ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนอนุบาลลำดวน (สุรพินท์ราษฎร์นุสรณ์)


“ โรงเรียนอนุบาลลำดวน (สุรพินท์ราษฎร์นุสรณ์) ”

หมู่ที่ 3 ตำบลลำดวน อำเภอลำดวน จังหวัดสุรินทร์

หัวหน้าโครงการ
นางพงษ์ศรี หวังสม

ชื่อโครงการ โรงเรียนอนุบาลลำดวน (สุรพินท์ราษฎร์นุสรณ์)

ที่อยู่ หมู่ที่ 3 ตำบลลำดวน อำเภอลำดวน จังหวัดสุรินทร์ จังหวัด สุรินทร์

รหัสโครงการ ศรร.1313-072 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.26

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2016 ถึง 30 เมษายน 2017


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนอนุบาลลำดวน (สุรพินท์ราษฎร์นุสรณ์) จังหวัดสุรินทร์" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 3 ตำบลลำดวน อำเภอลำดวน จังหวัดสุรินทร์

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนอนุบาลลำดวน (สุรพินท์ราษฎร์นุสรณ์) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนอนุบาลลำดวน (สุรพินท์ราษฎร์นุสรณ์)



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนอนุบาลลำดวน (สุรพินท์ราษฎร์นุสรณ์) " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 3 ตำบลลำดวน อำเภอลำดวน จังหวัดสุรินทร์ รหัสโครงการ ศรร.1313-072 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,000.00 บาท จาก โรงเรียนอนุบาลลำดวน (สุรพินท์ราษฎร์นุสรณ์) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 388 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนอนุบาลลำดวน(สุรพินท์ราษฎร์นุสรณ์) ได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้ จากการร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสปีที่ 1 ของโรงเรียนอนุบาลลำดวน(สุรพินท์ราษฎร์นุสรณ์) ได้ดำเนินการกิจกรรมที่ประสบความสำเร็จที่เห็นผลผลิต ผลลัพธ์ หรือนวัตกรรม อย่างเป็นรูปธรรม จากการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานด้านการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ผลิตวัตถุดิบอาหารสำหรับใช้ในการจัดการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนทุกคน ทุกวัยเรียนและพัฒนาเด็กนักเรียนทุกคนให้มีความรู้ทักษะและทัศนคติที่ดีทางการเกษตรผสมผสานเป็นพื้นฐานในอนาคต
  2. เพื่อปลูกฝังอุดมการณ์ คุณธรรมในการดำรงชีวิตร่วมกันในสังคมโดยผ่านกระบวนการสหกรณ์และ ฝึกฝนนักเรียนให้มีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการทำงานสหกรณ์ ชื่อกิจกรรมสหกรณ์โรงเรียน
  3. เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสะอาดปลอดภัย บริโภคทุกวันเรียน ตลอดปีการศึกษาและเพื่อพัฒนาแบบแผนการบริโภคอาหารที่พึงประสงค์ตามหลักโภชนาการและสุขนิสัยที่พึงปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร
  4. เพื่อให้นักเรียนสร้างสุขนิสัยที่ดีด้วยตนเอง
  5. เพื่อให้นักเรียนพัฒนาทักษะในการจัดการดูแลสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ รวมทั้งการพัฒนาลักษณะนิสัยของนักเรียนในการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและยั่งยืน
  6. เพื่อให้นักเรียนได้รับการช่วยเหลือแก้ไขการเจ็บป่วยในเบื้องต้นอย่างเหมาะสม อันเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายร้ายแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ชื่อกิจกรรมโครงการอนามัยโรงเรียน
  7. เพื่อให้นักเรียนได้พัฒนาตนเองให้มีความรู้ทักษะทัศนคติและลักษณะนิสัยที่ดีในเรื่องของเกษตรยั่งยืน โภชนาการและสุขภาพอนามัย
  8. เพื่อสามารถติดตามและแก้ไขเด็กนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้ทันกาลและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนเป็นรายบุคคลได้อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งทราบสถานการณ์ของภาวะโภชนาการของนักเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. โรงเรียนมีผลผลิตทางการเกษตรเป็นวัตถุดิบสำหรับใช้ในการจัดการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนทุกคน ทุกวัยเรียน
    2. นักเรียนได้รับการฝึกฝนให้มีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการทำงานสหกรณ์
    3. โรงเรียนมีการจัดบริการอาหารกลางวันเพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสะอาดปลอดภัย บริโภคทุกวันเรียน ตลอดปีการศึกษาและเพื่อพัฒนาแบบแผนการบริโภคอาหารที่พึงประสงค์ตามหลักโภชนาการและสุขนิสัยที่พึงปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร
    4. นักเรียนสามารถสร้างสุขนิสัยที่ดีด้วยตนเองจนเป็นกิจนิสัย
    5. นักเรียนพัฒนาทักษะในการจัดการดูแลสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ รวมทั้งการพัฒนาลักษณะนิสัยของนักเรียนในการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและยั่งยืน
    6. นักเรียนได้รับการช่วยเหลือแก้ไขการเจ็บป่วยในเบื้องต้นอย่างเหมาะสม อันเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายร้ายแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้
    7. นักเรียนได้พัฒนาตนเองให้มีความรู้ ทักษะทัศนคติและลักษณะนิสัยที่ดีในเรื่องของเกษตรยั่งยืน โภชนาการและสุขภาพอนามัย
    8. โรงเรียนสามารถติดตามและแก้ไขเด็กนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้ทันกาลและเฝ้าระวัง ภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนเป็นรายบุคคลได้อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งทราบสถานการณ์ของภาวะโภชนาการของนักเรียน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพ

    วันที่ 20 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำแบบบันทึกสุขภาพ/นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพจากเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลลำดวน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต-นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพทุกคน ผลลัพธ์-โรงเรียนมีห้องพยาบาลที่ถูกสุขลักษณะได้มาตรฐานและมีครูอนามัยรับผิดชอบดูแล: มีนักเรียนแกนนาร่วมรับผิดชอบในการให้บริการสุขภาพ นักเรียนทุกคนได้รับการตรวจสุขภาพเบื้อง ต้นตามมาตรฐานบริการสุขภาพและ นักเรียนกลุ่มเสี่ยงหรือที่มีปัญหาสุขภาพทุกคนได้รับความช่วยเหลือแก้ไขเบื้องต้นอย่างเหมาะสม โดยมีการส่งต่อช่วยเหลือนักเรียน

     

    388 366

    2. กิจกรรมที่ 1 การปลูกพืชผักหมุนเวียนตามฤดูกาล

    วันที่ 9 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การปลูกพืชผักหมุนเวียนตามฤดูกาลการดำเนินกิจกรรม

    1. รับสมัครสมาชิกจากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6 แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
    2. ชั้น ป.1-3 เตรียมดินปลูกผักในกระถาง
    3. ชั้น ป.4-6 เตรียมดินโดยขุดเพื่อตากหน้าดิน กำจัดวัชพืช ผสมปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก จำนวน 45แปลง
    4. ปลูกผัก ประเภทผักบุ้ง ผักคะน้า ผักกวางตุ้ง ผักกาด ผักชี ผักตั๋งโอ๋ มะเขือเปราะ มะเขือยาว โหระพา แมงลัก พริก ฝักทอง ฟักเขียว หมุนเวียนกันตลอดทั้งปี
    5. ดูแล รดน้ำ ใส่ปุ๋ยและเก็บผลลิตนำส่งโครงการอาหารกลางวัน (โรงเรียนมีเครือข่ายชุมชน ปลูกผักตามฤดูกาลส่งผลผลิตให้อาหารกลางวัน)/โรงเรียนปลูกข้าวไลด์เบอร์รี่ มะลิสุรินทร์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต-ผักคะน้า ผักกวางตุ้ง ผักกาด ผักชี ผักตั๋งโอ๋ มะเขือเปราะ มะเขือยาว โหระพา แมงลัก พริก ฝักทอง ฟักเขียว ปลอดสารพิษ จำหน่ายให้สหกรณ์ส่งต่อให้อาหารกลางวัน

    ผลลัพธ์-ได้ผลผลิตผักคะน้า ผักกวางตุ้ง ผักกาด ผักชี ผักตั๋งโอ๋ มะเขือเปราะ มะเขือยาว โหระพา แมงลัก พริก ฝักทอง ฟักเขียว มาประกอบอาหารกลางวัน ตามเมนูอาหารโดยใช้โปรแกรม ThaiSchoolLunch

     

    330 304

    3. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมเพาะเห็ดนางฟ้าและเห็ดขอน

    วันที่ 9 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กิจกรรมเพาะเห็ดนางฟ้าและเห็ดนางรมการดำเนินกิจกรรม

    การปลูกพืชผักหมุนเวียนตามฤดูกาลการดำเนินกิจกรรม

    1. รับสมัครสมาชิกจากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6 แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
    2. ชั้น ป.1-3 เตรียมดินปลูกผักในกระถาง
    3. ชั้น ป.4-6 เตรียมดินโดยขุดเพื่อตากหน้าดิน กำจัดวัชพืช ผสมปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก จำนวน 45แปลง
    4. ปลูกผัก ประเภทผักบุ้ง ผักคะน้า ผักกวางตุ้ง ผักกาด ผักชี ผักตั๋งโอ๋ มะเขือเปราะ มะเขือยาว โหระพา แมงลัก พริก ฝักทอง ฟักเขียว หมุนเวียนกันตลอดทั้งปี
    5. ดูแล รดน้ำ ใส่ปุ๋ยและเก็บผลลิตนำส่งโครงการอาหารกลางวัน (โรงเรียนมีเครือข่ายชุมชน ปลูกผักตามฤดูกาลส่งผลผลิตให้อาหารกลางวัน)/โรงเรียนปลูกข้าวไลด์เบอร์รี่ มะลิสุรินทร์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต-โรงเรียนมีเห็ดนำงฟ้ำและเห็ดนางรมจำหน่ายให้สหกรณ์ส่งต่อให้อาหารกลางวัน ผลลัพธ์-ได้ผลผลิตเห็ดนำงฟ้ำและเห็ดขอน มาประกอบอาหารกลางวัน ตามเมนูอาหารโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch

     

    235 227

    4. กิจกรรมที่ 5 เลี้ยงไก่พันธุ์ไข่

    วันที่ 28 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ กำรดำเนินกิจกรรม

    1. ปรับปรุงโรงเรือนไก่ ขนำด กว้ำง 6.00 เมตร ยำว 12.00 เมตร
    2. รับสมัครนักเรียนและแต่งตั้งคณะกรรมกำร
    3. จัดซื้อไก่พันธุ์ไข่ 50 ตัวๆละ 200 ตัว/ซื้ออุปกรณ์ในการเลี้ยงไก่/ซื้ออาหารไก่
    4. ดำเนินกำรเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ 50 ตัว
    5. ผลผลิตจำหน่ำยให้อำหำรกลำงวัน/บุคคลทั่วไป (โครงเรียนมีเครือข่ายชุมชนส่งผลผลิตให้กับอาหารกลางวัน)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต- โรงเรียนมีไข่ไก่ให้สหกรณ์ส่งต่อให้อาหารกลางวัน
    ผลลัพธ์-ได้ผลผลิตไขไก่มาประกอบอาหารกลางวัน ตามเมนูอาหารโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch

     

    234 312

    5. โรงเรียนมีกิจกรรมการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน

    วันที่ 28 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ค่ำวัสดุประกอบอำหำรเลี้ยงผู้ปกครองนักเรียนที่ช่วยพัฒนำโรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต-สภาพแวดล้อมของโรงเรียนถูกสุขลักษณะสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม

    ผลลัพธ์-โรงเรียนมีกิจกรรมการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน เช่น ทำความสะอาดห้องเรียน ห้องส้วมมีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม น้ำดื่มสะอาด การจัดการขยะ ส้วมที่ถูก สุขลักษณะ มีความร่วมมือระหว่างโรงเรียน ชุมชน และเครือข่ายท้องถิ่นในการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและโรงเรียนจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมและเพียงพอกับนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนในด้าน น้ำดื่มสะอาดที่ล้างมือ ห้องส้วมการจัดการขยะ แมลงสัตว์นำโรคความสะอาด ปลอดภัย

     

    454 434

    6. กิจกรรมที่ 3 เลี้ยงปลากินพืชในบ่อธรรมชาติ.

    วันที่ 28 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เลี้ยงปลากินพืชในบ่อธรรมชาติ. การดำเนินกิจกรรม 1. จัดหาพันธุ์ปลานิล10000 ตัว ปลาตะเพียน5000 ตัว ปลานวลจันทร์ 5000 ตัว 2. รับสมัครนักเรียนชั้น ป.3-6 คัดเลือกและแต่งตั้งคณะกรรมการโครงการ 3. ปล่อยพันธุ์ปลาตะเพียน ปลานิล ปลานวลจันทร์ โดยได้รับสนับสนุนจากกรมประมง บางส่วนและจัดซื้อบ้าง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต-มีปลานิล ปลาตะเพียน ให้สหกรณ์ส่งต่อให้อาหารกลางวัน
    ผลลัพธ์-ได้ผลผลิตปลานิล ปลาตะเพียน มาประกอบอาหารกลางวัน ตามเมนูอาหารโดยใช้โปรแกรม Thai  School  Lunch     

     

    235 313

    7. การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน

    วันที่ 28 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    โรงเรียน มีการจัดทำแผนกิจกรรมการพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนที่ครอบคลุมสุขนิสัยในด้านต่างๆ นักเรียนมีการปฏิบัติตามแผนกิจกรรมที่วางไว้ครอบคลุมทุกกิจกรรมมีการ ติดตามและประเมินผลสุขนิสัยนักเรียน นักเรียนแกนนำสามารถจัดกิจกรรมพัฒนาสุขนิสัยและติดตามประเมินผลด้วยตนเอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต-โรงเรียนมีกิจกรรมและแผนพัฒนาสุขนิสัย ผลลัพธ์-โรงเรียน มีการจัดทาแผนกิจกรรมการพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนที่ครอบคลุมสุขนิสัยในด้านต่างๆ นักเรียนมีการปฏิบัติตามแผนกิจกรรมที่วางไว้ครอบคลุมทุกกิจกรรมมีการ ติดตามและประเมินผลสุขนิสัยนักเรียน นักเรียนแกนนาสามารถจัดกิจกรรมพัฒนาสุขนิสัยและติดตามประเมินผลด้วยตนเอง

     

    442 427

    8. กิจกรรมการติดตามภาวะโภชนาการ

    วันที่ 28 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ครูประจำชั้นชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง นักเรียนเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานแปลผลภาวะโภชนาการ ทดสอบสมรรถภาพนักเรียนแปลผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต-นักเรียนมีภาวะสุขภาพที่ถูกต้องตามเกณฑ์ทุกคน ผลลัพธ์-โรงเรียน มีฐานข้อมูลน้าหนัก ส่วนสูง สมรรถภาพทางกายและภาวะสุขภาพของนักเรียนทุกคนมีการแปลผลภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกายและภาวะสุขภาพที่ถูกต้องตามเกณฑ์ชี้วัด และมีการนาข้อมูลไปใช้ในการจัดทาโครงการ/กิจกรรมแก้ปัญหาโดยครอบครัวมีส่วนร่วมและ เด็กกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามทุกเดือน

     

    393 371

    9. ฝึกฝนนักเรียนให้มีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการทำงานสหกรณ์

    วันที่ 28 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นักเรียนดำเนินการกิจกรรมสหกรณ์และการจัดทาบัญชีการค้าขาย ในทุกกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต-โรงเรียนมีผลผลิตจาการเกษตรในสหกรณ์ร้านค้านักเรียนมีความรู้และทักษะการทางานสหกรณ์ ผลลัพธฺ-จำหน่ายผลผลิตทางการเกษตรให้กับกิจกรรมอาหารกลางวันเพื่อไปประกอบอาหารกลางวันและบุคคลทั่วไป

     

    425 413

    10. กิจกรรมที่ 4 เลี้ยงปลาดุกในบ่อซิเมนต์/กระชัง

    วันที่ 28 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เลี้ยงปลำดุกในบ่อซิเมนต์/กระชัง กำรดำเนินกิจกรรม

    1. ซื้อพันธุ์ปลำดุก 2000 ตัว
    2. ปรับปรุง บ่อซีเมนต์ จำนวน 3 บ่อ ขนำดกว้ำง 3 เมตร ยำว 6 เมตร ลึก 0.80 เมตร
    3. จัดทำกระชังเลี้ยงขนาด กว้าง 4 เมตร ยาว 6 เมตร
    4. รับสมัครสมำชิกและเลือกตั้งคณะกรรมกำรโครงกำรเลี้ยงปลำ
    5. แบ่งหน้ำที่ควำมรับผิดชอบ
    6. ดำเนินกำรเลี้ยงปลำดุก ปีละ 2 รุ่นๆละ 500 ตัว
    7. ผลลิตนำประกอบอำหำรกลำงวันและเรียนรู้กำรถนอมอำหำร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต-โรงเรียนมีปลาดุกให้สหกรณ์ส่งต่อให้อาหารกลางวัน

    ผลลัพธฺ-ได้ผลผลิตปลำดุกมาประกอบอาหารกลางวัน ตามเมนูอาหารโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch

     

    235 313

    11. โรงเรียนมีการจัดทำรายการอาหารหมุนเวียนตามมาตรฐานโภชนาการ

    วันที่ 10 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    โรงเรียนอนุบาลลาดวน(สุรพินท์ราษฎร์นุสรณ์) ได้ดาเนินการบริการอาหารกลางวันเพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสะอาดปลอดภัย บริโภคทุกวันเรียน ตลอดปีการศึกษาและเพื่อพัฒนาแบบแผนการบริโภคอาหารที่พึงประสงค์ตามหลักโภชนาการและสุขนิสัยที่พึงปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหารการจัดบริการอาหารกลางวันของโรงเรียนมีแนวทางในการปฏิบัติดังนี้

    1. โรงเรียนมีโรงอาหารที่ได้มาตรฐานซึ่งรับรางวัลโรงอาหารดีเด่นเป็นสัดส่วน มีพื้นที่ในการประกอบอาหาร ทั้งโรงครัวและโรงอาหารเป็นระเบียบตามหลักสุขาภิบาลอาหาร
    2. โรงเรียนมีอุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบอาหารเพียงพอ เช่น เตา หม้อ กระทะ จาน ชาม มีด ทัพพี พร้อมทั้งมีการจัดเก็บอย่างเป็นระเบียบและถูกต้องตามหลักการสุขาภิบาลอาหาร
    3. การประกอบอาหารที่มีคุณค่าและสะอาดปลอดภัยโดย
    • ครูอาหารกลางวัน ทาหน้าที่กาหนดรายการอาหารหรือเมนูอาหาร ประมาณการชนิด ปริมาณและงบประมาณค่าวัตถุดิบที่ต้องใช้ จัดทาบัญชีค่าใช้จ่าย เตรียมวัตถุดิบให้แก่แม่ครัว กากับตรวจสอบการประกอบอาหารของแม่ครัว
    • โรงอาหารสามารถซื้อวัตถุดิบจากการเกษตรของโรงเรียน
    • ครูอาหารกลางวันเป็นผู้รับผิดชอบ กาหนดเป็นรายเดือน รายสัปดาห์ รายวัน จัดทาเมนูอาหารตามแบบโปรแกรม Thai School Lunch | 18
    • แม่ครัว ประกอบอาหารที่มีคุณค่าและสะอาดปลอดภัยปริมาณของอาหาร 5 หมู่ที่ควรจะได้รับใน 1 มื้อ หลักคือ อาหารกลางวัน และอาหารว่าง-นม เป็นการจัดบริการฟรีให้แก่เด็กนักเรียนทุกคน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โรงเรียนมีการจัดทารายการอาหารหมุนเวียนตามมาตรฐานโภชนาการ โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch) และมีการปรุง ประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ การสุขาภิบาลและอาหารปลอดภัยให้นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันตามปริมาณและสัดส่วนของธงโภชนาการที่เหมาะสมกับวัยและมีปริมาณพลังงานและสารอาหารครบถ้วน

     

    424 412

    12. ตรวจรายงวดที่ 1

    วันที่ 24 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมคณะครูภาคอิสานตอนล่าง 2.จัดทำรายงานกิจกรรมในเว็ปไซด์ของงวดที่ 1 3.ตรวจเอกสารการเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ได้รับคำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ สสส.ในเรื่อง เอกสารการเงิน เรื่องการเขียนรายงาน 2.ได้รับความรู้เรื่องการจัดทำเอกสารการเงิน เรื่องการเขียนรายงาน

     

    0 1

    13. กิจกรรมที่ 6 เลี้ยงเป็ดพันธุ์ไข่

    วันที่ 9 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เลี้ยงเป็ดพันธุ์ไข่ กำรดำเนินกิจกรรม 1. ประชุมผู้ปกครอง/ชุมชน/เครือข่ำย ชี้แจงรำยละเอียดโครงกำร 2. สำรวจอำสำสมัครที่ต้องกำรเลี้ยงเป็ดพันธ์ุไข่ โดยทำงโรงเรียนจะเป็นผุ้สนับสนุนพันธ์ุและอำหำร 3. เมื่อได้ผู้ประสงค์หรือผุ้สมัครใจแล้วดำเนินกำรซื้อเป็ดพันธุ์ไข่ 50 ตัว 4. เลี้ยงเป็ด ปีละ 2 รุ่นๆละ 50ตัว 5.ผลผลิตส่งให้อำหำรกลำงวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชุมชน 5 ครัวเรือนมีไข่เป็ดให้สหกรณ์ส่งต่อให้อาหารกลางวัน/ได้ผลผลิตมีไข่เป็ด มาประกอบอาหารกลางวัน ตามเมนูอาหารโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch

     

    133 8

    14. กิจกรรมที่ 7 เลี้ยงหมู

    วันที่ 11 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กำรดำเนินกิจกรรม 1. ประชุมผุ้ปกครอง/ชุมชน/เครือข่ำย ชี้แจงรำยละเอียดโครงกำร 2. สำรวจอำสำสมัครที่ต้องกำรเลี้ยงเป็ดพันธ์ไข่ โดยทำงโรงเรียนจะเป็นผู้สนับสนุนพันธุ์และอำหำร 3. เมื่อได้ผุ้ประสงค์หรือผุ้สมัครใจแล้วดำเนินกำรซื้อลูกหมูุ6 ตัว 4. เลี้ยงหมู ปีละ 2 รุ่นๆละ 6 ตัว 5.ผลผลิตส่งให้อำหำรกลำงวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชุมชน 5 ครัวเรือนมีเนื้อหมูให้สหกรณ์ส่งต่อให้อาหารกลางวัน/ได้ผลผลิตเนื้อหมูมาประกอบอาหารกลางวัน ตามเมนูอาหารโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch

     

    148 8

    15. ถอนเงินเปิดบัญชี

    วันที่ 17 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ถอนเงิน 500 บาท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ถอนเงิน 500 บาท

     

    0 3

    16. ตรวจรายงานงวดที่ 2

    วันที่ 23 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมจัดทำรายงานการเงินงวดที่ 2 และรายงานฉบับสมบูรณ์ 2. คืนเงินดอกเบี้ยโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ได้รับคำแนะนำเรื่องการจัดทำรายงานการเงินงวดที่ 2 และรายงานฉบับสมบูรณ์ 2. ได้คืนเงินดอกเบี้ยโครงการ 2.57 บาท

     

    0 1

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ผลิตวัตถุดิบอาหารสำหรับใช้ในการจัดการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนทุกคน ทุกวัยเรียนและพัฒนาเด็กนักเรียนทุกคนให้มีความรู้ทักษะและทัศนคติที่ดีทางการเกษตรผสมผสานเป็นพื้นฐานในอนาคต
    ตัวชี้วัด : โรงเรียนมีผลผลิตทางการเกษตรเป็นวัตถุดิบสำหรับใช้ในการจัดการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนทุกคน ทุกวัยเรียน

    1.ได้ผลผลิตผักคะน้า ผักกวางตุ้ง ผักกาด ผักชี ผักตั๋งโอ๋ มะเขือเปราะ มะเขือยาว โหระพา แมงลัก พริก ฝักทอง ฟักเขียว มาประกอบอาหารกลางวัน ตามเมนูอาหารโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch 2.ได้ผลผลิตเห็ดนำงฟ้ำและเห็ดขอน มาประกอบอาหารกลางวัน ตามเมนูอาหารโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch 3.ได้ผลผลิตปลำนิล ปลาตะเพียน มาประกอบอาหารกลางวัน ตามเมนูอาหารโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch 4.ได้ผลผลิตปลำดุกมาประกอบอาหารกลางวัน ตามเมนูอาหารโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch 5.ได้ผลผลิตไขไก่มาประกอบอาหารกลางวัน ตามเมนูอาหารโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch 6.ได้ผลผลิตมีไข่เป็ด มาประกอบอาหารกลางวัน ตามเมนูอาหารโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch 7.ได้ผลผลิตเนื้อหมูมาประกอบอาหารกลางวัน ตามเมนูอาหารโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch

    2 เพื่อปลูกฝังอุดมการณ์ คุณธรรมในการดำรงชีวิตร่วมกันในสังคมโดยผ่านกระบวนการสหกรณ์และ ฝึกฝนนักเรียนให้มีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการทำงานสหกรณ์ ชื่อกิจกรรมสหกรณ์โรงเรียน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนได้รับการฝึกฝนให้มีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการทำงานสหกรณ์ ร้อยละ 80

    นักเรียนมีความรู้และทักษะในการทำงานสหกรณ์ มากกว่าร้อยละ 80

    3 เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสะอาดปลอดภัย บริโภคทุกวันเรียน ตลอดปีการศึกษาและเพื่อพัฒนาแบบแผนการบริโภคอาหารที่พึงประสงค์ตามหลักโภชนาการและสุขนิสัยที่พึงปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร
    ตัวชี้วัด : -โรงเรียนมีการจัดบริการอาหารกลางวันเพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสะอาดปลอดภัย บริโภคทุกวันเรียน ตลอดปีการศึกษาและเพื่อพัฒนาแบบแผนการบริโภคอาหารที่พึงประสงค์ตามหลักโภชนาการและสุขนิสัยที่พึงปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร ร้อยละ 100

    โรงเรียนมีการจัดทารายการอาหารหมุนเวียนตามมาตรฐานโภชนาการ โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch) และมีการปรุง ประกอบอหารถูกหลักโภชนาการ การสุขาภิบาลและอาหารปลอดภัยให้นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันตามปริมาณและสัดส่วนของธงโภชนาการที่เหมาะสมกับวัยและมีปริมาณพลังงานและสารอาหารครบถ้วน

    4 เพื่อให้นักเรียนสร้างสุขนิสัยที่ดีด้วยตนเอง
    ตัวชี้วัด : นักเรียนสามารถสร้างสุขนิสัยที่ดีด้วยตนเองจนเป็นกิจนิสัย ร้อยละ 90

    โรงเรียน มีการจัดทาแผนกิจกรรมการพัฒนาสุขนิสัยและการ ส่งเสริมสุขภาพนักเรียนที่ครอบคลุมสุขนิสัยในด้านต่างๆ นักเรียนมี การปฏิบัติตามแผนกิจกรรมที่วางไว้ครอบคลุมทุกกิจกรรมมีการ ติดตามและประเมินผลสุขนิสัยนักเรียน นักเรียนแกนนาสามารถ จัดกิจกรรมพัฒนาสุขนิสัยและติดตามประเมินผลด้วยตนเอง

    5 เพื่อให้นักเรียนพัฒนาทักษะในการจัดการดูแลสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ รวมทั้งการพัฒนาลักษณะนิสัยของนักเรียนในการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและยั่งยืน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนพัฒนาทักษะในการจัดการดูแลสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ รวมทั้งการพัฒนาลักษณะนิสัยของนักเรียนในการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและยั่งยืน ร้อยละ 90

    โรงเรียนมีกิจกรรมการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน เช่น ทาความสะอาดห้องเรียน ห้องส้วมมีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม น้าดื่มสะอาด การจัดการขยะ ส้วมที่ถูก สุขลักษณะมีความร่วมมือระหว่างโรงเรียน ชุมชน และเครือข่ายท้องถิ่นในการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและโรงเรียนจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมและเพียงพอกับนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนในด้าน น้าดื่มสะอาด ที่ล้างมือ ห้องส้วม การจัดการขยะ แมลง สัตว์นาโรค ความสะอาด ปลอดภัย

    6 เพื่อให้นักเรียนได้รับการช่วยเหลือแก้ไขการเจ็บป่วยในเบื้องต้นอย่างเหมาะสม อันเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายร้ายแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ชื่อกิจกรรมโครงการอนามัยโรงเรียน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนได้รับการช่วยเหลือแก้ไขการเจ็บป่วยในเบื้องต้นอย่างเหมาะสม อันเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายร้ายแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ ร้อยละ 100

    โรงเรียนมีห้องพยาบาลที่ถูกสุขลักษณะได้มาตรฐานและมีครู อนามัยรับผิดชอบดูแล: มีนักเรียนแกนนาร่วมรับผิดชอบ ในการให้บริการสุขภาพ นักเรียนทุกคนได้รับการตรวจสุขภาพเบื้อง ต้นตามมาตรฐานบริการสุขภาพและ นักเรียนกลุ่มเสี่ยงหรือที่มี ปัญหาสุขภาพทุกคนได้รับความช่วยเหลือแก้ไขเบื้องต้นอย่าง เหมาะสม โดยมีการส่งต่อช่วยเหลือนักเรียน

    7 เพื่อให้นักเรียนได้พัฒนาตนเองให้มีความรู้ทักษะทัศนคติและลักษณะนิสัยที่ดีในเรื่องของเกษตรยั่งยืน โภชนาการและสุขภาพอนามัย
    ตัวชี้วัด : นักเรียนได้พัฒนาตนเองให้มีความรู้ ทักษะทัศนคติและลักษณะนิสัยที่ดีในเรื่องของเกษตรยั่งยืน โภชนาการและสุขภาพอนามัย ร้อยละ 90

    นักเรียนได้พัฒนาตนเองให้มีความรู้ ทักษะทัศนคติและลักษณะนิสัยที่ดีในเรื่องของเกษตรยั่งยืน โภชนาการและสุขภาพอนามัย มากกว่าร้อยละ 90

    8 เพื่อสามารถติดตามและแก้ไขเด็กนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้ทันกาลและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนเป็นรายบุคคลได้อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งทราบสถานการณ์ของภาวะโภชนาการของนักเรียน
    ตัวชี้วัด : โรงเรียนสามารถติดตามและแก้ไขเด็กนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้ทันกาลและเฝ้าระวัง ภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนเป็นรายบุคคลได้อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งทราบสถานการณ์ของภาวะโภชนาการของนักเรียน ร้อยละ 100

    โรงเรียน มีฐานข้อมูลน้าหนัก ส่วนสูง สมรรถภาพทางกายและ ภาวะสุขภาพของนักเรียนทุกคนมีการแปลผลภาวะโภชนา การ สมรรถภาพทางกายและภาวะสุขภาพที่ถูกต้องตามเกณฑ์ชี้วัด และมีการนาข้อมูลไปใช้ในการจัดทาโครงการ/กิจกรรมแก้ปัญหา โดยครอบครัวมีส่วนร่วมและ เด็กกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามทุกเดือน

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ผลิตวัตถุดิบอาหารสำหรับใช้ในการจัดการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนทุกคน ทุกวัยเรียนและพัฒนาเด็กนักเรียนทุกคนให้มีความรู้ทักษะและทัศนคติที่ดีทางการเกษตรผสมผสานเป็นพื้นฐานในอนาคต (2) เพื่อปลูกฝังอุดมการณ์ คุณธรรมในการดำรงชีวิตร่วมกันในสังคมโดยผ่านกระบวนการสหกรณ์และ ฝึกฝนนักเรียนให้มีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการทำงานสหกรณ์ ชื่อกิจกรรมสหกรณ์โรงเรียน (3) เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสะอาดปลอดภัย บริโภคทุกวันเรียน ตลอดปีการศึกษาและเพื่อพัฒนาแบบแผนการบริโภคอาหารที่พึงประสงค์ตามหลักโภชนาการและสุขนิสัยที่พึงปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร (4) เพื่อให้นักเรียนสร้างสุขนิสัยที่ดีด้วยตนเอง (5) เพื่อให้นักเรียนพัฒนาทักษะในการจัดการดูแลสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ รวมทั้งการพัฒนาลักษณะนิสัยของนักเรียนในการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและยั่งยืน (6) เพื่อให้นักเรียนได้รับการช่วยเหลือแก้ไขการเจ็บป่วยในเบื้องต้นอย่างเหมาะสม อันเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายร้ายแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ชื่อกิจกรรมโครงการอนามัยโรงเรียน (7) เพื่อให้นักเรียนได้พัฒนาตนเองให้มีความรู้ทักษะทัศนคติและลักษณะนิสัยที่ดีในเรื่องของเกษตรยั่งยืน โภชนาการและสุขภาพอนามัย (8) เพื่อสามารถติดตามและแก้ไขเด็กนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้ทันกาลและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนเป็นรายบุคคลได้อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งทราบสถานการณ์ของภาวะโภชนาการของนักเรียน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

    ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนอนุบาลลำดวน (สุรพินท์ราษฎร์นุสรณ์)

    รหัสโครงการ ศรร.1313-072 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.26 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

    วันที่เริ่มประเมิน

    1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    (ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    1. การเกษตรในโรงเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    2. สหกรณ์นักเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

    กระบวนการบริการอาหารกลางวันนักเรียน

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

     

    1.วัดส่วนสูง/ชั่งนำ้หนักนักเรียน
    2. เตรียมกับเกณฑ์มาตรฐาน
    3.แยกนักเรียน กลุ่ม ผอม/ค่อนข้างผอม ,เริ่มอ้วน/อ้วน
    4. จัดทำอาหารให้ตรงกับภาวะโภชนาการ เช่นผอม/ค่อนข้างผอม เพิ่มปริมาณสารอาหาร 5. จัดทำคูปอง เด็กผอม/ค่อนข้างผอม ,เริ่มอ้วน/อ้วน ุ6. นักเรียน เด็กผอม/ค่อนข้างผอม ,เริ่มอ้วน/อ้วนรับคูปองไปรับประทานอาหารกลางวัน

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    9. อื่น ๆ

     

     

     

    2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

    1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

     

    2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

     

    3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

    ครู นักเรียน แม่ครัว ผู้ปกครอง

    4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

     

    5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

    เลี้ยงไก่ไข่เป็ดไข่ หมูเพื่อนำผลผลิตไปประกอบอาหารกลางวัน

    ภาพกิจกรรมเกษตรในโรงเรียน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

    เลี้ยงปลากบ เพื่อนำผลผลิตไปประกอบอาหารกลางวัน

    ภาพกิจกรรมเกษตรในโรงเรียน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

     

     

     

    5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

     

     

     

    3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

    สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

    ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/1
    เตี้ย 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 9.30 9.30% 5.03 5.03% 0.00 0.00% 0.00 0.00%
    เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 4.20 4.20% 4.20 4.20% 4.20 4.20% 4.20 4.20% 8.19 8.19% 8.13 8.13% 7.85 7.85% 16.86 16.86% 7.54 7.54% 6.18 6.18% 6.20 6.20%
    ผอม 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00%
    ผอม+ค่อนข้างผอม 7.56 7.56% 4.48 4.48% 4.48 4.48% 4.48 4.48% 14.62 14.62% 13.16 13.16% 11.34 11.34% 10.78 10.78% 7.54 7.54% 7.02 7.02% 2.82 2.82%
    อ้วน 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.56 0.56%
    เริ่มอ้วน+อ้วน 0.00% 0.00% 0.00% 0.00% 0.00% 0.00% 0.00% 0.00% 0.00% 0.00% 0.00% 0.00% 0.00% 0.00% 0.00% 0.00% 0.28% 0.28% 1.69% 1.69% 1.13% 1.13%
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

    ควบคุม กำกับ ดูแล การรับประทานอาหารของนักเรียนเมื่ออยู่ที่บ้าน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ผลิตวัตถุดิบอาหารสำหรับใช้ในการจัดการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนทุกคน ทุกวัยเรียนและพัฒนาเด็กนักเรียนทุกคนให้มีความรู้ทักษะและทัศนคติที่ดีทางการเกษตรผสมผสานเป็นพื้นฐานในอนาคต (2) เพื่อปลูกฝังอุดมการณ์ คุณธรรมในการดำรงชีวิตร่วมกันในสังคมโดยผ่านกระบวนการสหกรณ์และ ฝึกฝนนักเรียนให้มีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการทำงานสหกรณ์ ชื่อกิจกรรมสหกรณ์โรงเรียน (3) เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสะอาดปลอดภัย บริโภคทุกวันเรียน ตลอดปีการศึกษาและเพื่อพัฒนาแบบแผนการบริโภคอาหารที่พึงประสงค์ตามหลักโภชนาการและสุขนิสัยที่พึงปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร (4) เพื่อให้นักเรียนสร้างสุขนิสัยที่ดีด้วยตนเอง (5) เพื่อให้นักเรียนพัฒนาทักษะในการจัดการดูแลสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ รวมทั้งการพัฒนาลักษณะนิสัยของนักเรียนในการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและยั่งยืน (6) เพื่อให้นักเรียนได้รับการช่วยเหลือแก้ไขการเจ็บป่วยในเบื้องต้นอย่างเหมาะสม อันเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายร้ายแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ชื่อกิจกรรมโครงการอนามัยโรงเรียน (7) เพื่อให้นักเรียนได้พัฒนาตนเองให้มีความรู้ทักษะทัศนคติและลักษณะนิสัยที่ดีในเรื่องของเกษตรยั่งยืน โภชนาการและสุขภาพอนามัย (8) เพื่อสามารถติดตามและแก้ไขเด็กนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้ทันกาลและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนเป็นรายบุคคลได้อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งทราบสถานการณ์ของภาวะโภชนาการของนักเรียน

    กิจกรรมหลักคือ (1) โครงการเกษตรในโรงเรียน  (2) กิจกรรมสหกรณ์โรงเรียน (3) การจัดบริการอาหารของโรงเรียน (4) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน (5) พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน ให้ถูกสุขลักษณะ (6) การบริการสุขภาพ (7) การติดตามภาวะโภชนาการ (8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การปลูกพืชผักหมุนเวียนตามฤดูกาล (2) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมเพาะเห็ดนางฟ้าและเห็ดขอน (3) กิจกรรมที่ 5 เลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ (4) กิจกรรมที่ 3 เลี้ยงปลากินพืชในบ่อธรรมชาติ. (5) กิจกรรมที่ 4 เลี้ยงปลาดุกในบ่อซิเมนต์/กระชัง (6) กิจกรรมที่ 6 เลี้ยงเป็ดพันธุ์ไข่  (7) กิจกรรมที่ 7 เลี้ยงหมู (8)    ฝึกฝนนักเรียนให้มีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการทำงานสหกรณ์                (9) โรงเรียนมีการจัดทำรายการอาหารหมุนเวียนตามมาตรฐานโภชนาการ (10) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน (11) โรงเรียนมีกิจกรรมการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  (12) นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพ (13) กิจกรรมการติดตามภาวะโภชนาการ (14) ตรวจรายงานงวดที่ 2 (15) ตรวจรายงวดที่ 1 (16) ถอนเงินเปิดบัญชี

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    โรงเรียนอนุบาลลำดวน (สุรพินท์ราษฎร์นุสรณ์) จังหวัด สุรินทร์

    รหัสโครงการ ศรร.1313-072

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางพงษ์ศรี หวังสม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด