ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนเทศบาล 3 วัดสมุทราราม |
สังกัด | ?? |
หน่วยงานต้นสังกัด | ?? |
ที่อยู่โรงเรียน | หมู่ที่ ๓ ตำบลลิปะน้อย อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี |
จำนวนนักเรียน | 237 คน |
ช่วงชั้น | อนุบาล,ประถม |
ผู้อำนวยการ | นางสาววิภากรโพธิ์วิเศษ |
ครูผู้รับผิดชอบ | นางสาวกัญญาวดี นิลเพชร |
ปรับหน้าดินใหม่ปรับปรุงจากดินเดิมที่มีคุณภาพดินไม่สมบูรณ์
ปรับหน้าดินใหม่ปรับปรุงจากดินเดิมที่มีคุณภาพดินไม่สมบูรณ์
ประชุมติดตามการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 2
ประชุมติดตามการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 2
ถอนเงินปิดบัญชีโครงการ
คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ
คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ
จัดกิจกรรม
- แนะแนวอาชีพ
- จัดกิจกรรมหารายได้ระหว่าง เรียน
- จัด “ตลาดนัดอาชีพ”
ครูผู้สอนร้อยละ 95 ได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จัดกิจกรรม การเรียนรู้แบบโครงงาน
นักเรียนร้อยละ 90 ได้เรียนรู้ในเรื่องที่ตนเองสนใจและบุคคลในอาชีพต่าง ๆ
นักเรียนร้อยละ 90 มีความรับผิดชอบ อดทน ขยัน ประหยัด และอดออม
ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
นักเรียนร้อยละ 90 มีทักษะในการสื่อสารการซื้อและการขาย
นักเรียนร้อยละ 90 ได้ร่วมกิจกรรมตลาดนัดอาชีพ
1.ครูให้ความรูเกี่ยวกับอาหารหลัก 5 หมู่ สารอาหารต่าง ๆที่นักเรียนควรได้รับในแต่ละมื้อ ใน 1 วัน
2.ครูอธิบายถึงประโยชน์ในการจัดสำหรับอาหารแบบTSL
3.ครูให้นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรมการจัดสำหรับอาหารด้วยตนเองตามความเข้าใจ
4.ครูจัดสำหรับอาหารแบบTSL และเปรียบเทียบกับสำหรับอาหารของนักเรียน
5.ครูให้นักเรียนอธิบายถึงความแตกต่างระหว่างสำหรับที่นักเรียนจัดและครูจัดโดยละเอียดตามความเข้าใจ
6.ครูสรุปให้นักเรียนเห็นถึงประโยชน์ในการจัดสำหรับอาหารแบบTSL
ผลผลิต = แกนนำนักเรียนผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดสำหรับอาหารแบบ TSL มากขึ้น ผู้ปกครองสามารถดูแลสุขภาพของลูกหลานของตนเองได้
ผลลัพธ์ = พัฒนานักเรียนที่อ้วน ผอม และเตี้ย ให้มีจำนวนที่ลดลง
ซื้อโปรเตอร์เกี่ยวกับอาหาร พืชผักสวนครัวต่าง ๆ กระดาษสี ปากกาเคมี กระดาษกาว 2 หน้า
นักเรียนมีความรู้ในเรื่องของอาหาร ผัก ผลไม้ ต่าง ๆ
จังหวัดสงขลา วันที่ 13 ตุลาคม 2559 จังหวัดสงขลา วันที่ 4 เมษายน 2560
ครูและผู้รับผิดชอบโครงการได้เข้าร่วมประชุมโครงการเด็กไทยแก้มใส
ระยะเวลาในการอบรม 1 วัน วิทยากร 2 คน ครู จำนวน 3 คน แกนนำนักเรียน จำนวน 16 คน เจ้าหน้าที่อนามัยตำบลลิปะน้อย 2 คน แกนนำผู้ปกครอง 16 คน รวม 39 คน
๑.มีผู้นำนักเรียนด้านสุขภาพ สามารถช่วยงานครูอนามัยได้ในเบื้องต้น
๒.นักเรียนสามารถตรวจหาความผิดปกติของร่างกายตนเองและเพื่อนนักเรียนได้ในเบื้องต้นและลงบันทึกได้
๓.นักเรียนได้ตระหนักความสำคัญของการดูแลสุขภาพและเป็นตัวอย่างในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว
จัดอบรมให้ความรู้ - โครงการสาาระเกี่ยวกับผักและควบคุมอาหาร - วิธีแก้ปัญหาการขาดสารอาหารโรคอ้วนและเด็กไม่กินผัก - การส่งเสริม การใช้สื่อการเรียนการสอน - แก้ปัญหาเด็กไม่กินผัก ขาดสารอาหาร โรคอ้วน - ส่งเสริมให้โรงเรียนเป็นโรงเรียนที่ดีต่อสุขภาพนักเรียน - ให้ความรู้กับเด็กนักเรียนทุกคนให้กินผักและโทษของดรคอ้วน
นักเรียน ครู ผู้ปกครองและชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในการเลือกรับประทานอาหาร
กิจกรรมโรงเรียนธนาคาร
กิจกรรมสหกรณ์ร้านค้า
1.นักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้พื้นฐานเรื่องสหกรณ์และฝึกให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริง
2.นักเรียนร้อยละ 80 มีการวางแผนในการใช้จ่ายและการลงทุน
3.นักเรียนร้อยละ 80 มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย
4. นักเรียนร้อยละ 80 นิสัยรักการประหยัดอดออม
5 โรงเรียนมีร้านค้าสวัสดิการบริการแก่ครูและนักเรียน
6 ครูและนักเรียนเข้าใจหลักพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
7 โรงเรียนนำผลการดำเนินงานไปพัฒนาการศึกษา
ครูทำความเข้าใจกับนักเรียนกลุ่มอาชีพทำน้ำหมักชีวภาพและน้ำยาอเนกประสงค์จากเศษผักผลไม้
ครู นักเรียนและเกษตรอำเภอเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการจัดทำน้ำหมักชีวภาพและน้ำยาอเนกประสงค์จากเศษผักผลไม้
วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับการทำน้ำหมักชีวภาพและน้ำยาอเนกประสงค์จากเศษผักผลไม้ จากนั้นร่วมกับครู นักเรียน นักการภารโรงลงมือปฏิบัติทำน้ำหมักชีวภาพและน้ำยาอเนกประสงค์จากเศษผักผลไม้
นักเรียนช่วยกันสรุปเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้และขั้นตอนการทำทำน้ำหมักชีวภาพและน้ำยาอเนกประสงค์จากเศษผักผลไม้
- นักเรียนสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนวิธีการทำน้ำยาล้างจานจากพืชสมุนไพรได้ถูกต้องและประสบผลสำเร็จ
- นักเรียนสามารถนำความรู้วิธีการทำน้ำยาล้างจานจากพืชสมุนไพรไปทำผลิตภัณฑ์ใช้ในบ้าน -นักเรียนสามารถนำความรู้วิธีการทำน้ำยาล้างจานจากพืชสมุนไพรไปทำผลิตภัณฑ์จำหน่ายในชุมชน
ประชุมคณะกรรมการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
เขียนโครงการ และจัดเตรียมงบประมาณในการดำเนินโครงการ
ประชาสัมพันธ์โครงการ จัดเตรียมอุปกรณ์ เครื่องมือ และสถานที่
จัดกิจกรรมฮูลาฮูบทุกวันจันทร์,วันพุธ,วันศุกร์ทุกอังคารกับ
- สามารถเผาผลาญไขมันได้ดี จากการที่กล้ามเนื้อมัดใหญ่ได้ทำงาน ซึ่งทำให้มีการไหลเวียน เลือดเพิ่มมากขึ้น อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มสูงขึ้น ทำให้ร่างกายมีปริมาณไขมันใต้ชั้นผิวหนังลดน้อยลง ส่งผลให้ร่างกายมีน้ำหนักลดลง
2. เพิ่มความกระชับและแข็งแรงของกล้ามเนื้อบริเวณหน้าท้อง และหลังส่วนล่าง รวมทั้งส่งผลให้กล้ามเนื้อสะโพก เอวและก้นมีความกระชับมากขึ้น
3. เพิ่มความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อแกนกลางของร่างกาย
4. ทำให้ระบบประสาทสัมพันธ์ และการทรงตัวพัฒนาดีขึ้น
5. เพิ่มสมรรถนะทางด้านแอโรบิก โดยทำให้หัวใจมีความแข็งแรง อดทนเพิ่มมากขึ้น
เลี้ยงปลาในบ่อ 500 ตัว
เลี้ยงไก่ 20 ตัว
ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนเทศบาล ๓ วัดสมุทรารามมีวัตถุดิบเพื่อทำอาหารกลางวันจากกิจกรรมทั้งหมดแบบบูรณาการ
- นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันทุกคน
- มีพืช ผัก ไก่ ปลา สนับสนุนการประกอบอาหารกลางวัน
- นักเรียนปลูกผักชั้นละ 1 แปลง
- นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 รับผิดชอบโครงการเลี้ยงไก่ และเลี้ยงปลาในสระ
- นักเรียน ครู ผู้ปกครองได้พบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และดูแลนักเรียนได้ทั่วถึง
1.ประชุมกลุ่มคณะกรรมการโครงการเพื่อจัดทำโครงการ
2.ประชุมคณะกรรมการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
3. เขียนโครงการ และจัดเตรียมงบประมาณในการดำเนินโครงการ
4.ประชาสัมพันธ์โครงการ จัดเตรียมอุปกรณ์ เครื่องมือ และสถานที่
5.จัดกิจกรรมทุกวันอังคารกับวันพฤหัสบดี
- นักเรียนได้ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความสนใจในการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น และรู้จักใช้เวลาว่างให้ เป็นประโยชน์
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความสนใจและประโยชน์ในการออกกำลังกาย
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีความสามัคคี
- เป็นแบบอย่างการส่งเสริมสุขภาพแก่นักเรียน ชุมชน
1.ครูที่รับผิดชอบด้านการเกษตรและครูโภชนาการวางแผนงานร่วมกันโดยใช้ข้อมผลการวิเคราะห์สภาพดินของปี 2554 มาเป็นฐานในการวางแผนการเพาะปลุกที่เหมาะสมเพือให้ได้ผลผลิตที่ดี
2.ประชุมครูที่มีส่วนร่วมในการเข้ารร่วมกิจกรรม และเตรียมแปลงสาธิตเพื่อใช้ในการอบรมปรับปรุงดินชายทะเลให้เหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชผักที่ใช้ประกอบอาหารกลางวัน ได้แก่ ผักบุ้ง ผักคะน้า พริกชี้ฟ้า โหระพา กระเพรา มะเขือเปราะ ถั่วพู มะละกอ ฟักเขียว ผักหวาน มันปู ต้นแคดอก มะขาม (หลายชนิดตามความสนใจของเด็กและสิ่งที่ต้องการบริโภค)
3.ส่งหนังสือเชิญวิทยากรจากสำนักงานเกษตรอำเภอ/ ผู้ปกครองนักเรียนทุกชั้นเรียนตั้งแต่ชั้นอนุบาล-ประถมศึกษาปีที่ 6 ห้องละ 3 คน
4.เชิญหัวหน้ากองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลนครกาะสมุย มาเป็นประธานเปิดการประชุม
5.จัดอบรมจำนวน 2 วัน และเตรียมเมล็ดพันธุ์ในวันที่ 2 เพื่อนำไปทดสอบการปลูก หลังการปรับปรุงสภาพดิน
1.จำนวนนักเรียนแกนนำชั้นป.4-6 (20 คน) ครู ผู้ปกครอง และชุมชน(อสม. และกรรมการชุมชนลิปะน้อยในเขตเทศบาลนครเกาะสมุย) ได้รับการอบรมจำนวนรวม 62 คน
2.มีการอบรมบรรยายการปรับปรุงจากสภาพความเป็น กรด-ด่าง ให้มีสภาพเป็นกลางเหมาะสมแก่การเพาะปลูกตามความต้องการของโรงเรียน
3.มีการสาธิตการปรับปรุงดิน จำนวน 4 กลุ่ม
4.นักเรียนเก็บตัวอย่างดินจากแปลงสาธิต โดยสุ่มทั้ง 4 ด้าน โดยใช้วิธีแบบตักเฉียง 45 องศา และตักหน้าตรงโดยมีความลึก 10 ซม. นำดินมาผสมแล้วทดสอบด้วยน้ำยาเคมีเพื่อดูความเป็น กรด-ด่าง และจดบันทึก
5.มีการนำผลจากการทดสอบมาวิเคราะห์เพื่อปรับสภาพดินตามหลักวิชาที่ได้เรียนรู้ (ในวันแรก)
6.มีการนำเมล็ดพันธุ์ผักที่เตรียมไว้ ได้แก่ ผักบุ้ง ผักคะน้า ผักกวางตุ้ง บวบ มะเขือเปราะ พริกขี้หนู มาทดลองปลูกในแปลงที่ปรับสภาพดินไว้เรียบร้อยแล้วจากวันที่ 1
1.ครูและนักเรียนเตรียมแปลงสำหรับปลูกผัก ( กวางตุ้ง แตงกวา มะเขือ บวบ ผักบุ้ง ) 2.นักเรียนลงมือปลูกผักที่เตรียมต้นกล้าไว้ในแปลง 3.นักเรียนและครูวางแผนการดูแลผักที่ปลูกไว้โดยการแบ่งกลุ่ม
1.ได้ผลผลิตการเกษตรจากการปลูกผัก 5 ชนิดได้แก่ มะเขือ ผักบุ้ง พริกขี้หนู ส่วน ผักอีก 3 ชนิด ได้แก่ กวางตุ้ง แตงกวา และ บวบ ไม่เติบโตเนื่องจากได้รับแสงแดดไม่เพียงพอ
2. จำนวนผลผลิตที่นำส่งสหกรณ์นักเรียน ได้ มะเขือเปราะ 3 กก. ผักบุ้ง 10 กก. พริกขี้หนู 1/2 กก.
3. ได้ผลผลิตทำเมนูอาหารกลางวัน ได้แก่ แกงเขียวหวานไก่มะเขือเปราะ (ต้องซื้อเพิ่ม 4 กก. จากตลาดสดหน้าทอน) ผัดผักบุ้งได้ 1 มื้อโดยไม่ต้องซี้อจากภายนอก