ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านหนองยาง (ธนาคารกรุงเทพ 10)


“ โรงเรียนบ้านหนองยาง (ธนาคารกรุงเทพ 10) ”

137 หมู่ 1 ตำบลเมืองแก อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์

หัวหน้าโครงการ
นายสมพงษ์ สิมมา

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านหนองยาง (ธนาคารกรุงเทพ 10)

ที่อยู่ 137 หมู่ 1 ตำบลเมืองแก อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ จังหวัด สุรินทร์

รหัสโครงการ ศรร.1313-075 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.29

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2016 ถึง 30 เมษายน 2017


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านหนองยาง (ธนาคารกรุงเทพ 10) จังหวัดสุรินทร์" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 137 หมู่ 1 ตำบลเมืองแก อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านหนองยาง (ธนาคารกรุงเทพ 10) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านหนองยาง (ธนาคารกรุงเทพ 10)



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านหนองยาง (ธนาคารกรุงเทพ 10) " ดำเนินการในพื้นที่ 137 หมู่ 1 ตำบลเมืองแก อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ รหัสโครงการ ศรร.1313-075 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านหนองยาง (ธนาคารกรุงเทพ 10) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 190 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านหนองยาง(ธนาคารกรุงเทพ 10)จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาสู่โรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใสให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน
  2. เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหาร ผักผลไม้ที่ปลอดภัย และหลากหลายเพิ่มขึ้นในมื้อกลางวันที่เหมาะสมตามวัย
  3. เพื่อพัฒนาโรงเรียนเป็นศูนย์เรียนรู้ของชุมชนและเครือข่ายด้านพัฒนาทักษะชีวิตทั้งในและนอกห้องเรียนโดยการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.นักเรียน มีภาวะโภชนาการสมวัย

    2.นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น

    3.ชุมชนมีส่วนร่วมในการให้ความรู้ทางด้านการเกษตรเแก่นักเรียน

    4.ชุมชนมีส่วนร่วมในการนำผลผลิตทางการเกษตรที่ไร้สารพิษมาจำหน่ายแก่สหกรณ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน

    วันที่ 3 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การจำหน่ายน้ำสะอาด ลดอาหารหวาน
    การดำเนินการหาซื้อวัตถุดิบเกี่ยวกับอาหารกลางวันโดยการเอาเมนูอาหารจากเจ้าหน้าที่อาหารกลางวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครูนักเรียนได้รับทราบแนวทางปฏิบัติในกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน

    • ร้านค้าสหกรณ์จัดจำหน่าย อาหารว่าง ลดหวาน มันเค็ม นำ้อัดลม เครื่องดื่มมีคุณภาพได้มาตรฐานตามหลักโภชนาการ
    • มีคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนที่จัดตั้งและดำเนินการโดยนักเรียนมีนักเรียนเป็นสมาชิกและมีวาระในการทำงานอย่างน้อย ๑ ปีการศึกษา
    • มีระบบรับสมัครสมาชิกด้วยความสมัครใจ เปิดกว้างสำหรับนักเรียนทุกคน และมีการเก็บค่าหุ้น
    • มีการประชุมใหญ่สามัญประจำปีและมีรายงานการประชุม

     

    200 200

    2. ประชุมผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงาน

    วันที่ 6 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมผู้ปกครอง ชุมชน ครู นักเรียน อสม ผู้นำชุมชน กรรมการสถานศึกษาและหน่วยงานได้รับทราบแนวทางปฏิบัติของโครงการเด็กไทยแก้มใส (จัดประชุมวันที่ 7 มิย. 59)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมผู้ปกครอง ชุมชน ครู นักเรียน อสม ผู้นำชุมชน กรรมการสถานศึกษาและหน่วยงานได้รับทราบแนวทางปฏิบัติของโครงการเด็กไทยแก้มใสร่วมกันสร้างเครือข่ายเด็กไทยแก้มใสเข้าใจคำว่าร้านค้าสหกรณ์ร้านค้า ผู้ปกครองเห็นความสำคัญในการดำเนินการเพื่อให้ลุตามวัตถุประสงค์ ผู้ปกครองยินดีให้การสนับสนุน ส่งเสริมในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวกับการดำเนินการตามโครงการ คือ

    -ช่วยให้นักเรียนในการดำเนินกิจกรรมจัดทำแปลงผัก -ผู้ปกครองบริจาคเข้าเปลือกให้กับทางโรงเรียนเพื่อนำมาเป็นกองทุนธนาคารข้าวเปลือกไว้สำหรับใช้ในการประกอบอาหาร(หุงข้าว)ให้กับนักเรียน -ผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษา พร้อมที่จะขับเคลื่อนการดำเนินการควบคู่กับโรงเรียนในการดำเนินกิจกรรมฯ

     

    320 154

    3. ปลูกพืชผักสวนครัว

    วันที่ 6 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทำแปลงถาวร เพื่อไว้ปลูกพืชผักกสวนครัวที่มั่นคงและถาวร มีการปลูกกาด ถั่วฝักยาว แดงกวา มะเขือ ฟักทอง บวบ หอมแบ่ง ผักบุ้ง ผักชี เป็นต้น (เริ่มทำตั้งแต่ )

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้รับอาหารกลางวันที่ปลอดสารพิษและมีประโยชน์ต่อร่างกายเพียงพอต่อความต้องการ

     

    253 212

    4. เลี้ยงไก่ไข่

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กิจกรรมเลี้ยงไก่ไข่   - พันธุ์ไก่ไข่  54  ตัว  13500  บาท - อาหารไก่ไข่  10  กระสอบ  5000 บาท กระป๋องนำ้  450  บาท กระป่องอาหาร 900 บาท ยา 400 บาท (เนื่องจากแต่เดิมมีโรงเรือนเก่าอยู่แล้ว)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      ด้านปริมาณ
    1. นักเรียนระดับชั้น ป. 4 -6 ทุกคนได้ปฏิบัติกิจกรรม การเลี้ยงจริง 2. นักเรียนระดับชั้น ป. 4-6 ทุกคนได้ปฏิบัติกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ ดูแลและให้อาหารสัตว์ 3. มีผลผลิตที่นำมาประกอบอาหารกลางวันนักเรียนและคณะครูได้ตลอดปี 4. มีผลผลิตที่เหลือจากอาหารกลางวันแจกจ่ายให้กับนักเรียน
    5. นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีอย่างน้อยร้อยละ 96 ด้านคุณภาพ
          1. นักเรียนทุกคนได้เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น 3. นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัย สะอาด ไม่มีสารตกค้าง 4. มีแหล่งเรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับนักเรียน ประชาชนและหน่วยงานอื่น 5. นักเรียนรับประทานไข่ทุกสัปดาห์ 2 ฟองต่อคน 6. นักเรียนมีจิตอาสาบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วนรวม

     

    241 199

    5. พัฒนาบุคลากร/ศึกษาดูงาน

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วิธีดำเนินการ ๑. เสนอโครงการให้ผู้บริหารพิจารณา
    ๒.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการอบรมให้ความรู้และประสานกลุ่ม/องค์กรที่ จะไปศึกษาดูงาน ๓. ดำเนินการอบรมและศึกษาดูงานที่่โรงเรียนโคกจำเริญ ต.ตานี อ.ปราสาท จ.สุรินทร์ เรื่องการดำเนินการตามโครงการเด็กไทยแก้มใสด้านการเกษตร การจัดการอาหารกลางวัน สหกรณ์นักเรียน เป็นต้น ๔. ประเมินผลผู้เข้าร่วมโครงการตลอดจนข้อเสนอแนะ ปัญหาต่างๆ เพื่อนำมาปรับปรุง และเป็นข้อมูลในการดำเนินโครงการต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะครูบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา นักเรียน ศึกษาดูงานนอกสถานที่และรับฟังการบรรยาย สิ่งแวดล้อมกับการพัฒนาอย่างยั่งยืน เกิดวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล ในการพาชุมชนและเครือข่ายการจัดการความรู้ภาคประชาชนในการบริหารจัดการเกษตรยั่งยืน การประยุกต์ใช้องค์ความรู้ จากการศึกษาดูงาน กับเป้าหมายของการศึกษาเพื่อการจัดการความรู้ภูมิปัญญาไทย และในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม 

     

    40 31

    6. การจัดทำปุ๋ยชีวภาพ

    วันที่ 7 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เตรียมวัสดุต่อไปนี้เช่น ปุ๋ยคอก ใบจามจุรี รำอ่อน ปุ๋ยยูเรีย กากน้ำตาล และหัวเชื้อ EM ตามอัตราส่วนผสมของวัตถุดิบต่างๆ คลุกเคล้าแล้วหมักไว้ประมาณ ๑ เดือน รดน้ำหมักทุก ๆ ๓ วันจนวัตถุดิบย่อยสลาย ประมาณ ๑ เดือนเริ่มเอามาใช้ได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ปุ๋ยอินทรีย์ใช้ในการเกษตรของโรงเรียนลดต้นทุนการใช้ปุ๋ยเคมีที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพนักเรียน

     

    101 95

    7. ตรวจโครงการฯ รายงานความก้าวหน้าและรายงานการเงิน งวด2

    วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ถ่ายเอกสารและเข้ารูปเล่มรายงานโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รายงานฉบับสมบุรณ์จำนวนหนึ่ง

     

    3 3

    8. เพาะเห็ด

    วันที่ 14 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

      วัสดุอุปกรณ์ และวิธีการดำเนินการ วัสดุอุปกรณ์   ไม้ไผ่ จำนวน 25 ต้น   จาก จำนวน 1,200 ต้น   ต้นยูคา จำนวน 6 ต้น   ทราย จำนวน 2 คิว   ตัวหนอน จำนวน 500 ก้อน   เชือก จำนวน 1 ม้วน                   สแลน      จำนวน      600  บาท                   พลาสติกดำ จำนวน      2,000  บาท                   สังกะสี      จำนวน      2,400  บาท                   เชื้อเห็ด      จำนวน      10,000  บาท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เห็ดนางฟ้าที่ได้มีการนำไปเป็นส่วนประกอบของเมนูอาหารในโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียนบ้านหนองยางฯ เมนูที่เห็ดนางฟ้าสามารถนำไปประกอบอาหารได้ ตัวอย่างเช่น ต้มยำเห็ดนางฟ้า เป็นต้น ทำให้โรงเรียนได้รับประโยชน์ในการลดค่าใช้จ่ายในส่วนของงบประมาณจัดซื้อโครงการอาหารกลางวัน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6  จำนวน  73  คน ครูและบุคลากรจำนวน  14  คน ได้รับการพัฒนาทักษะชีวิต ด้านคุณภาพ นักเรียนสามารถทำวิธีการเพาะเห็ดนางฟ้าไปประกอบอาหารกลางวัน นักเรียนได้รับการเสริมสร้างการมีอาชีพได้ด้วยตนเอง นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ด้านความคุ้มค่า นักเรียนโรงเรียนบ้านหนองยาง  จำนวน  73  คน  มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ร้อยละ 30 ของนักเรียนได้รับความรู้ความเข้าใจด้านอาชีพเกษตรกรรม ร้อยละ 30 ของนักเรียนได้รับการพัฒนาตนเองในการประกอบอาชีพที่สุจริต ร้อยละ 30 ของนักเรียนใช้เวลาให้เกิดประโยชน์และความรับผิดชอบ


     

    244 210

    9. ถอนเงินค่าเปิดบัญชีและดอกเบี้ยคืนเงินโครงการ

    วันที่ 21 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ไปถอนเงินค่าเปิดบัญชีและดอกเบี้ยคืนเงินสสส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้คืนเงินสสส.

     

    2 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนาสู่โรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใสให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน
    ตัวชี้วัด : ขยายผลการเรียนรู้โครงการเด็กไทยแก้มใสในโรงเรียนในเครือข่ายจำนวน 5 แห่ง ภายในเดือน เมษายน 2560

    ได้ขยายเครือข่ายจำนวน 6 โรงเรียน โรงเรียนบ้านหนองคูน้อย โรงเรียนบ้านหนองตาด โรงเรียนบ้านเมืองแก โรงเรียนบ้านหนองแวงและ โรงเรียนบ้านหนองคูใหญ่

    2 เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหาร ผักผลไม้ที่ปลอดภัย และหลากหลายเพิ่มขึ้นในมื้อกลางวันที่เหมาะสมตามวัย
    ตัวชี้วัด : - มีการใช้โปรแกรม Thai School Lunch ออกเมนูอาหารกลางวัน - มีการใช้ผลผลิตในโรงเรียน ป้อนเข้าโรงครัวของโรงเรียน

    มีการใช้โปรแกรม Thai School Lunch ในการปรับเมนูอาหารกลางวันและมีการใช้ผลผลิตทางการเกษตรป้อนสหกรณ์นักเรียนและป้อนโครงการอาหารกลางวันต่อไปอย่างต่อเนื่อง

    3 เพื่อพัฒนาโรงเรียนเป็นศูนย์เรียนรู้ของชุมชนและเครือข่ายด้านพัฒนาทักษะชีวิตทั้งในและนอกห้องเรียนโดยการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องในชุมชน
    ตัวชี้วัด : บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนเกิดความตื่นตัวในการส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการอาหารสมวัยและสุขภาพมากขึ้นร้อยละ 80 และเป็นแหล่งผลิตอาหารส่งโรงเรียน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาสู่โรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใสให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน (2) เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหาร ผักผลไม้ที่ปลอดภัย และหลากหลายเพิ่มขึ้นในมื้อกลางวันที่เหมาะสมตามวัย (3) เพื่อพัฒนาโรงเรียนเป็นศูนย์เรียนรู้ของชุมชนและเครือข่ายด้านพัฒนาทักษะชีวิตทั้งในและนอกห้องเรียนโดยการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องในชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

    ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านหนองยาง (ธนาคารกรุงเทพ 10)

    รหัสโครงการ ศรร.1313-075 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.29 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

    วันที่เริ่มประเมิน

    1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    (ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    1. การเกษตรในโรงเรียน
    1. การให้ไก่กินผักเช่นใบหญ้า ผักบุ้ง ผักกะถินทำให้ไข่แดงที่สีแดงและใหญ่กว่าเดิมหลังจากทดลองทำแล้ว

    2. ทำปุ๋ยอินทรีย์ ทำหัวเชื้อ EM เพื่อใช้ในการเกษตรของโรงเรียน

    1. รูปภาพเปรียบเทียบไข่ไก่ที่กินอาหารกับการกินผัก
    2. นำเศษผักที่เหลือจากการประกอบอาหารมาทำปุ๋ยอินทรีย์และนำ้หมักชีวภาพและนำไปใช้ในแปลงเกษตรของโรงเรียนและสามารถเข้าไปดูรายละเอียดกิจกรรมทำปู่ยอินทรีย์

    มีโครงการจะขยายให้กับนักเรียนเพื่อให้ไปฏิบัติในชีวิตประจำวันเกี่่ยวกับการเลี้ยงไก่และการทำปุ๋ยอินทรีย์เพื่อต่อยอดต่อไป

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    2. สหกรณ์นักเรียน
    1. นักเรียนสามารถนำผลผลิตทางการเกษตรมาป้อนให้แก่สหกรณ์นักเรียนเพื่อหากำไรเข้าสหกรณ์
    2. นักเรียนสามารถบริหารจัดการเองโดยมีครูเป็นที่ปรึกษา
    3. นักเรียนมีความสุขเมื่อได้รับเงินปันผล
    1. รูปภาพ
    2. เอกสาร
    3. สหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน

    มีโครงการขยายการดำเนินการและระดมหุ้น ในปีการศึกษาหน้าต่อไป

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน
    1. มีการเปลี่ยนเวรแม่ครัวสัปดาห์ละ 2 คน
    2. แม่ครัวโรงเรียนแต่ละสัปดาห์สามารถกำหนดเมนูอาหารที่เด็กชอบได้และจำกัดอาหารเด็ก อ้วน ผอมได้
    3. แม่ครัวสามารถสั่งวัตถุดิบผ่านสหกรณ์นักเรียน
    1. รายชื่อแม่ครัวประจำสัปดาห์
    2. เอกสาร
    3. เอกสารการสั่งซื้อ

    โรงเรียนมีโครงการผลิตวัตถุดิบในการประกอบอาหารให้มากกว่าเดิม

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน
    1. โรงเรียนมีการวัด นน.สส. เทอมละ 2 ครั้ง
    2. นักเรียนโรงเรียนบ้านหนองยางได้ออกกำลังกายวันละ ๓๐ นาทีทุกวัน
    3. นักเรียนมีการแปรงฟันทุกวันหลังจากรับประทานอาหารเท่ี่ยงเสร็จโดยมีการเปิดเพลงประกอบการแปรงฟันทุกครั้ง เพื่อกระตุ้นให้เด็กมีความสนใจในการแปรงฟัน
    1. เอกสารเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ
    2. รูปภาพประกอบ

    โรงเรียนมีโครงการทำอย่างต่อเนื่อง

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน
    1. นักเรียนโรงเรียนบ้านหนองยางปฏิบัติเกี่ยวกับสุขนิสัยและการส่งเสริมอนามัยนักเรียนอย่างเคร่งครัดและต่อเนื่องทุกปี
    1. รูปภาพประกอบ
    2. เอกสารเกี่ยวสุขนิสัยนักเรียน

    ควรทำต่อและควรหากิจกรรมเสริมเพื่อสุขภาพอนามัยของเด็กต่อไป

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
    1. โรงเรียนมีการแยกขยะ
    2. มีการปรับปรุงบริบทกับสถานที่ให้เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู
    3. มีการส่งเสริมเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
    1. มีถังขยะคัดแยก
    2. เอกสาร
    3. รูปภาพประกอบ

    ควรส่งเสริมต่อไป

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน
    1. การตรวจสุขภาพประจำปีของนักเรียนรายบุคคล(ดี มีสุข)
    2. การจัดกิจกรรมต่างๆที่ส่งเสริมการพัฒนาและสุขภาพ
    3. การเฝ้าระวังด้านสุขภาพและการส่งต่อเพื่อบำบัดรักษา
    1. เอกสาร
    2. รูปภาพ

    ดำเนินการต่อเนื่อง

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย
    1. ธรรมาภิบาลประสานใจคือโรงเรียนมีการร่วมพัฒนาปรับปรุงบริบทและแหล่งเรียนรู้ต่างๆในโรงเรียนระหว่างชุมชน

    แบบรายงานการจัดกิจกรรม ภาพถ่าย สมุดทะเบียนรายรับรายจ่าย ฯลฯ

    ดำเนินการกิจกรรมต่าง ๆ ต่อเนื่องต่อไป

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    9. อื่น ๆ

    มีการระดมการทอดผ้าป่าข้าวเปลือกเพื่อสนับสนุนกองทุนโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน

    บัญชีการบริจาคข้าวเปลือกภาพถ่ายกิจกรรม

    จัดกิจกรรมทอดผ้าป่าข้าวเปลือกปีละครั้ง

    2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

    1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

    1. การที่ได้รับความร่วมมือจากทุก ๆภาคส่วนเช่น เทศบาล รพ.สต.เมืองแกวัด ผู้นำท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน คณะกรรมการสถานศึกษาฯ

    2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

    1. โรงเรียนมีพื้นที่ทำการเกษตรอย่างเพียงพอ
    2. มีปราชญ์ชาวบ้านมีภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นต้นแบบสามารถเรียนรู้ได้
    3. มีบุคลากรมีความรู้ความสามารถทางด้านการเกษตร

    3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

    1. โรงเรียนใช้ "หลักบวรกับ 4 ร่วม คือร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแก้ปัญหา ร่วมพัฒาและร่วมภาคภูมิใจ

    4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

    1. ใช้หลักการบูรณาการให้ทุกๆ ฝ่ายปฏิบัติจริงทุกขั้นตอนอย่างต่อเนื่องและทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการดำเนินการทุกอย่าง ต่อเนื่อง

    5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

    1. ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วมร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้ทุกกิจกรรมที่เกี่ยวกับการดำเนินการตามโครงการเด็กไทยแก้มใสทำให้เกิดความสำเร็จตามแผนงานที่กำหนดไว้
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ
    1. การวางแผนการผลิต
    2. จัดซื้อวัตถุดิบเสริมจากชุมชน
    3. ผักที่ปลูกในแปลงเกษตรของโรงเรียนมีไม่เพียงพอกับปริมาณที่จะนำมาประกอบอาหารในแต่ละครั้ง
    1. รูปภาพ
    2. เอกสารรายงานการดำเนินการ

    1.ทางโรงเรียนขอความอนุเคราะห์จากหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)
    1. โรงเรียนมีการเลี้ยงไก่ไข่ การเลี้ยงหมู การเลี้ยงปลาในกระชัง
    1. รูปภาพ
    2. แบบสรุปโครงการ
    1. ขยายการดำเนินการให้พอเพียงกับความต้องการของชุมชนหรือผู้ปกครองนักเรียน
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)
    1. เลี้่ยงปลาดุก ปลานิล ในกระชัง
    1. รูปภาพการสรุปโครงการ

    . ขยายการดำเนินการให้พอเพียงกับความต้องการของชุมชนหรือผู้ปกครองนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

    เพราะนักเรียนทุกคนสามารถรับประทานอาหารจากบ้านร้อยเปอร์เซนต์

    1. สอบถามจากเด็กนักเรียน

    โรงเรียนจะมีการพัฒนาในการจัดทำอาหารเพื่อรองรับเด็กนักเรียนท่ี่อาจจะไม่ได้รับประทานอาหารมาในภาคเรียนต่อไป

    5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม
    1. โรงเรียนมีการจัดอาหารเมนูสำเร็จ คือ Thai school lunch
    1. ตารางเมนูอาหารของโรงเรียน

    ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    . ขยายการดำเนินการให้พอเพียงกับความต้องการของชุมชนหรือผู้ปกครองนักเรียน

    1. ตารางเมนูอาหารของโรงเรียน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน
    1. กลุ่มเกษตรอิินทรีย์ชุมชนบ้านหนองยางฯ
    1. ใบสั่งซื้อวัตถุดิบจากเกษตรอินทรีย์

    ในอนาคตทางโรงเรียนกับกลุ่มเกษตรอินทรีย์จะทำ MOU ร่วมกันในเรื่องการจัดทำศูนย์เรียนรู้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ
    1. กลุ่มเกษตรอินทรีย์ในชุมชนของโรงเรียน
    1. โปรแกรมเมนูอาหารกลางวัน

     

    4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่
    1. การจัดตามเมนูของ Thai School Lunchถือว่าโรงเรียนได้จัดตามเมนูได้สมบูรณ์
      1. การจัดตามเมนูของ Thai School Lunch ทำให้ประหยัดเวลาในการคิดเมนูอาหาร
    1. โปรแกรม TSL

    ดำเนินการต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่
    1. มีการรายงานในโปรแกรม ภาวะโภชนาการ

    เอกสารภาวะโภชนาการ

     

    3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

    สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

    ภาวะ2558 1/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/1
    เตี้ย 3.85 3.85% 13.19 13.19% 5.71 5.71% 0.00 0.00% 1.71 1.71% 0.00 0.00% 2.94 2.94% 1.76 1.76% 1.17 1.17% 1.76 1.76% 1.68 1.68%
    เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 8.24 8.24% 13.19 13.19% 13.71 13.71% 5.75 5.75% 6.86 6.86% 6.86 6.86% 8.82 8.82% 7.06 7.06% 5.85 5.85% 5.29 5.29% 7.56 7.56%
    ผอม 12.64 12.64% 21.43 21.43% 5.14 5.14% 6.90 6.90% 6.86 6.86% 3.43 3.43% 5.29 5.29% 5.29 5.29% 3.51 3.51% 3.51 3.51% 5.68 5.68%
    ผอม+ค่อนข้างผอม 19.78 19.78% 21.98 21.98% 20.57 20.57% 18.39 18.39% 14.86 14.86% 10.86 10.86% 8.24 8.24% 11.18 11.18% 7.60 7.60% 9.36 9.36% 14.77 14.77%
    อ้วน 0.00 0.00% 5.49 5.49% 2.86 2.86% 3.45 3.45% 1.71 1.71% 3.43 3.43% 2.94 2.94% 2.35 2.35% 2.34 2.34% 1.75 1.75% 2.84 2.84%
    เริ่มอ้วน+อ้วน 1.65% 1.65% 6.04% 6.04% 8.57% 8.57% 4.60% 4.60% 2.86% 2.86% 5.14% 5.14% 5.88% 5.88% 2.35% 2.35% 4.68% 4.68% 4.09% 4.09% 6.25% 6.25%
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

    โรงเรียนไม่สามารถควบคุมการบริโภคของนักเรียนได้ตลอดเวลาเช่นช่วงปิดภาคเรียนหรือวันหยุด

    แบบบันทึกข้อมูลภาวะโภชนาการ

    โรงเรียนจะเรียกประชุมชี้แจงให้คำปรีกษาผู้ปกครองเกี่ยวการบริโภคอาหารของเด็ก

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

    นักเรียนได้รับการบริโภคอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วน

    แบบบันทึกข้อมูลภาวะโภชนาการ

    โรงเรียนจะเรียกประชุมชี้แจงให้คำปรีกษาผู้ปกครองเกี่ยวการบริโภคอาหารของเด็ก

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

    นักเรียนบางคนอาจจะมาจากพันธุกรรมและบางคนไม้ชอบรับประทานอาหารเสริมนม

    แบบบันทึกข้อมูลภาวะโภชนาการ

    โรงเรียนจะเรียกประชุมชี้แจงให้คำปรีกษาผู้ปกครองเกี่ยวการบริโภคอาหารของเด็ก

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร
    1. กิจกรรมโครงการส่งเสริมการบริโภคนม
    2. กิจกรรมการส่งเสริมการอออกกำลังกาย

    รายงานกิจกรรม

    ทำความร่วมมือกับ รพสต./โรงพยาบาลในพื่นที่เพื่อเฝ้าระวังเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร
    1. เข้าร่วมกิจกรรมที่โรงเรียนจัดประชุม / อบรมเกี่ยวกับด้านอาหาร ผลไม้ ฯลฯ เพื่อนำไปเป็นแนวทางปรับใช้กับบุตรหลานที่บ้าน
    1. บันทึกข้อประชุม
    2. ภาพถ่าย
    1. สร้างภาคีเครือข่ายการเฝ้าระวังภาวะทุพภาวะโภชนาการกับผู้ปกครอง และ อสม. ในชุมชน
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

    ทอดผ้าป้าข้าวเปลือกเพื่อสนับสนุนอาหารกลางวัน

    บัญชีบริจาคข้าวเปลือก

    จัดกิจกรรมทอดผ้าป่าช้าวเปลือกและอื่นต่อเนื่องทุกปีปีละ ครั้ง

    5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

    1. การที่ได้รับความร่วมมือจากทุก ๆภาคส่วนเช่น เทศบาล รพ.สต.เมืองแกวัด ผู้นำท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน คณะกรรมการสถานศึกษาฯ

    หมายเหตุ *

    • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    โรงเรียนบ้านหนองยาง (ธนาคารกรุงเทพ 10) จังหวัด สุรินทร์

    รหัสโครงการ ศรร.1313-075

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสมพงษ์ สิมมา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด