ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนพัฒนาสามัคคี


“ โรงเรียนพัฒนาสามัคคี ”

หมู่ที่ 12 ตำบลหนองมะแซว อำเภอเมืองอำนาจเจริญ จังหวัดอำนาจเจริญ

หัวหน้าโครงการ
นายสะอาด ศรีวรรณ

ชื่อโครงการ โรงเรียนพัฒนาสามัคคี

ที่อยู่ หมู่ที่ 12 ตำบลหนองมะแซว อำเภอเมืองอำนาจเจริญ จังหวัดอำนาจเจริญ จังหวัด อำนาจเจริญ

รหัสโครงการ ศรร.1312-087 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.41

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2016 ถึง 30 เมษายน 2017


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนพัฒนาสามัคคี จังหวัดอำนาจเจริญ" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 12 ตำบลหนองมะแซว อำเภอเมืองอำนาจเจริญ จังหวัดอำนาจเจริญ

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนพัฒนาสามัคคี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนพัฒนาสามัคคี



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนพัฒนาสามัคคี " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 12 ตำบลหนองมะแซว อำเภอเมืองอำนาจเจริญ จังหวัดอำนาจเจริญ รหัสโครงการ ศรร.1312-087 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนพัฒนาสามัคคี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 215 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการเกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณะสุขกระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานครและระทรวงมหาดไทยภายใต้การสนับสนุนจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบผลสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร โครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียนโดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน ๘ องค์ประกอบ คือ ๑) การเกษตรในโรงเรียน ๒)สหกรณ์นักเรียน ๓)การจัดการบริการอาหารในโรงเรียน ๔)การติดตามภาวะโภชนาการ ๕)การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน ๖)การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโร เรียนให้ถูกสุขลักษณะ ๗)การจัดบริการสุขภาพและ ๘) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัยโดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน ๔ ประการตามแนวพระราชดำริ คือมีพุทธศึกษา หัตถศึกษา และจริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดีสุขภาพแข็งแรงไปพร้อมกับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่ดีมีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing ) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่๑ (พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๕๘) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น ๕๔๔ โรงเรียนจากทั่วประเทศ สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของโรงเรียนพัฒนาสามัคคีที่ผ่านมาพบว่า เด็กนักเรียนยังมีปัญหากล่าวคือ เด็กได้รับอาหารไม่ครบจนมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์หรือได้รับอาหารมากผิดปกติจนผิดสัดส่วนที่เหมาะสม นอกจากนี้ยังมีเด็กที่ขาดสารอาหารหมายถึงอาจจะได้รับอาหารไม่ครบประมาณหรือไม่ได้รับอาหารกลางวันพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เกิดประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น ขนมกรุบกรอบ น้ำอัดลม จึงส่งผลกระทบต่อการพัฒนาทางสติปัญญา ร่างกาย และอารมณ์ของเด็ก ทำให้เด็กขาดศักยภาพที่จะเรียนรู้ตาม จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนพัฒนาสามัคคี จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการปีที่๑ เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการดีสุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาสุขนิสัยในการรับประทานอาหารที่ปลอดภัย ปลอดโรค ให้รู้จักเลือกรับประทานอาหารที่ถูกสัดส่วน มีประโยชน์ และเห็นคุณค่าใส่ใจการเป็นผู้ผลิตอาหารปลอดภัยต่อสุขภาพอย่างยั่งยืน
  2. เพื่อจัดการเรียนรู้บูรณาการ เกษตร โภชณาการและสุขภาพ
  3. เพื่อส่งเสริมปัจจัยในการผลิตทางด้านการเกษตรทั้งในและนอกโรงเรียน
  4. สร้างโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสและพัฒนาเข้าสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ขยายผลสู่โรงเรียนอื่น
  5. ส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านการเกษตรให้กับนักเรียนโดยชุมชนและผู้ปกครองนักเรียนมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน เพื่อเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคตของเด็กนักเรียน
  6. เพื่อเป็นการสร้างองค์ความรู้การส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการอาหาร ให้กับ บุคลากรในโรงเรียนนักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนสนับสนุนการดำเนินงาน โดยเฉพาะหน่วยงานด้านสาธารณะสุข ด้านการเกษตรและสหกรณ์ และผู้ปกครอง ชุมชน
    2. โครงการขยายผลสู่ชุมชนโรงเรียนเป็นศูนย์กลางในการพัฒนาสุขภาพของชุมชน
    3. โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน มีการถ่ายทอดภูมิปัญญาจากปราชญ์ชาวบ้าน แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
    4. เด็กนักเรียนมีสุขภาพดี เติบโตสมวัยมีอารมณ์สติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะชีวิตสามารถนำไปใช้ได้จริง
    5. โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน
    6. พ่อแม่/ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร
    7. เกิดกระแสตื่นตัวในชุมชน/สังคมให้ความสำคัญกับอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กวัยเรียน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมครู ผู้ปกครอง และนักเรียนเพื่อรับทราบแนวทางการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใส

    วันที่ 10 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุม ครูผู้ปกครองนักเรียน เพื่อร่วมกันรับทราบแนวนโยบายการดำเนินงานตามโครงการเด็กไทยแก้มใส โดยผู้อำนวยการเป็นผู้กล่าวบรรยายการดำเนินกิจกรรมในภาพรวมบทบาทหน้าที่ของครูนักเรียนผู้ปกครอง และผู้มีส่วนร่วมทุกคน และครูผู้รัผิดชอบโครงการกล่าวบรรยายเกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใส แนวปฏิบัติ กิจกรรม ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการเพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับทราบร่วมกันมีแนวปฏิบัติที่ส่งเสริมงานซึ่งกันและกันและ เพื่อให้การดำเนินงานตามโครงการบรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ครู นักเรียน และผู้ปกครอง รับทราบแนวทางการดำเนินงาน และรู้บทบาทหน้าที่ของตนเองอย่างชัดเจน
    2. มีแนวทาง แผนงานที่จะปฏิบัติร่วมกันอย่างชัดเจน และมีเป้าหมาย
    3. มีการสร้างเครือข่ายผู้ปกครองเด็กไทยแก้มใส เพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ซึ่งกันและกัน ติดต่อ ประสานงานให้การดำเนินงานสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

     

    207 372

    2. ประชุมเชิงปฏิบัติการ ผู้บริหารหน่วยงานกับนักวิชาการ เพื่อทำ MOU

    วันที่ 13 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมเชิงปฏิบัติการ ผู้บริหารหน่วยงาน กับภาคส่วนที่มีส่วนเกี่ยวข้องและให้การช่วยเหลือสนับสนุนกิจกรรมเด็กไทยแก้มใส ห่วยงานละ 3 คนเข้าร่วมอบรมและ เพื่อจัดทำ MOU และลงนามในข้อตกลงดังกล่าวร่วมกันโดยมีหน่วยงานที่เข้าร่วมทำ MOU กับทางโรงเรียนดังนี้

    1. ตัวแทนจากโรงเรียน
    2. เครือข่ายผู้ปกครอง(6 คน )
    3. รพสต.หนองมะแซว
    4. อบต.หนองมะแซว
    5. เกษตรจังหวัดอำนาจเจริญ
    6. สหกรณ์จังหวัดอำนาเจริญ
    7. สาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ
    8. ศูนย์อนามัยที่ 10 จังหวัดอุบลราชธานี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ทำข้อตกลงในการให้การช่วยเหลือ สนับสนุน ส่งเสริม ในการทำกิจกรรม เป็นการสร้างเครือข่ายในการปฏิบัติงานให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องได้ดูแลและดำเนินงานร่วมกันอย่างมีขั้นตอนและประสิทธิภาพ 

     

    3 30

    3. อบรมนักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพ

    วันที่ 24 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดทำโครงการนักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพ
    2. คัดเลือกนักเรียนที่เป็นแกนนำส่งเสริมสุขภาพ
    3. ดำเนินการอบรมนักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพ จำนวน 30 คนเพื่อเป็นแกนนำขยายผลให้นักเรียนคนอื่นๆต่อไป
    4. นักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพสามารถปฏิบัติหน้าที่ร่วมกับคุณครูประจำชั้น และครูอนามัยโรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนแกนนำสามารถปฏิบัติหน้าที่ร่วมกับครูอนามัย ครูประจำชั้น  เจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล และหน่วยงานอื่นได้เป็นอย่างดี 

     

    32 0

    4. อบรมนักเรียนแกนนำดำเนินงานสหกรณ์

    วันที่ 27 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อบรมให้ความรู้นักเรียนแกนนำดำเนินงานสหกรณ์ 3 กลุ่ม กลุ่มละ 10 คน รวมจำนวนทั้งหมด 30 คน เพื่อทราบแนวทางการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีนักเรียนแกนนำดำเนินงานด้านสหกรณื์นักเรียน จำนวน 30 คน
    นักเรียนที่เป็นแกนนำมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสหกรณ์นักเรียนเป็นอย่างดี สามารถขยายผลต่อได้

     

    30 32

    5. เรียนรู้บริหารกายเพื่อให้ได้สมรรถภาพแข็งแรง

    วันที่ 1 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางร่างกายเก็บกับนักเรียนชั้น ป.1 -ม.6 จำนวน 151 คน จัดซื้อแบบบันทึกผลการทดสอบจำนวน 9 ชุด ชุดละ  50 บาทเป็นจำนวนเงิน 450 บาท จัดซื้อแฟ้มสันแข็งเพื่อเก็บข้อมูลสมรรถภาพทางกาย 1 แฟ้ม ราคา 80 บาท 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีข้อมูลสมรรถภาพทางกายของนักเรียนอย่างครบถ้วนและมีการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ สามารถนำข้อมูลที่ได้ดังกล่าวไปประกอบการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องต่อไปได้

     

    177 171

    6. เลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์

    วันที่ 1 มิถุนายน 2016 เวลา 07:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เตรียมบ่อซีเมนต์
    จัดซื้อลูกพันธ์ปลาดุกจำนวน 2800 ตัว ตัวละ 1 บาท เป็นเงิน 2800 บาท และค่าอาหารปลาดุก จำนวน 10 กระสอบ  กระสอบละ 400 บาท
    ปล่อยพันธ์ปลา ดำเนินการเลี้ยงตามขั้นตอนที่วางไว้ ผลผลิตที่ได้จำหน่ายให้สหกรณ์นักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนสามารถนำเอากระบวนการเลี้ยงปลาไปใช้เป็นอาชีพต่อไปได้
    นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ และสามารถขยายผลให้ผู้ที่สนใจได้
    นักเรียนและครู  ตลอดจนผู้ปกครอง ให้ความร่วมมือด้านการดำเนินกิจกรรมเป็นอย่างดี 

     

    66 0

    7. สุขาภิบาลน่ารู้

    วันที่ 10 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรมอบรมนักเรียนแกนนำจำนวน  18 คน เพื่อเรียนรู้ขั้นตอนการประเมินมาตรฐานสุขาภิบาลสำหรับโรงอาหาร โดยมีวิทยากรที่เกี่ยวข้องจำนวน 1 ท่าน มาใให้ความรู้ในกิจกรรมครั้งนี้
    จัดซื้อแบบประเมินมาตรฐานสุขาภิบาลสำหรับโรงอาหารจำนวน 20 ชุด ชุดละ 25 บาท เพือใช้ในกิจกรรมดังกล่าว 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีนักเรียนแกนนำสุขาภิบาลในโรงเรียนเพื่อดำเนินงานและขยายผลในโอกาสต่อไป นักเรียนแกนนำได้เรียนรู้กระบวนการและขั้นตอนการประเมินมาตรฐานสุขาภิบาลสำหรับโรงอาหาร

     

    18 21

    8. สร้างเครือข่ายร่วมใจพัฒนาสุขนิสัยนักเรียน

    วันที่ 14 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ครูผู้รับผิดชอบโครงการจัดกิจกรรมให้ความรู้นักเรียนแกนนำจำนวน 20 คน เพื่อให้ความรู้เรื่องการพัฒนาและการปฏิบัตินสร้างสุขนิสัยที่ดีจัดซื้อคู่มือปฏิบัติตนสร้างสุขนิสัย 187 ชุด ชุดละ 10 บาทเพื่อแจกให้กับนักเรียนบันทึกตามคู่มือดังกล่าว ค่าแฟ้มบันทึกผลสุขนิสัยนักเรียน 11 แฟ้ม แฟ้มละ 80 บาท เพื่อเก็บข้อมูลในแต่ละชั้นเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีเครือข่ายนักเรียนแกนนำจำนวน 20คน ที่สามรถให้ความรู้เรื่องการพัฒนาและปฎิบัติตนในการสร้างสุขนิสัยให้กับเพื่อนนักเรียนในโรงเรียนได้ และสามารถให้ข้อมูลและปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ

     

    20 22

    9. จัดทำระบบสารสนเทศภาวะโภชนาการนักเรียน

    วันที่ 17 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สำรวจนักเรียนตั่งแต่ชั้นอนุบาลปีที่ 1- ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
    จัดทำคู่มือเปรียบเทียบน้ำหนักส่วนสูง จำนวน 195 ชุด
    ซื่อแฟ้มบันทึกข้อมูลในแตะละระดับชั้นจำนวน 11 แฟ้ม
    ครูประจำชั้นบันทึกภาวะโภชนาการนำหนักส่วนสูง นักเรียนทุกคน
    ครูเปรียบเทียบเกณฑ์การประเมินตามหลักภาวะโภชนาการ
    สรุปภาวะโภชนาการของนักเรียนทุกคน
    หาแนวางแก้ปัญหาในกลุ่มที่มีภาวะทุพโภชนาการต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สามารถทราบข้อมูลของนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการที่ดี และนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ และหาแนวทางแก้ไขได้ทันท้วงทีโดยประสานครูประจำชั้น และหน่วยงานภายนอกถึงแนวทางและวิธีแก้ปัญหา  เช่น ให้อาหารเสริม นม เพิ่ม จัดอาหารกลางวันเฉพาะกลุ่มนั้นๆ 

     

    207 215

    10. ประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องสุขาภิบาล

    วันที่ 17 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดตั้งกลุ่มนักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขาภิบาลในโรงเรียน ครู 20  คน  นักเรียนแกนนำ 30 คน ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องสุขาภิบาล โดยมีวิทยากรมาให้ความรู้ในเรื่องสุขาภิบาลกับนักเรียนแกนนำเป็นเวลา ครึ่งวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนแกนนำได้เรียนรู้เรื่องสุขาภิบาลและสามารถขยายผลให้กับนักเรียนคนอื่นๆภายในโรงเรียนและนอกโรงเรรียนได้  เช่นการจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย จัดป้านนิเทศน์  เป็นต้น 

     

    50 50

    11. แก้มใสไร้เหา

    วันที่ 21 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตรวจสุขภาพเหานักเรียนทั้งโรงเรียน แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม  โดยกล่มที่เป็นเหา ครูจะทำการช่วยเหลือและแก้ปัญหาต่อไป
    ติดต่อครูประจำชั้นเพื่อประสานการกำจัดเหา  จากนั้นประสานเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาล รพสต.หนองมะแซว เพื่อติดต่อขอยาในการกำจัดเหา
    ครูและนักเรียนแกนนำเรื่องสุขภาพ ให้ความรู้เรื่องการป้องกันการเกิดเหาโดยการจัดทำแผ่นผับให้ความรู้เรื่องเหา และการกำจัดเหา  พร้อมทั้งแนะนำการดูแลตนเองให้สะอาด ปราศจากเหา จัดซื้อแฟ้ม เก็บข้อมูล 1 แฟ้ม เพื่อเก็บข้อมูลเรื่องเหาของนักเรียนทั้งโรงเรียน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีข้อมมูลการเป็นเหาของนักเรียนทั้งโรงเรียน  สะดวกต่อการดำเนินการกำจัดเหา  และการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เพิ่มเติม 

     

    207 215

    12. ฟันสวยยิ้มใส

    วันที่ 23 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ตรวจสุขภาพในช่องปากของนักเรียนทุกคน เพื่อเก็บข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพในช่องปากของนักเรียน
    • จัดอบรมให้ความรู้นักเรียนเกี่ยวกับสุขภาพในช่องปาก และการดูแลความสะอาด ป้องกันการเกิดฟันผุและการแปรงฟันที่ถูกวิธี โดยวิทยากรผู้ที่มีความรู้เรื่องการดูแลฟัน และช่องปาก จาก รพสต.หนองมะแซวจัดซื้อแก้วน้ำ และแปรงสีฟันเพื่อแจกให้กับนักเรียน และรณรงค์ให้นักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวันทุกมื้อ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้รัอุปกรณ์แปรงฟันเพื่อใช้ในการแปรงฟันหลังอาหาร และมีความรู้เรื่องการดูแลความสะอาดฟัน เพื่อป้องการการเกิดฟันผุ มีความรูเรื่องการแปรงฟันอย่างถูกวิธี 

     

    207 216

    13. ประชุมเชิงปฏิบัติการปฐมพยาบาลเบื้องต้น

    วันที่ 29 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ การปฐมพยาบาลเบื้องต้น โดยมีนักเรียนเข้าร่วมจำนวน 20 คน วิทยากรมาให้ความรู้ 1 ท่าน  ความรู้ที่ทำการถ่ายทอดในกิจกรรมวันนี้คือ การปฐมพยาบาลเบื้องต้น 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนที่เข้าร่วมอบรมสามารถขยายผลความรู้ที่ได้รับในวันนี้ให้กับเพื่อนนักเรียนคนอื่นๆ ได้ 

     

    22 23

    14. เกษตรแก้มใส

    วันที่ 5 สิงหาคม 2016 เวลา 07:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดซื้ออุปกรณ์ บัวรดน้ำ จอบ เสียม
    2. จัดซื้อเมล็ดพันธ์ผักบุ้ง ผักกาดหอม คะน้า ขึ้นฉ่าย ชีหอม ชีลาวบวบ ต้นหอม มะเขือ ข่า ตะไคร้
    3. จัดซื้อปุ๋ยคอก ปุ๋นอินทรีย์อัดเม็ด
      นักเรียนทุกชั้นปลูกผักตามฤดูกาลผลผลิตที่ได้ส่งเข้าระบบสหกรณ์โรงเรียนเพื่ออาหารกลางวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีอุปกรณ์ในการทำการเกษตร
    2. มีผักปลอดสารจำหน่ายสัปดาห์ละ 500 บาท
    3. นักเรียนได้นำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง และชุมชน
    4. นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัย มีผลดีต่อสุขภาพ
    5. นักเรียนมีรายได้ จากการจำหน่ายพืชผลทางการเกษตร

     

    207 0

    15. การรายงานโครงการงวดที่1

    วันที่ 5 สิงหาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รวบรวมเอกสารเกี่ยวกับการดำเนินงานในโครงการเด็กไทยแก้มใสตามจำนวนเงินก้อนแรกที่ได้คือ 40,000 บาท โดยจัดทำรายงานจำนวน  5 ชุด  ชุดละ 225 บาท 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีรายงานการจัดกิจกรรมตามโครงการต่างๆ เอกสารประกอบโครงการอย่างครบถ้วนสามารถ ตรวจสอบได้ง่าย 

     

    5 5

    16. เรียนรู้โภชนาการสมวัย เด็กไทยแก้มใส

    วันที่ 3 ตุลาคม 2016 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำทันตสุขภาพ  แผนการัดการเรียนรู้ ๕ เรื่องได้แก่ ธงโภชนาการ  ผักผลไม้  ลดหวาน มัน เค็ม โรคอ้วน พร้อมกับจัดทำสื่อการเรียนและแบบประเมินผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีแผนการจัดการเรียนรู้๕ เรื่องได้แก่ ธงโภชนาการ  ผักผลไม้  ลดหวาน มัน เค็ม โรคอ้วน พร้อมกับจัดทำสื่อการเรียนและแบบประเมินผล เพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกับนักเรียน 

     

    20 20

    17. พัฒนาครูเพื่อจัดกิจกรรมสหกรณ์

    วันที่ 10 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พัฒนาครูเกี่ยวกับเรื่องงานสหกรณ์นักเรียน จำนวน  20  คน โดยวิธีการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดำเนินงานโครงการสหกรณ์นักเรียน และการจัดการเรียนการสอนที่บูรณาการเรื่องสหกรณ์เข้าไปในเนื้อหาแต่ละวิชา 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงานโครงการสหกรณ์นักเรียน และสามารถบูรณาการเรื่องสหกรณ์เข้ากับบทเรียนในแต่ละวิชาที่ตนเองสอนได้ 

     

    20 20

    18. เรียนรู้บูรณาการด้านเกษตร ด้วยสมองและสองมือ

    วันที่ 31 ตุลาคม 2016 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ครูร่วมกันจัดทำแผนการจัดการเรียนการสอนบูรณาการเรื่องงานเกษตร  และจัดทำสื่อการเรียนการสอน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีแผนและสื่อที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน

     

    20 20

    19. เลี้ยงไก่พันธ์ไข่

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2016 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เรียนรู้กระบวนการเลี้ยงและดูแลไก่พันธ์ไข่ ตั้งแต่ขั้นตอนแรก โดยผ่านกิจกรรมการเลี้ยงไก่พันธ์ไข่ โดยจัดซื้อไก่พันธ์ไข่มาเลี้ยงจำนวน 40 ตัว มีนักเรียนแกนนำในการเลี้ยงและดูแลไก่พันะ์ไข่ และเป็นศูนย์การเรียนรู้เรื่องการเลี้ยงไก่พันธ์ไข่อย่างครบวงจร 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีกลุ่มนักเรียนแกนนำในการเลี้ยงไก่พันะธ์ไข่ สามารถให้ความรู้และถ่ายทอดกระบวนการเลี้ยงไก่พันธ์ไข่ได้อย่างครบวงจร 

     

    83 83

    20. โรงเรียนสวยด้วยมือเรา

    วันที่ 3 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดซื้ออุปกรณ์ในการทำความสะอาด บริเวณอาคารสถานที่ภายในโรงเรียนให้มีความสะอาด ปลอดภัย 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีวัสดุ อุปกรณ์ในการทำความสะอาด อาคารสถานที่ และบริเวณภายในโรงเรียน ทำให้โรงเรียนมีความสะอาด สถานที่ต่างๆมีความปลอดภัย เหมาะสมกับการเรียนการสอน และการทำกิจกรรมต่างๆ 

     

    207 207

    21. เพาะเห็ดนางฟ้า

    วันที่ 7 พฤศจิกายน 2016 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ซื้อก้อนเชื้อเห็ดนางฟ้า และอุปกรณ์โรงเรือน เพื่อเพาะเห็ดนางฟ้าจำหน่าย 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีโรงเรือนเพาะเห็ดพร้อมเห็ดจำหน่าย 

     

    207 207

    22. เรียนรู้สหกรณ์นักเรียน

    วันที่ 7 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะครูร่วมกันออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องสหกรณ์ และสื่อการสอน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องสหกรณ์์ครบทุกชั้นเรียน พร้อมกับมีสื่อประกอบในการจัดการเรียนการสอน

     

    20 20

    23. ปราชญ์ชาวบ้านสู่ลูกหลานด้านเกษตรอินทรีย์

    วันที่ 14 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้นักเรียนเกี่ยวกับการทำเกษตรแบบอินทรีย์ โดยเชิญปราชญ์ชาวบ้านผู้มีความรู้เรื่องการทำเกษตรอินทรีย์ที่ประะสบผลสำเร็จมาเป็นวิทยากรถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับนักเรียน และให้นักเรียนลงมือปฎิบัติจริงในบางกิจกรรมเช่น 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้รับความรู้เรื่องการทำเกษตรอินทรีย์อย่างครบวงจร มีความรู้สามารถนำมาปฎิบัติจริงได้ในการทำการเกษตรในโรงเรียน 

     

    177 178

    24. กิน อยู่ คือ

    วันที่ 16 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อบรมให้ความรู้นักเรียนเกี่ยวกับเรื่องการกินอาหาร  เลือกรับประทานอาหารให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนที่เเข้าอบรมได้รับความรู้เรื่องการเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์ สามารถแยกประเภทขของอาหารที่มีประโยชน์ และไม่มีประโยชน์ กินเข้าไปแล้วเกิดโทษกับร่างกายได้ 

     

    207 207

    25. แก้มใสใส่ใจสิ่งแวดล้อม

    วันที่ 30 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นักเรียนเดินรณรงค์ในชมชนรอบๆโรงเรียนเกี่ยวกับการดูแลสิ่งแวดล้อม  พร้อมกับแจกเอกสารแผ่นพับ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชุมชนได้ตระหนักถึงการดูแลรักษาสภาพแวดล้อม และเป็นการปลูกจิตสำนึกให้นักเรียนและคนในชุมชนร่วมกันดูแลสภาพแวดล้อมช่วยกัน 

     

    207 207

    26. ถอดบทเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการเด็กไทยแก้มใส

    วันที่ 17 มกราคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุม ถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ โครงการเด็กไทยแก้มใส เพื่อประเมินผลการดำเนินงาน จากครู นักเรียน ผู้ปกครอง 150 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้อำนวยการ คณะครูและนักเรียนที่ได้ร่วมกันดำเนินกิจกรรมเด็กไทยแก้มใส่ ร่วมกันกับผู้ปกครอง ถอดบทเรียนจากการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมาตลอดทั้งปี

     

    150 150

    27. เปิดบ้านด็กไทยแก้มใส โรงเรียนพัฒนาสามัคคี

    วันที่ 20 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดนิทรรศการในระดับกลุ่มเครือข่าย 15 เมืองอำนาจเจริญ สพป.อำนาจเจริญ  โดยนำเสนอผลสำเร็จจากการดำเนินงานภายใต้โครงการ ศรร.ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสตลอดปีที่ผ่านมา 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดการขยายผลใให้โรงเรียนต่างๆในกลุ่มเครือข่าย 15 เมืองอำนาเจริญ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กิจกรรมที่ประสบผลสำเร็จซึ่งกันและกัน 

     

    420 420

    28. ถอนเงินดอกเบี้ยธนาคาร

    วันที่ 23 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ถอนเงินดอกเบี้ยธนาคาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ถอนเงินดอกเบี้ยธนาคาร

     

    1 1

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนาสุขนิสัยในการรับประทานอาหารที่ปลอดภัย ปลอดโรค ให้รู้จักเลือกรับประทานอาหารที่ถูกสัดส่วน มีประโยชน์ และเห็นคุณค่าใส่ใจการเป็นผู้ผลิตอาหารปลอดภัยต่อสุขภาพอย่างยั่งยืน
    ตัวชี้วัด : มีชุมชน หน่วยงานสนับสนุน อย่างน้อย 2 หน่วยงาน

    รพสต.หนองมะแซว
    อบต.หนองมะแซว คณะกรรมการสถานศึกษา
    เครือข่ายผู้ปกครอง

    2 เพื่อจัดการเรียนรู้บูรณาการ เกษตร โภชณาการและสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : โรงเรียนสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่บูรณาการด้านเกษตร ภาวโภชนาการ และสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ

    มีแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการเรื่อง สหกรณ์ เกษตร และโภชนาการครบทุกชั้นเรียน

    3 เพื่อส่งเสริมปัจจัยในการผลิตทางด้านการเกษตรทั้งในและนอกโรงเรียน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีผักปลอดสารพิษรับประทานทั้งในโรงเรียนและชุมชน

    นักเรียนปลูกผักปลอดสาร เพื่อจำหน่ายให้โครงการอาหารกลางวัน
    ชุมชนจำหน่ายผักปลอดสารให้กับทางโรงเรียนเพื่อใช้ประกอบอาหารกลางวัน

    4 สร้างโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสและพัฒนาเข้าสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ขยายผลสู่โรงเรียนอื่น
    ตัวชี้วัด : ขยายผลการเรียนรู้โครงการเด็กไทยแก้มใสในโรงเรียนในเครือข่ายจำนวน 2แห่ง

    มีการขยายผลสู่โรงเรียนในเเครือข่าย 2 โรงเรียน คือ โรงเรียนคำมะเบื่อแสงงเพชร และโรงเรียนบ้านดงสีโท

    5 ส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านการเกษตรให้กับนักเรียนโดยชุมชนและผู้ปกครองนักเรียนมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน เพื่อเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคตของเด็กนักเรียน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนสามารถนำความรู้ทางด้านการเกษตรไปประกอบอาชีพในอนาคตได้

    นักเรียนมีพื้นฐานในการทำการเกษตรในโรงเรียนผ่านการลงมือปฏิบัติจริงนักเรียนจึงสามารถนำความรู้ที่ได้ปฏิบัติไปใช้ในการประกอบอาชีพในอนาคตได้เอง

    6 เพื่อเป็นการสร้างองค์ความรู้การส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการอาหาร ให้กับ บุคลากรในโรงเรียนนักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน
    ตัวชี้วัด : - บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน เกิดความตื่นตัวในการส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการอาหารสมวัยและสุขภาพมากขึ้นร้อยละ 80 - มีการนำโปรแกรม Thai school lunch มาใช้ในการกำหนดเมนูอาหารกลางวัน

    นักเรียนและครูมีความตื่นตัวในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลสุขภาพมากขึ้นเห็นได้จากการจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น กิจกรรมเสียงตามสาย เน้น รณรงค์ให้นักเรียนรู้จักการเลือกกิน การดูแลสุขภาพและการจำหน่ายสินค้าในสหกรณ์นักเรียนจึงปลอดขนมกรุบกรอบ และน้ำหวาน ส่วนการจัดบริการอาหารกลางวันทางโรงเรียนของเราได้ใช้โปรแกรม Thai school lunch เพื่อให้การจัดเมนูอาหารมีคุณค่าทางโภชนาการและได้รับสารอาหารครบถ้วนเป็นประจำทุกวัน

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาสุขนิสัยในการรับประทานอาหารที่ปลอดภัย ปลอดโรค ให้รู้จักเลือกรับประทานอาหารที่ถูกสัดส่วน มีประโยชน์ และเห็นคุณค่าใส่ใจการเป็นผู้ผลิตอาหารปลอดภัยต่อสุขภาพอย่างยั่งยืน (2) เพื่อจัดการเรียนรู้บูรณาการ เกษตร โภชณาการและสุขภาพ (3) เพื่อส่งเสริมปัจจัยในการผลิตทางด้านการเกษตรทั้งในและนอกโรงเรียน (4) สร้างโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสและพัฒนาเข้าสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ขยายผลสู่โรงเรียนอื่น (5) ส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านการเกษตรให้กับนักเรียนโดยชุมชนและผู้ปกครองนักเรียนมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน เพื่อเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคตของเด็กนักเรียน (6) เพื่อเป็นการสร้างองค์ความรู้การส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการอาหาร ให้กับ บุคลากรในโรงเรียนนักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

    ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนพัฒนาสามัคคี

    รหัสโครงการ ศรร.1312-087 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.41 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

    วันที่เริ่มประเมิน

    1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    (ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    1. การเกษตรในโรงเรียน

    การทำการเกษตรอย่างหลากหลายเพื่อให้ได้ผลผลิตเพียงพอต่อการบริโภคในโครงการอาหารกลางวัน และมีการจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย การหักต้นทุนในการผลิต ทุนสำรอง การหักเปอร์เซ็นต์เข้าสหกรณ์ อย่างเป็นระบบ

    โรงเรียนพัฒนาสามัคคีมีการทำการเกษตรอย่างหลากหลาย เช่น การเลี้ยงไก่พันธ์ไข่ การเลี้ยงปลากดุก การเลี้ยงหมูหลุม การเพาะเห็ดนางฟ้า การปลูกผักปลอดสาร การปลูกพืชสมุนไพร ปลูกมะนาว แก้วมังกรและการทำนาข้าว ซึ่งผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการทำกิจกรรมต่างๆที่กล่าวมา จะถูกจำหน่ายให้กับทางสหกรณ์โรงเรียน โดยกิจกรรมทุกกิจกรรมจะมีบัญชีการจำหน่ายผลผลิตทางการเกษตรควบคุม โดยมีการแบ่งหัก ดังนี้ 1.หักสกหรณ์ 10 %
    2.ต้นทุนสำรอง 80 % 3.ผู้ผลิต 10 % ( *หมายเหตุ บัญชีบางกิจกรรมจะมีการหักไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับลักษณะการทำงานและความเหมาะสมของกิจกรรมนั้นๆ) สิ้นค้าทุกชนิดจะถูกขายให้กับโครงการอาหารกลางวันเป็นอันดับแรก เหลือจากการจำหน่ายจึงขายสู่ชุมชนในลำดับต่อไป

    ๑. พัฒนาต่อยอดในทุกกิจกรรมให้มีความต่อเนื่องและยั่งยืน ศึกษาและหาข้อมูลในการดำเนินกิจกรรมที่ยังพบเจอปัญหาหรือยังไม่บรรลุผลเท่าที่ควรเพื่อการดำเนินงานประสบความสำเร็จมากขึ้น โดยคณะครูผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกคน ต้อง AAR หรือ PLC เพื่อหาแนวทางพัฒนาร่วมกัน

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    2. สหกรณ์นักเรียน

    สหกรณ์นักเรียน

    สหกรณ์นักเรียนโรงเรียนพัฒนาสมัคคี ดำเนินกิจกรรมโดยนักเรียน ซึ่งครูมีบทบาทหหน้าที่ให้คำปรึกษา และคอยให้คำแนะนำในการดำเนินงาน ผลผลิตทางการเกษตรทุกชนิด สหกรณ์นักเรียนนจะรับซื้อ และเป็นศูนย์กลางในการจำหน่ายและกระจายสินค้าสู่โครงการอาหารกลางวันและสู่ชุมชน โดยมีบัญชีแสดงรายละเอียดในทุกเรื่องอย่างชัดเจนและตรวจสอบได้ กำไรจากการดำเนินกิจกรรมสหกรณ์จะถูกจัดสรรเพื่อปันผลให้กับนักเรียนทุกสิ้นปีการศึกษา ซึ่งในทุกๆปี สหกรณ์นักเรียนจะมีกำไรจากการดำเนินกิจกรรมตลอดทุกปี

    จัดตั้งกลุ่มแกนนำดำเนินงานสหกรณ์อย่างชัดเจน อบรมให้ความรู้เรื่องการดำเนินงานสหกรณ์ให้กับนักเรียนแกนนำ และนักเรียนคนที่สนใจอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

    การจัดบริการอาหารโดยใช้ โปรแกรมThai School lunch และจัดดูแลนักเรียนกลุ่มที่มีความเสี่ยงเป็นพิเศษ เช่น อ้วน ผอม

    โรงเรียนพัฒนาสามัคคีมีการจัดบริการอาหารกลางวันให้กับนักเรียน โดยใช้ โปรแกรม Thai School lunch เมนูอาหารจะมีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนกันโดยส่วนใหญ่เราจะเน้นอาหารที่เรามีวัตถุดิบอยู่แล้ว เช่นผักในโรงเรียนที่่เราปลูกช่วงนี้มีผักอะไร เมนูอาหารในวันนั้นก็จะเลือกเมนูที่ต้องใช้ผักที่เราปลูก หรือในชุมชนของเรามีสินค้าเกษตรอะไร เราก็เลือกเอาวัตถุดิบนั้นๆมาใ้ช้ประกอบอาหารซึ่งชุมชนของเราจะปลอดภัยจากกการใช้สารเคมี และเชื่อถือได้ และเป็นการกระจายรายได้สู่ชุมชนอีกทางหนึ่ง
    ส่วนนักเรียนที่มีปัญหา อ้วน ผอม เตี้ย เราก็จะจัดอาหารเป็นพิเศษให้กับเด็กกลุ่มนี้โดยเฉพาะ

    จัดทำ MOU ร่วมกันระหว่างโรงเรียนและชุมชน เรื่องการรับซื้อผักปลอดสารจากชุมชนเพื่อนำมาประกอบอาหารกลางวันเพื่อนักเรียน และเกิดผลดีทั้งสองฝ่าย

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

    ระบบสารสนเทศภาวะโภชนาการ

    มีการจัดทำระบบสารสนเทศภาวะโภชนาการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยมีการวัดส่วนสูงและชั่งน้ำหนักนักเรียนทุกเดือน ในการวัดน้ำหนักและชั่งส่วนสูงในแต่ละครั้งจะใช้ครูอนามัยเพียงคนเดียวเป็นคนอ่านค่าเและช่วงเวลาที่ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสงก็ใช้ช่วงเวลาเดียวกัน ทั้งนี้เพื่อเป็นการลดความคลาดเคลื่อนของการอ่านค่านั้นเองข้อมูลที่เราได้ นำไปจัดพัฒนาและแก้ไขตต่อไป จากการดำเนินงานที่ผ่านมาจึงทำให้เราสามารถดำเนินงานได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ

    มีการประชุมและวางแผนการดำเนินงานในส่วนของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วนเพื่อให้การดำเนินงานไปในทิศทางเดียวกันและสอดคล้องกันมากที่สุด

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

    กิจกรรมเสียงตามสายและเพลง

    จัดกิจกรรมเสียงตามสายและพลงเกี่ยวกับการเสริมสุขภาพอนามัยและพัฒนาสุขนิสัยต่างๆ ในช่วงเช้าและช่วงพักเที่ยงของทุกวันเช่นในช่วงก่อนทานเข้าจะเปอดเพลงเสียงตามสาย ขั้นตอนการล้างมือ ช่วงทานข้าวเปอดเพลงมารยาทการทานอาหาร ช่วงก่อนเข้าเรียน เปิดเพลงขั้นตอนการแปรงฟัน เป็นต้น นอกจากนี้เรายังมีกลุ่ม แกนนำ อย.น้อย ให้ความรู้เรื่องต่างๆ ผ่านกิจกรรมเสียงตามสาย และบอร์ดประชาสัมพันธ์อยู่เป็นประจำ

    จัดตารางการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ผ่านเสียงตามสายอย่างชัดเจน ระบุ เนื้อหา และความรู้ที่จะนำเสนอในแต่ละครั้งเพื่อให้ความรู้ที่ได้เกิดความหลากหลายและไม่ซ้ำซ้อนกัน

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

    กิจกรรมทำความสะอาดก่อนเข้าแถวในทุกเช้า

    พื้นที่ทุกส่วนในโรงเรียนจะถูกแบ่งให้มีนักเรียนรับผิดชอบทำความสะอาดอย่างชัดเจน มีครูผู้ดูแลเขตรับผิดชอบลงพื้นที่ช่วยนักเรียนและตรวจสอบความเเรียบร้อบและความปลอดภัยในทุกวัน บริเวณเขตพื้นที่ในโรงเรียนจึงสะอาด และปลอดภัยต่อการจัดการเรียนการสอน

    จัดตั้งครูผู้ตวรจสอบอนามัยและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนในทุกวัน

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

    มีห้องพยาบาลที่เหมะสม สะอาด ยา และอุปกรณ์ที่ใช้ปฐมพยาบาลเบื้องต้นครบถ้วน

    งานพยาบาลและอนามัยโรงเรียนพัฒนาสามัคคีเป็นงานที่ให้บริการทางด้านสุขภาพของนักเรียนโดยมุ่งเน้นให้นักเรียนทุกคนมีสุขภาพดี สมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย จิตใจอารมณ์ เปิดบริการให้กับนักเรียนด้านการปฐมพยาบาลเบื้องต้น การดูแลผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บไข้เล็กน้อย การอำนวยความสะดวกเกี่ยวกับการให้ภูมิคุ้มกันโรคติดต่อโดยประสานงานกับหน่วยงานสาธารณสุข และ โรงพยาบาลใกล้เคียงกับโรงเรียน

    อบรมและจัดกิจกรรมให้ความรู้แก่นักเรียนแกนนำ อย.น้อย เพื่อให้มีความรู้มากขึ้นและสามารถปฎิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

    มีแผนบูรณาการ เรื่องเกษตร สหกรณ์ โภชนาการอย่างครบถ้วน

    มีการจัดทำแผนบูรณาการ สหกรณ์ เกษตร และโภชนาการ ครบทุกชั้นเรียน โโยเน้นจัดกิจกรรมแบบ Active Learning

    ปรับุปรุงแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการ โดยเน้นออกแบกิจกรรม แบบ Active Learning และเพิ่ม PBLปรับลด และเพิ่มเนื้อหาในบางเรื่องให้เหมาะสมมากยิ่งขึ้น

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    9. อื่น ๆ

     

     

     

    2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

    1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

    หน่วยงานภาคีให้ความร่วมมือ สนับ และมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมมาโดยตลอด

    2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

    โรงเรียนมีขนาดพื้นที่เหมาะสมไม่ใหญ่ หรือเล็กมากจนเกิดไป ทำให้การจัดการด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านการทำการเกษตรก็ได้ผลผลิตเป็นที่น่าพอใจ รวมถึงการปรับปรุงดูแลเรื่องอาคารสถานที่ก็ทำได้อย่างดี

    3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

    มีการประชุมวางแผน หารือ ร่วมกันอย่างเป็นระบบ โดยใช้วง PLC มาช่วยในเรื่องดังกล่าว

    4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

    มีการประสานงานให้ความรู้ข้อมูลข่าวสารกันอยู่เป็นประจำ ข้อมูลที่มีจึงสอดคล้องกันและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน จึงเกิดความง่ายในการบริหารจัดการในส่วนต่างๆอย่างครบวงจร

    5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

    ผู้ปกครองและชุมชนมีความสำคัญอย่างยิ่งในการดำเนินกิจกรรมเด็กไทยแก้มใสให้ประสบผลสำเร็จในครั้งนี้ เนื่องจากเป็นผู้มีส่วนร่วมตั้งแต่แรกเริ่ม มีการประชุมวางแผนกันก่อนเริ่มดำเนินกิจกรรมเพื่อให้รับทราบถึงแนวทางการดำเนินกิจกรมตลอดโครงการ ระหว่างดำเนินกิจกรรมก็ได้รับความช่วยเหลือในเรื่องของการให้ความรู้ในเรื่องต่างๆ เช่น ปราชญ์ชาวบ้านให้ความรู้เรื่องต่างๆ ตลอดจนให้การสนับสนุุนสินค้าทางการเกษตรของทางโรงเเรียนที่มีเยอะในบางช่วงจนล้นความต้องการของโครงการอาหารกลางงวัน และร่วมถอดบทเรียนหลังจากดำเนินกิจกรรมเสร็จสิ้นเพื่อสังเคราะห์สิงที่เกิดจากการดำเนินกิจกรรม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

    ปลูกผักปลอดสาร โดยก่อนปลูกจะมีการสำรวจว่าผักชนิดไหนที่ใช้และประกอบอาหารในเมนู Thai School Lunch มากและใช้เป็นประจำ โรงเรียนก็จะเลือกปลูกผักชนิดหรือประเภทนั้นๆก่อนเพื่อให้ส่งงานโครงการอาหารกลางวันให้พอเพียงมากที่สุด

    1.บัญชีการจำหน่ายผัก 2.ภาพถ่าย

    ปลูกเพิ่มผลไม้ที่สามารถปลูกง่าย เช่น กล้วย แก้วมังกร เป็นต้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

    เลี้ยงไก่พันธ์ไข่ และหมูหลุม

    1.บัญชีขายไข่ 2.ภาพถ่าย

    เพิ่มการเลี้ยงไก่เนื้อ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

    การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์

    1.บัญชีการขายปลา 2.ภาพถ่าย

    เพิ่มการเลี้ยงปลาดุกโดยเพิ่มบ่อเลี้ยงให้มากขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

     

     

     

    5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

    จัดอาหารโดยใช้ โปรแกรมThai School Lunch.

    1.เอกสารการจัดอาหารจากโปรแกรม Thai School Lunch. 2.ภาพถ่าย

    เพิ่มผลไม้ให้มีความหลากหลายและเหมาะสมมากยิ้่งขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    จัดอาหารโดยใช้ โปรแกรมThai School Lunch.

    1.เอกสารการจัดอาหารจากโปรแกรม Thai School Lunch. 2.ภาพถ่าย

    เพิ่มผักในอาหารให้มีความหลากหลายและเหมาะสมมากยิ้่งขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    จัดอาหารโดยใช้ โปรแกรมThai School Lunch.

    1.เอกสารการจัดอาหารจากโปรแกรม Thai School Lunch. 2.ภาพถ่าย

    เพิ่มผักในอาหารให้มีความหลากหลายและเหมาสะมากยิ่งขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

    โรงเรียนมีการรับซื้อผลผลิตทางการเกษตรจากชุมชนบางชนิดที่ทางโรงเรียนมีผลผลิตไม่เพียงพอหรือที่โรงเรียนไม่สามารถปลูกได้

    บัญชีการซื้อสินค้า

    จัดทำ MOU ร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชนในการซื้อขายผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดสารเคมีร่วมกัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

    เมนูอาหารทุกวันใช้โปรแกรม Thai School Lunch

    เอกสารการกำหนดเมนูอาหารจาก Thai School lunch

    ใช้โปรแกรมใกำหนดอาหารให้เหมะสมกับวัตถุดิบที่มีมากยิ่งขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

    การลงข้อมูลสารสนเทศภาวะโภชนาการในเวปเด็กไทยแก้มใส

    ข้อมูลในเวปเด็กไทยแก้มใส และข้อมูลสารสนเทศภาวะโภชนาการ

    เก็บข้อมูลและแปรผลให้เกิดความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด

    3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

    สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

    ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/1
    เตี้ย 4.44 4.44% 4.40 4.40% 2.83 2.83% 1.08 1.08% 1.54 1.54% 1.55 1.55% 1.04 1.04% 0.50 0.50% 1.43 1.43%
    เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 23.33 23.33% 18.13 18.13% 15.57 15.57% 9.14 9.14% 3.08 3.08% 3.63 3.63% 3.63 3.63% 4.00 4.00% 5.71 5.71%
    ผอม 2.19 2.19% 1.62 1.62% 1.61 1.61% 1.61 1.61% 1.54 1.54% 2.59 2.59% 2.59 2.59% 1.50 1.50% 4.29 4.29%
    ผอม+ค่อนข้างผอม 15.85 15.85% 15.68 15.68% 17.20 17.20% 15.05 15.05% 9.23 9.23% 8.29 8.29% 8.29 8.29% 10.50 10.50% 10.00 10.00%
    อ้วน 7.10 7.10% 5.95 5.95% 8.06 8.06% 9.14 9.14% 4.62 4.62% 1.55 1.55% 1.55 1.55% 1.00 1.00% 4.76 4.76%
    เริ่มอ้วน+อ้วน 10.93% 10.93% 11.35% 11.35% 11.83% 11.83% 9.14% 9.14% 4.62% 4.62% 2.07% 2.07% 2.07% 2.07% 3.00% 3.00% 11.90% 11.90%
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

    ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินของนักเรียนโดยเริ่มจากที่โรงเรียนจัดบริการอาหารเสริมผักให้กลุ่มคนที่มีปัญหาเรื่องอ้วนเป็นพิเศษ และออกกำลังกายควบคู่ พร้อมทั้งให้ความรู้และแนวทางปฏิบัติตน

    ภาพถ่าย
    และแบบบันทึกรายชื่อนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนา

    จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้กับกลุ่มนักเรียนที่มีปัญหาทุพโภชนาการให้ตระหนักถึงภัยร้ายจากปัญหาดังกล่าว

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

    ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินของนักเรียนโดยเริ่มจากที่โรงเรียนจัดบริการอาหารเสริมพวกโปรตีน เนื้อ นม ไข่ ให้กลุ่มคนที่มีปัญหาเรื่องผอมเป็นพิเศษ และออกกำลังกายควบคู่ พร้อมทั้งให้ความรู้และแนวทางปฏิบัติตน

    ภาพถ่าย และแบบบันทึกรายชื่อนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ

    จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้กับกลุ่มนักเรียนที่มัปัญหาภาวะทุพโภชนาการ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

    ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินของนักเรียนโดยเริ่มจากที่โรงเรียนจัดบริการอาหารเสริมพวก โปรตีน เนื้อ และพิเศษเพิ่มเสริมนมเป็นวันละ 2 กล่องให้กลุ่มคนที่มีปัญหาเรื่องเตี้ยเป็นพิเศษ และออกกำลังกายโดยการกระโดดเชือกควบคู่ พร้อมทั้งให้ความรู้และแนวทางปฏิบัติตน

    ภาพถ่าย และแบบบันทึกรายชื่อนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

    มีการจัดเป็นพิเศษ คือ
    เด็กอ้วน เสริมอาหาร เน้นผัก ลดแป้ง ไขมัน เด็กผอม เน้น โปรตีน เนื้อนมไข่
    เด็กเตี้ย เสริมโปรตีน และเพิ่มนมเป็นวันละ 2 กล่องและควบคู่กับการออกกำลังกาย เช่น คนเตี้ยกระโดดเชือก เป็นต้น

    ภาพถ่าย และ แบบบันทึกรายชื่อนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ

    เสริมกิจกรรมที่เราทำอยู่แล้วให้เกิดความต่อเนื่องและหยั่งยืน โดยมีการวางแผนการทำงาน ประชุม หารือ ถึงปัญหาและแนวทางในการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ จัดอบรมครู หรือ ส่งครูเข้าร่วมการบอบรมและพัฒนาตนเอง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

    ดูแลเรื่องการกินอาหารที่บ้านในตอนเช้าก่อนมาโรงเรียน และช่วยควบคุมการเลือกกินอาหารที่ไม่เกิดประโยชน์

    แบบสอบถาม
    การสังเกตข้าวและกับข้าวที่นักเรียนห่อมากินเพิ่มเติมที่โรงเรียน

    จัดประชุมผู้ปกครองเรื่องการเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับช่วงวัยของเด็ก อาหารอะไรที่ควรหลีกเลี่ยง เป็นต้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

    หน่วยงานภาคีให้ความร่วมมือ สนับ และมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมมาโดยตลอด

    หมายเหตุ *

    • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    โรงเรียนพัฒนาสามัคคี จังหวัด อำนาจเจริญ

    รหัสโครงการ ศรร.1312-087

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสะอาด ศรีวรรณ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด