ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านนาดี

รหัสโครงการ ศรร.1312-051 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.5 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

การจัดทำรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch) ที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน โดยผู้นำนักเรียนเป็นผู้ดำเนินการ

อบรมนักเรียนผู้รับผิดชอบในการลงข้อมูล รายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch ผู้รับผิดชอบจัดทำรายการอาหารกลางวัน เสนอรายการอาหารกลางวันต่อครูผู้รับผิดชอบเพื่อครวจสอย ลงรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch)ที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน นำรายการวัตถุดิบที่ต้องซื้อไปให้แม่ครัว ตักอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของโภชนาการที่เหมาะสมกับวัยโดยให้นักเรียนแต่ละชั้นรับผิดชอบในการตักอาหารเอง สำรวจความพึงพอใจ

ขยายผลการโปรแกรม Thai School Lunch ไปยังโรงเรียนอื่นๆ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

ศูนย์อนามันที่ 7 ขอนแก่น เป็นที่ปรึกษา/พี่เลี้ยง/จัดอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับเด็กไทยแก้มใส สส.จ.ขอนแก่นออกเยี่ยมเยียนให้กำลังใจ/คอยอำนวยความสะดวกเพื่อให้งานบรรลุความสำเร็จ รพ.สต.บ้านหนองแวงเป็นที่ปรึกษา/พี่เลี้ยง คณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านนาดีร่วมเป็นคณะทำงานสนับสนุนพันธ์ไม้เป็นที่ปรึกษา / พี่เลี้ยง /ให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผัก อบต.กุดธาตุเป็นที่ปรึกษา เครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน ร่วมเป็นคณะทำงาน ขนมไทยอ่อนหวาน / ลดหวานมันเค็ม / ของกิ๋นบ้านเฮา/แรลลี่ลดพุง /ปลูกผักปลอดสารพิษ ร่วมเป็นคณะทำงาน ขนมไทยอ่อนหวาน / ลดหวานมันเค็ม / ของกิ๋นบ้านเฮา/แรลลี่ลดพุง ฯลฯ

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

โรงเรียนได้พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้สะอาด ปลอดภัยสวยงาม จัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมและเพียงพอกับนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนเช่น น้ำดื่มที่สะอาด / ที่ล้างมือ / ห้องส้วม / การจัดการขยะ แมลง สัตว์นำโรค อย่างสะอาดและปลอดภัย โดยได้รับความร่วมมือระหว่างโรงเรียนชุมชน และเครือข่ายท้องถิ่นในการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ขยายแหล่งผลิตเกษตรปลอดสารพิษสำหรับโครงการอาหารกลางวันจากเดิมที่มีอยู่

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

การสร้างทีมงาน เพื่อทำกิจกรรมร่วมกัน เพื่อที่จะทำงานให้บรรลุเป้าหมายตามที่ได้รับมอบหมาย โดยเริ่มต้นจากการรับรู้ปัญหาที่เกิดขึ้น จากนั้นทีมงานในกลุ่มจะช่วยกันรวบรวมและร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อทำความเข้าใจกับปัญหานั้น โดยเปิดโอกาสให้ทีมงานทุกคนแสดงความคิดเห็น และมีส่วนร่วมในการวางแผนและนำไปปฏิบัติ แล้วจึงจะประเมินความสำเร็จและปัญหาร่วมกัน การสร้างเครือข่ายแก่ฃุมฃนและผู้ปกครองนักเรียนโดยมีเป้าหมายในการทำงานร่วมกัน เช่นการให้ความสำคัญด้านโภชนาการ / การปลูกผักปลอดสารพิษ /อนามัยส่วนบุคคล

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

กระบวนการเรียนรู้ของครู นอกจากการศึกษาค้นคว้า หาความรู้ ในสิ่งที่เกี่ยวข้องแล้ว ยังมีปัญหามากมายที่ท้าทายความสามารถของครูในการค้นพบองค์ความรู้ใหม่ เพื่อนำมาใช้ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในโรงเรียนให้ดียิ่งขึ้น เช่น ปัญหาเด็กอ้วนมาก ครูต้องใช้วิธีการหลากหลายวิธีในการแก้ปัญหาดังกล่าว หรือหากครูขาดความรู้ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ผู้บริหารอาจเชิญวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญเมาให้ความรู้เบื้องต้น แล้วลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง หรืออาจไปศึกษาดูงานโรงเรียนที่ประสบผลสำเร็จในการจัดกิจกรรมดังกล่าว ส่วนกระบวนการเรียนรู้ของนักเรียนใช้วิธีการสร้างความตระหนัก /ปฏิบัติจริง/ เสริมแรง / ทดสอบ บ่อยๆ ซึ่งจะทำให้นักเรียนเกิดทักษะในการดำเนินชีวิต ส่วนกระบวนการเรียนรู้ของแม่ครัว คือ ให้แม่ครัวเปิดใจยอมรับสิ่งดีๆ เปิดใจยอมรับสิ่งใหม่ๆที่ไม่เคยรู้มาก่อน นำแม่ครัวไปอบรมเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจมากขึ้นและนำไปปฏิบัติ มีการเสริมแรง กล่าวชมเชยยกย่องเมื่อทำความดี

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชนซึ่งโรงเรียนเน้นกระบวนการมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน เริ่มตั้งแต่การประชุมระดมความคิดเพื่อขับเคลื่อนโครงการเด็กไทยแก้มใส /จัดอบรมเพื่อให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษแก่ผู้ปกครองและชุมชน /เชิญชวนผู้ปกครอง ชุมชนมาช่วยปรับภูมิทัศน์เพื่อให้เหมาะกับเป็นศูนย์การเรียนรู้ /เชิญผู้ปกครองและคนในชุมชนมาเป็นวิทยากรเรื่องการปลูกผัก การทำของกิ๋นบ้านเฮา การทำขนมไทยอ่อนหวาน ฯลฯ / ครูออกเยี่ยมบ้านนักเรียนกลุ่มเสี่ยงในชุมชน เพื่อศึกษาการบริโภค ครัวเรือนพร้อมทั้งให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคแก่ผู้ปกครอง นักเรียนกลุ่มเสี่ยง / ซึ่งเชิญชวนให้ตนในครอบครัวร่วมกันปลูกผักปลอดสารพิษกินเอง ซึ่งได้รับความสนใจจากผู้ปกครองและชุมชนเป็นอย่างดียิ่ง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

นักเรียนและคนในชุมชนได้รับความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ มีการปลูกผักกินเองทั้งในโรงเรียนและในครัวเรือนเพิ่มขึ้น

ภาพถ่าย สถานที่จริง

ขยายผลโดยส่งเสริมให้ผู้ปกครองและคนในชุมชนปลูกผักปลอดสารพิษกินเอง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

นักเรียนและคนในชุมชนได้รับความรู้เรื่องการเลี้ยงไก่ไขในโรงเรียนและในครัวเรือนเพิ่มขึ้น

ภาพถ่าย สถานที่จริง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

โรงเรียนมีฐานการเรียนรู้ สถานีที่ 4 ครบเครื่องเรื่องปลา (การเลี้ยงปลา) ส่งขายให้โครงการอาหารกลางวันโดยผ่านสหกรณ์โรงเรียนส่งขายให้โครงการอาหารกลางวันโดยผ่านสหกรณ์โรงเรียน

ภาพถ่าย สถานที่จริง

ขยายผลโดยส่งเสริมให้ผู้ปกครองและคนในชุมชนเลี้ยงปลาในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

ให้ความรู้เรื่องโภชนาการแก่นักเรียนทุกชั้นเรียน อาหารกลางวันของโรงเรียนได้จัดโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch ซึ่งทุกวันอาหารจะครบ 5 หมู่ และมีผักและผลไม้ คุณครูประจำชั้นติดตามตรวจสอบนักเรียน ทั้งสังเกตที่โรงเรียน และไปเยี่ยมบ้าน

ภาพถ่าย - สัมภาษณ์นักเรียน / แม่คร้ว

ควรรณรงค์อย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

ให้ความรู้เรื่องโภชนาการแก่นักเรียนทุกชั้นเรียน - อาหารกลางวันของโรงเรียนได้จัดโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch ซึ่งทุกวันอาหารจะครบ 5 หมู่ และมีผักและผลไม้ - คุณครูประจำชั้นติดตามตรวจสอบนักเรียน ทั้งสังเกตที่โรงเรียน และไปเยี่ยมบ้าน

ภาพถ่าย - สัมภาษณ์นักเรียน / แม่คร้ว

ควรรณรงค์อย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

ให้ความรู้เรื่องโภชนาการแก่นักเรียนทุกชั้นเรียน - อาหารกลางวันของโรงเรียนได้จัดโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch ซึ่งทุกวันอาหารจะครบ 5 หมู่ และมีผักและผลไม้ - คุณครูประจำชั้นติดตามตรวจสอบนักเรียน ทั้งสังเกตที่โรงเรียน และไปเยี่ยมบ้าน

ภาพถ่าย - สัมภาษณ์นักเรียน / แม่คร้ว

ควรรณรงค์อย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

ส่งเสริมให้ชุมชนปลูกผักปลอดสารพิษ จัดทำตลาดนัดสุขภาพ เพื่อให้ชุมชนที่ปลูกผัก นำผักมาขาย จัดประกวด "เรือนนี้มีรัก ปลูกผักปลอดสาร" รณรงค์ให้แม่ครัวซื้อผักจากสหกรณ์โรงเรียนและแม่ค้าที่ปลูกผักปลอดสารในหมู่บ้าน

ภาพถ่าย - สัมภาษณ์นักเรียน / แม่คร้ว

ควรรณรงค์อย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

ครูผู้รับผิดชอบอบรมการใช้โปรแกรม Thai School Lunch แก่เจ้าหน้าที่ฝ่ายลงข้อมูลในโปรแกรม เจ้าหน้าที่สอบถามรายการอาหารกลางวันจากสภานักเรียน เจ้าหน้าที่จัดรายการอาหาร 1 เดือน ส่งให้ครูผู้รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวันตรวจสอบ เจ้าหน้าที่ (นักเรียน) ลงข้อมูลอาหารกลางวันในโปรแกรม Thai School Lunch สัปดาห์สุดท้ายของเดือน เพื่อใช้ในเดือนถัดไป พิมพ์รายการอาหารและวัตถุดิบให้แม่ครัว พืมพ์รายการอาหารตลอดเดือนจัดแสดงไว้บนป้ายนิเทศ

ข้อมูลรายการอาหารจากโปรแกรม Thai School Lunch ของแต่ละเดือน ภาพถ่าย การสอบถาม

ขยายผลไปยังโรงเรียนอื่นๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้งโดยผู้นำนักเรียนจะเป็นผู้ชั่งน้ำหนัก / วัดส่วนสูงเดือนพฤษภาคม /สิงหาคม ในภาคเรียนที่ 1 และเดือน พฤศจิกายน / กุมภาพันธ์ ในภาคเรียนที่ 2 แล้วนำผลที่ได้มาลงในโปรแกรมมหิดล

 

 

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 2/12559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22562 1/1
เตี้ย 4.01 4.01% 4.01 4.01% 5.68 5.68% 5.66 5.66% 5.22 5.22% 4.10 4.10% 9.68 9.68%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 11.31 11.31% 11.31 11.31% 14.39 14.39% 15.47 15.47% 17.16 17.16% 16.42 16.42% 23.04 23.04%
ผอม 11.68 11.68% 11.68 11.68% 1.89 1.89% 1.89 1.89% 1.12 1.12% 0.00 0.00% 3.76 3.76%
ผอม+ค่อนข้างผอม 21.53 21.53% 21.53 21.53% 4.55 4.55% 4.53 4.53% 3.73 3.73% 2.99 2.99% 8.92 8.92%
อ้วน 3.28 3.28% 3.28 3.28% 6.44 6.44% 6.42 6.42% 6.34 6.34% 0.00 0.00% 4.69 4.69%
เริ่มอ้วน+อ้วน 6.20% 6.20% 6.20% 6.20% 13.26% 13.26% 13.21% 13.21% 11.94% 11.94% 2.24% 2.24% 12.68% 12.68%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

ผลที่เกิดขึ้นคือ ในปีการศึกษา 2559 เด็กที่อ้วนมีค่าร้อยละลดลง จาก ร้อยละ 13.26 เหลือร้อยละ 2.24 เด็กผอมมีค่าร้อยละ 1.89 ลดลงเหลือ ร้อยละ 1.12

ข้อมูลการบันทึกจากโปรแกรมมหิดล

รณรงค์เรื่องการรับประมานอาหารให้ถูกหลักโภชนาการ และการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

การดำเนินการเด็กที่มีภาวะผอม 1. นักเรียนประเมินภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกาย และสุขภาพด้วยตนเอง โดยครูประจำชั้นและผู้นำนักเรียนคอยเป็นที่ปรึกษาและแนะนำ 2. ออกกำลังกาย 9 ด่านพิชิตโรค 3. เพิ่มเวลาดื่มนมอีก 1 ครั้งที่โรงเรียน 4. เพิ่มปริมาณอาหารให้แก่เด็กที่ผอม และค่อนข้างผอม 5. ประเมินภาวะโภชนาการ (ดูความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น)

ผลที่เกิดขึ้นคือ ในปีการศึกษา 2559 เด็กผอมมีค่าร้อยละ 1.89 ลดลงเหลือ ร้อยละ 1.12

ข้อมูลการบันทึกจากโปรแกรมมหิดล

รณรงค์เรื่องการรับประมานอาหารให้ถูกหลักโภชนาการ และการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

ผลที่เกิดขึ้นคือ ในปีการศึกษา 2559 เด็กที่เตี้ยมีค่าร้อยละลดลง จาก ร้อยละ 5.68 เหลือร้อยละ 4.1

ข้อมูลการบันทึกจากโปรแกรมมหิดล

รณรงค์เรื่องการรับประมานอาหารให้ถูกหลักโภชนาการ และการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

การดำเนินการเด็กที่มีภาวะอ้วน 1. นักเรียนประเมินภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกาย และสุขภาพด้วยตนเอง โดยครูประจำชั้นและผู้นำนักเรียนคอยเป็นที่ปรึกษาและแนะนำ 2. ให้ความรู้แก่นักเรียนเรื่องอันตรายจากโรคอ้วน และการแก้ไชปัญหาปัญหานักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์ 3. ให้ความรู้แก่แม่ครัวในเรื่องการทำอาหารที่มีคุณภาพและการตักอาหารที่เหมาะสมกับวัย 4. จัดทำ Case study ของนักเรียนแต่ละคน โดยครูประจำชั้น 5. เชิญผู้ปกครองมาประชุมและจัดทำแผ่นพับเพื่อให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเรื่องอันตรายจากโรคอ้วน และการแก้ไชปัญหาปัญหานักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์ 6. บันทึกข้อตกลง (MOU)ในการขับเคลื่อนและสนับสนุนการดำเนินงานกิจกรรม “แรลลี่ลดพุง”ของโรงเรียน ระหว่างโรงเรียน นักเรียนนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์และผู้ปกครอง 7. นักเรียนบันทึกการชั่งน้ำหนักทุกวันๆละ 2 เวลา (เช้า และ เย็น) ต่อหน้าครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมหากน้ำหนักมากขึ้นจากเดิมให้ทบทวนบันทึกลับของฉัน (บันทึกรายการอาหาร / ขนมที่รับประทานทุกอย่าง) (ครูผู้รับผิดชอบกิจกรรม แรลลี่ลดพุง) 8. นักเรียนบันทึกรายการอาหาร / ขนมที่รับประทานทุกอย่างทุกวันๆละ 2 เวลา (เช้า และ เย็น) ส่งครูผู้รับผิดชอบกิจกรรม แรลลี่ลดพุง 9. นักเรียนวิเคราะห์ปริมาณอาหารเพื่อหาพลังงานอาหารที่รับประทานในแต่ละวัน ส่งครูผู้รับผิดชอบกิจกรรม แรลลี่ลดพุง 10. นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์ออกกำลังกาย (ครูผู้รับผิดชอบด้านการออกกำลังกายของโรงเรียน)

ข้อมูลการบันทึกจากโปรแกรมมหิดล

รณรงค์เรื่องการรับประมานอาหารให้ถูกหลักโภชนาการ และการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการแก้ปัญหาและสามารถเชื่อมโยงสู่ชีวิตจริงที่บ้านได้ด้วย บทบาทของผู้ปกครองในการแก้ไขปัญหา ก่อนอื่นผู้ปกครองต้องมีความรู้ในการแก้ปัญหานั้นๆ โดย รร.เป็นผู้จัดอบรมให้แก่ผู้ปกครอง / หรือให้ความรู้แก่ผู้ปกครองขณะไปเยี่ยมบ้าน ฯลฯ และให้ผู้ปกครองสร้างแรงจูงใจให้แก่ลูก รวมทั้งคอยส่งเสริมในเรื่องปลูกผัก / โภชนาการ / การตรวจสอบภาวะโภชนาการของลูก ฯลฯ

ภาพถ่าย

ควรสานสัมพันธ์กับผู้ปกครองอย่างต่อเนื่อง....และยกย่องให้เป็นกรณีตัวอย่าง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

ศูนย์อนามันที่ 7 ขอนแก่น เป็นที่ปรึกษา/พี่เลี้ยง/จัดอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับเด็กไทยแก้มใส สส.จ.ขอนแก่นออกเยี่ยมเยียนให้กำลังใจ/คอยอำนวยความสะดวกเพื่อให้งานบรรลุความสำเร็จ รพ.สต.บ้านหนองแวงเป็นที่ปรึกษา/พี่เลี้ยง คณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านนาดีร่วมเป็นคณะทำงานสนับสนุนพันธ์ไม้เป็นที่ปรึกษา / พี่เลี้ยง /ให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผัก อบต.กุดธาตุเป็นที่ปรึกษา เครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน ร่วมเป็นคณะทำงาน ขนมไทยอ่อนหวาน / ลดหวานมันเค็ม / ของกิ๋นบ้านเฮา/แรลลี่ลดพุง /ปลูกผักปลอดสารพิษ ร่วมเป็นคณะทำงาน ขนมไทยอ่อนหวาน / ลดหวานมันเค็ม / ของกิ๋นบ้านเฮา/แรลลี่ลดพุง ฯลฯ

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh