรียนรู้ (ในวันแรก) 6.มีการนำเมล็ดพันธุ์ผักที่เตรียมไว้ ได้แก่ ผักบุ้ง ผักคะน้า ผักกวางตุ้ง บวบ มะเขือเปราะ พริกขี้หนู มาทดลองปลูกในแปลงที่ปรับสภาพดินไว้เรียบร้อยแล้วจากวันที่ 1

     

    53 50

    3. ประชุมสัญจร งวด1

    วันที่ 17 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จังหวัดสงขลา  วันที่  13  ตุลาคม  2559 จังหวัดสงขลา  วันที่  4  เมษายน  2560

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครูและผู้รับผิดชอบโครงการได้เข้าร่วมประชุมโครงการเด็กไทยแก้มใส

     

    2 2

    4. กิจกรรม โรงเรียนเทศบาล 3 วัดสมุราราม สืบสานศิลปะมวยไทยเพื่อสุขภาพ

    วันที่ 30 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมกลุ่มคณะกรรมการโครงการเพื่อจัดทำโครงการ 2.ประชุมคณะกรรมการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
    3. เขียนโครงการ และจัดเตรียมงบประมาณในการดำเนินโครงการ 4.ประชาสัมพันธ์โครงการ จัดเตรียมอุปกรณ์ เครื่องมือ และสถานที่
    5.จัดกิจกรรมทุกวันอังคารกับวันพฤหัสบดี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง
    2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความสนใจในการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น และรู้จักใช้เวลาว่างให้ เป็นประโยชน์
    3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความสนใจและประโยชน์ในการออกกำลังกาย
    4. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น  มีความสามัคคี
    5. เป็นแบบอย่างการส่งเสริมสุขภาพแก่นักเรียน  ชุมชน

     

    260 260

    5. กิจกรรม เพื่อสุขภาพที่ดี ชีวีมีสุข

    วันที่ 4 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ซื้อโปรเตอร์เกี่ยวกับอาหาร พืชผักสวนครัวต่าง ๆ กระดาษสี ปากกาเคมี กระดาษกาว 2 หน้า

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีความรู้ในเรื่องของอาหาร ผัก ผลไม้ ต่าง ๆ

     

    218 218

    6. การเลี้ยงสัตว์

    วันที่ 9 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เลี้ยงปลาในบ่อ 500 ตัว เลี้ยงไก่ 20 ตัว


    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนเทศบาล ๓ วัดสมุทรารามมีวัตถุดิบเพื่อทำอาหารกลางวันจากกิจกรรมทั้งหมดแบบบูรณาการ

    1. นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันทุกคน
    2. มีพืช ผัก ไก่ ปลา สนับสนุนการประกอบอาหารกลางวัน
    3. นักเรียนปลูกผักชั้นละ 1 แปลง
    4. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 รับผิดชอบโครงการเลี้ยงไก่ และเลี้ยงปลาในสระ
    5. นักเรียน ครู ผู้ปกครองได้พบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และดูแลนักเรียนได้ทั่วถึง

     

    233 233

    7. กิจกรรม โรงเรียนเทศบาล 3 วัดสมุทราราม ฮูลาฮูบ สร้างสรรค์ ลดพุง ลดโรค

    วันที่ 10 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะกรรมการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
    เขียนโครงการ และจัดเตรียมงบประมาณในการดำเนินโครงการ ประชาสัมพันธ์โครงการ จัดเตรียมอุปกรณ์ เครื่องมือ และสถานที่
    จัดกิจกรรมฮูลาฮูบทุกวันจันทร์,วันพุธ,วันศุกร์ทุกอังคารกับ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. สามารถเผาผลาญไขมันได้ดี จากการที่กล้ามเนื้อมัดใหญ่ได้ทำงาน ซึ่งทำให้มีการไหลเวียน เลือดเพิ่มมากขึ้น อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มสูงขึ้น ทำให้ร่างกายมีปริมาณไขมันใต้ชั้นผิวหนังลดน้อยลง ส่งผลให้ร่างกายมีน้ำหนักลดลง
            2. เพิ่มความกระชับและแข็งแรงของกล้ามเนื้อบริเวณหน้าท้อง และหลังส่วนล่าง รวมทั้งส่งผลให้กล้ามเนื้อสะโพก เอวและก้นมีความกระชับมากขึ้น
            3. เพิ่มความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อแกนกลางของร่างกาย
            4. ทำให้ระบบประสาทสัมพันธ์ และการทรงตัวพัฒนาดีขึ้น
            5. เพิ่มสมรรถนะทางด้านแอโรบิก โดยทำให้หัวใจมีความแข็งแรง อดทนเพิ่มมากขึ้น 

     

    260 250

    8. กิจกรรม การอบรมการทำน้ำหมักชีวภาพ น้ำยาอเนกประสงค์จากเศษผักผลไม้

    วันที่ 29 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ครูทำความเข้าใจกับนักเรียนกลุ่มอาชีพทำน้ำหมักชีวภาพและน้ำยาอเนกประสงค์จากเศษผักผลไม้ ครู นักเรียนและเกษตรอำเภอเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการจัดทำน้ำหมักชีวภาพและน้ำยาอเนกประสงค์จากเศษผักผลไม้ วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับการทำน้ำหมักชีวภาพและน้ำยาอเนกประสงค์จากเศษผักผลไม้ จากนั้นร่วมกับครู นักเรียน นักการภารโรงลงมือปฏิบัติทำน้ำหมักชีวภาพและน้ำยาอเนกประสงค์จากเศษผักผลไม้
    นักเรียนช่วยกันสรุปเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้และขั้นตอนการทำทำน้ำหมักชีวภาพและน้ำยาอเนกประสงค์จากเศษผักผลไม้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • นักเรียนสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนวิธีการทำน้ำยาล้างจานจากพืชสมุนไพรได้ถูกต้องและประสบผลสำเร็จ
    • นักเรียนสามารถนำความรู้วิธีการทำน้ำยาล้างจานจากพืชสมุนไพรไปทำผลิตภัณฑ์ใช้ในบ้าน -นักเรียนสามารถนำความรู้วิธีการทำน้ำยาล้างจานจากพืชสมุนไพรไปทำผลิตภัณฑ์จำหน่ายในชุมชน

     

    53 53

    9. กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน

    วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กิจกรรมโรงเรียนธนาคาร
    กิจกรรมสหกรณ์ร้านค้า

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.นักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้พื้นฐานเรื่องสหกรณ์และฝึกให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริง
    2.นักเรียนร้อยละ 80 มีการวางแผนในการใช้จ่ายและการลงทุน
    3.นักเรียนร้อยละ 80 มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย
    4. นักเรียนร้อยละ 80 นิสัยรักการประหยัดอดออม
    5 โรงเรียนมีร้านค้าสวัสดิการบริการแก่ครูและนักเรียน
    6 ครูและนักเรียนเข้าใจหลักพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
    7 โรงเรียนนำผลการดำเนินงานไปพัฒนาการศึกษา

     

    89 90

    10. กิจกรรม เด็กรุ่นใหม่เลือกกินอย่างไรให้ห่างไกลโรคอ้วน

    วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดอบรมให้ความรู้         - โครงการสาาระเกี่ยวกับผักและควบคุมอาหาร - วิธีแก้ปัญหาการขาดสารอาหารโรคอ้วนและเด็กไม่กินผัก - การส่งเสริม การใช้สื่อการเรียนการสอน - แก้ปัญหาเด็กไม่กินผัก ขาดสารอาหาร โรคอ้วน - ส่งเสริมให้โรงเรียนเป็นโรงเรียนที่ดีต่อสุขภาพนักเรียน - ให้ความรู้กับเด็กนักเรียนทุกคนให้กินผักและโทษของดรคอ้วน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียน ครู ผู้ปกครองและชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในการเลือกรับประทานอาหาร

     

    140 137

    11. โรงเรียนเทศบาล 3 วัดสมุทราราม บริการดี ชีวีปลอดภัย อบรมเรื่องการใช้ยาสามัญประจำบ้านเบื้องต้น

    วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ระยะเวลาในการอบรม  1 วัน  วิทยากร  2  คน  ครู จำนวน 3  คน  แกนนำนักเรียน จำนวน  16  คน เจ้าหน้าที่อนามัยตำบลลิปะน้อย 2 คน แกนนำผู้ปกครอง  16 คน  รวม  39  คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ๑.มีผู้นำนักเรียนด้านสุขภาพ สามารถช่วยงานครูอนามัยได้ในเบื้องต้น
    ๒.นักเรียนสามารถตรวจหาความผิดปกติของร่างกายตนเองและเพื่อนนักเรียนได้ในเบื้องต้นและลงบันทึกได้ ๓.นักเรียนได้ตระหนักความสำคัญของการดูแลสุขภาพและเป็นตัวอย่างในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว

     

    39 39

    12. กิจกรรมอบรมแม่ครัว แกนนำนักเรียน ครู ผู้ปกครอง และชุมชน เกี่ยวกับโปรแกรม Thai School Lunch

    วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ครูให้ความรูเกี่ยวกับอาหารหลัก 5 หมู่ สารอาหารต่าง ๆที่นักเรียนควรได้รับในแต่ละมื้อ ใน 1 วัน 2.ครูอธิบายถึงประโยชน์ในการจัดสำหรับอาหารแบบTSL
    3.ครูให้นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรมการจัดสำหรับอาหารด้วยตนเองตามความเข้าใจ 4.ครูจัดสำหรับอาหารแบบTSL และเปรียบเทียบกับสำหรับอาหารของนักเรียน 5.ครูให้นักเรียนอธิบายถึงความแตกต่างระหว่างสำหรับที่นักเรียนจัดและครูจัดโดยละเอียดตามความเข้าใจ 6.ครูสรุปให้นักเรียนเห็นถึงประโยชน์ในการจัดสำหรับอาหารแบบTSL

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต = แกนนำนักเรียนผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดสำหรับอาหารแบบ TSL มากขึ้น ผู้ปกครองสามารถดูแลสุขภาพของลูกหลานของตนเองได้
    ผลลัพธ์ = พัฒนานักเรียนที่อ้วน ผอม และเตี้ย  ให้มีจำนวนที่ลดลง

     

    19 36

    13. กิจกรรม โรงเรียนเทศบาล 3 วัดสมุทราราม สานฝันเด็กไทยแก้มใสสู่เครือข่ายยั่งยืน

    วันที่ 7 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรม - แนะแนวอาชีพ
    - จัดกิจกรรมหารายได้ระหว่าง เรียน
    - จัด “ตลาดนัดอาชีพ”

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครูผู้สอนร้อยละ 95 ได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  จัดกิจกรรม การเรียนรู้แบบโครงงาน นักเรียนร้อยละ 90 ได้เรียนรู้ในเรื่องที่ตนเองสนใจและบุคคลในอาชีพต่าง ๆ นักเรียนร้อยละ 90 มีความรับผิดชอบ อดทน ขยัน ประหยัด และอดออม
    ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง นักเรียนร้อยละ 90 มีทักษะในการสื่อสารการซื้อและการขาย นักเรียนร้อยละ 90 ได้ร่วมกิจกรรมตลาดนัดอาชีพ

     

    300 300

    14. คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ

    วันที่ 4 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ

     

    0 0

    15. ถอนเงินปิดบัญชีโครงการ

    วันที่ 4 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ถอนเงินปิดบัญชีโครงการ

     

    0 0

    16. ประชุมติดตามการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 2

    วันที่ 4 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมติดตามการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 2

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมติดตามการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 2

     

    0 0

    17. ซื้อหน้าดินสำหรับปลูก เมล็ดถั่วลิสงแห้ง เมล็ดพันธ์ถั่งพูล

    วันที่ 7 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ปรับหน้าดินใหม่ปรับปรุงจากดินเดิมที่มีคุณภาพดินไม่สมบูรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ปรับหน้าดินใหม่ปรับปรุงจากดินเดิมที่มีคุณภาพดินไม่สมบูรณ์

     

    244 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเจริญเติบโตสมวัย มีอารมณ์สติปัญญาดีขึ้น
    ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนได้รับอาหารกลางวันตามมาตรฐานโภชาการ มีผลการประเมิน การเจริญเติบโตสมส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 ของนักเรียนทั้งหมด 2.มีผลสัมฤทธิ์ด้านอ่านคิดวิเคราะห์ของนักเรียนเป็นรายบุคคลที่ดีขึ้นในภาคเรียนที่ 2 เมื่อเปรียบเทียบกับภาคเรียนที่ 1/2559 3.ผลการเรียนของแต่ละกลุ่มสาระรายบุคคลดีขึ้นในภาคเรียนที่ 2 เมื่อเปรียบเทียบกับภาคเรียนที่ 1/2559

     

    2 นักเรียนมีทักษะในการทำงาน มีความมุ่งมั่นในการทำงานให้สำเร็จและรู้จักการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนมีความสามารถและมีผลงานแสดงเป็นหลักฐานในการทำงานเป็นทีมใน กิจกรรการเกษตร กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน และกิจกรรมพละศึกษา

     

    3 ผู้ปกครอง ชุมชน มีความรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการและสุขภาพของเด็กในปกครอง
    ตัวชี้วัด : 1.ผู้ปกครองได้แสดงความคิดเห็นด้านการจัดการอาหารและดูแลสุขภาพของเด็กนักเรียน ได้ถูกต้องและแสดงถึงการมีความรู้ความตื่นตัวที่สนใจมากขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.การจัดการอาหารที่บ้านได้ส่งเสริมเมนูที่เด็กได้บริโภคผัก-ผลไม้เพิ่มขึ้นตามสัดส่วนมาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของครอบครัวนักเรียน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเจริญเติบโตสมวัย มีอารมณ์สติปัญญาดีขึ้น (2) นักเรียนมีทักษะในการทำงาน มีความมุ่งมั่นในการทำงานให้สำเร็จและรู้จักการทำงานร่วมกับผู้อื่น (3) ผู้ปกครอง ชุมชน มีความรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการและสุขภาพของเด็กในปกครอง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โรงเรียนเทศบาล 3 วัดสมุทราราม

    รหัสโครงการ ศรร.1422-101 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.19 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    การปลูกหัวหอมแดงในขวดน้ำ การปลูกถั่วงอกคอนโด

    นำกล่องพลาสติก หรือขวดน้ำพลาสติก ใช้แล้วทิ้ง และตะกร้าขนมจีนเล็กคว่าลงไปในกล่องพลาสติกเติมน้ำให้สูงถึงเข่งขนมจีน นำหัวหอมแดง ปาดหัวทิ้งนิดเดียว เรียงวางบนเข่ง แล้วนำไปตากแดดจะสังเกตุว่าภายใน 2วัน รากเริ่มเยอะขึ้น ก็ให้ทำการเปลี่ยนน้ำทุกเช้า น้ำจะได้ไม่เหม็น และต้นหอมก็จะสูงเร็วด้วยคะ เบ็ดเสร็จประมาณ 10-13วันเราก็ตัดต้นหอมไปทำกับข้าวได้ ผลที่ได้ - ต้นหอมที่ปลูกด้วยน้ำเปล่า แบบไม่ใส่ปุ๋ยจะได้กลิ่นที่แรงกว่าที่ขายที่ตลาด - ต้นหอมที่ตลาดขาย จะได้ใบที่อวบอิ่มกว่า เพราะมันได้ปุ๋ยดีกว่านั่นเองต้นหอมที่ปลูกด้วยน้ำเปล่าจะ เส้นเล็กๆ สูงประมาณ 8 นิ้วคะก็เริ่มตัดกินได้เลยหลังจากนั้นจะนำหัวหอมมาทำยำ หรือจะนำไปปลูกต่อด้วยวิธีเดิมก็ได้

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โรงเรียนเทศบาล 3 วัดสมุทราราม จังหวัด สุราษฎร์ธานี

    รหัสโครงการ ศรร.1422-101

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาววิภากรโพธิ์วิเศษ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด