แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านหัวเหล่า

ชุมชน 69 หมู่ 11 ตำบลบก อำเภอโนนคูน จังหวัดศรีสะเกษ

รหัสโครงการ ศรร.1312-079 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.33

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน พฤษภาคม 2559 ถึงเดือน ตุลาคม 2559

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การศึกษาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (สหกรณ์)

วันที่ 11 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

การจัดทำแบบประเมินสถานการณ์ 3 ช่วงและจัดทำรายงานโครงการฉบับสมบูรณ์

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจคิดเป็นร้อยละ  80  สามารถนำความรู้ใาใช้ในกิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรียนได้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

-  นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบสหกรณ์  เพื่อการจัดการระบบสหกรณ์ที่เป็นระบบ

กิจกรรมที่ทำจริง

มีการนำนักเรียนแกนนำและคณะครูไปศึกษาดูงานที่ภูสิงห์

 

26 26

2. ประชุมแต่งตั้งมอบหมายหน้าที่คณะทำงาน ชี้แจงการดำเนินงาน

วันที่ 24 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

มีผู้รับผิดชอบงานตามภาระหน้าที่

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ครูมีความรู้ความเข้าใจร้อยละ 80  ในการรับผิดชอบงานในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายเป็นอย่างดี
เพื่อนำความรู้ที่ได้มาถ่ายทอดให้แก่นักเรียนและชุมชน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

๑.๑ เชิญประชุม ชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการ ๑.๒ กำหนดภาระงาน แบ่งหน้าที่รับผิดชอบการทำงานตามโครงการ ๑.๓ นัดหมาย กำหนด วางแผน กรอบการปฏิบัติงานจัดทำหลักสูตรการเรียนรู้ - ประชุม แต่งตั้งคณะกรรมการแกนนำในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา - กำหนดสาระการเรียนรู้ - กำหนดสื่อ/นวัตกรรม - ออกคำสั่ง - ดำเนินงานจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา - ประเมินสื่อ/นวัตกรรม - หาคุณภาพของสื่อ/นวัตกรรม - นำสื่อ/นวัตกรรม ไปใช้จริงตามกิจกรรมที่จัดทำ - วัดผลประเมินผล

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมวางแผนการการดำเนินงาน เพื่อปฎิบัติให้ครอบคลุม ทั้ง 8องค์ประกอบ มอบหมายหน้าที่รับผิดชอบแต่ละกิจกรรมอย่างชัดเจน ดังนี้ กิจกรรมเกษตร มอบหมายครูสุรชาติ  เสนา  ครูคำรณ  ครองยุติ และ ครูสุภาพร  เสนา
กิจกรรมสหกรณ์  มอบหมายให้ครูกัลยา  คำสิงห์ กิจกรรมอนามัยโรงเรียนครูนันทนา  จุลทัศน์

 

198 198

3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชนที่ร่วมโครงการ

วันที่ 27 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  • นักเรียนและผู้ปกครองได้รับความรู้ในการแปรรูปอาหาร และการถนอมอาหาร - นักเรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมตามแผน - นักเรียน ผู้ปกครอง และผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ในการจัดนิทรรศการในการจำหน่ายผลผลิตนักเรียนและผู้ปกครอง

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

โรงเรียนมีการจัดนิทรรศการร่วมกับโรงเรียนในเครือข่าย  ในการจำหน่ายผลผลิตของนักเรียนและผู้ปกครอง  นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. การจัดนิทรรศการ 2. การจำหน่ายผลผลิตนักเรียนและผู้ปกครอง 3. การประกวดแปรรูปอาหาร

กิจกรรมที่ทำจริง

โรงเรียนมีการจัดนิทรรศการร่วมกับโรงเรียนในเครือข่าย  ในการจำหน่ายผลผลิตของนักเรียนและผู้ปกครอง

 

166 168

4. การจัดทำแบบประเมินผลสถานการณ์ ครั้งที่ 1 (เดือนตุลาคม)

วันที่ 30 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

การจัดทำแบบประเมินสถานการณ์ 3 ช่วงและจัดทำรายงานโครงการฉบับสมบูรณ์

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

จัดทำแบบประเมินผลสภานการณ์ ช่วงที่ 1

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

จัดทำแบบประเมินผลสภานการณ์ 3 ช่วง

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดทำแบบประเมินผลสภานการณ์ ช่วงที่ 1

 

198 14

5. ส่งเสริมการผลิตอาหารปลอดภัย(ปลูกพืชผักสวนครัว/ผักตามฤดูกาล)

วันที่ 4 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

นักเรียนและผู้ปกครองเข้ารับการอบรมได้รับความรู้ตามหลักโภชนาการ - นักเรียนและผู้ปกครองได้รับความรู้เกี่ยวกับการหาสารปนเปื้อนในอาหาร โดยวิธีการต่างๆ จากการลงมือปฏิบัติสุ่มตรวจอาหารในโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียนและในร้านค้าของหมู่บ้าน  และศึกษาดูงานโรงเรียนต้นแบบการดำเนินงานสหกรณ์/ออมทรัพย์  นอกจากนี้นักเรียน และร่วมกันรณรงค์ เรื่อง อาหารปลอดภัยไร้สารพิษ การลดดื่มน้ำอัดลม รับประทานลูกอม และขนมกรุบกรอบ ติดป้ายนิเทศ แจกแผ่นพับให้แก่นักเรียนในโรงเรียนและหมู่บ้านอย่างทั่วถึง

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.นักเรียนมีทักษะในการปลูกผักและดูแลผักสวนครัว 2.โรงเรียนมีผักสวนครัวเพื่อประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียน 3.โรงเรียนมีแผนการผลิตพืชผักที่สอดคล้องกับรายการอาหารกลางวันนนักเรียน 4.นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์  และเพียงพอต่อความต้องการ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

การปลูกผักสวนครัว รั้วกินได้ มีผู้เข้าร่วมรับความรู้ ดังนี้ - แกนนำกลุ่ม ผู้ปกครอง และกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมจำนวน 51 คน - นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 76 คน ครู จำนวน 5 คน - ผู้รู้หรือปราชญ์ในชุมชน จำนวน 1 คน - เจ้าหน้าที่ทางการเกษตรอำเภอโนนคูณ จำนวน 1 คน - กิจกรรมในการปลูกผักสวนครัว รั้วกินได้ - การคัดเลือกชนิดของพืชผักที่เหมาะสมกับสภาพดินฟ้าอากาศในท้องถิ่น - การทำแปลงสาธิตการปลูกผักสวนครัว รั้วกินได้

กิจกรรมที่ทำจริง

1.โรงเรียนจัดพื้นที่ปลูกผักสวนครัวสำหรับนักเรียนและผู้ปกครอง 2.โรงเรียนจัดหาเมล็ดพันธุ์ผัก  สำหรับให้นักเรียนปลูก  ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้ 1.นักเรียน มีทักษะในการปลูกและดูแลผักสวนครัว 2.ผักสวนครัวเพื่อประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียนหมุนเวียน 1 สัปดาห์ 3.มีผลผลิต หมุนเวียนสลับกัน เพื่อประกอบอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน

 

132 132

6. ส่งเสริมการผลิตอาหารปลอดภัย(การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์)

วันที่ 8 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

นักเรียนและผู้ปกครองเข้ารับการอบรมได้รับความรู้ตามหลักโภชนาการ - นักเรียนและผู้ปกครองได้รับความรู้เกี่ยวกับการหาสารปนเปื้อนในอาหาร โดยวิธีการต่างๆ จากการลงมือปฏิบัติสุ่มตรวจอาหารในโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียนและในร้านค้าของหมู่บ้าน  และศึกษาดูงานโรงเรียนต้นแบบการดำเนินงานสหกรณ์/ออมทรัพย์  นอกจากนี้นักเรียน และร่วมกันรณรงค์ เรื่อง อาหารปลอดภัยไร้สารพิษ การลดดื่มน้ำอัดลม รับประทานลูกอม และขนมกรุบกรอบ ติดป้ายนิเทศ แจกแผ่นพับให้แก่นักเรียนในโรงเรียนและหมู่บ้านอย่างทั่วถึง

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

นักเรียน มีทักษะในการเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ เพื่อประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียนหมุนเวียนใน 1 สัปดาห์  รวมทั้งสร้างนิสัยในการฝึกวามรับผิดชอบต่อหน้าที่ 

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

การเลี้ยงปลาดุก มีผู้เข้าร่วมรับความรู้ ดังนี้ - แกนนำกลุ่ม ผู้ปกครอง และกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมจำนวน 51 คน - นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔-๖ จำนวน 76 คน ครู จำนวน 5 คน - ผู้รู้หรือปราชญ์ในชุมชน จำนวน 1 คน - เจ้าหน้าที่ทางการเกษตรอำเภอโนนคูณ จำนวน 1 คน - กิจกรรมสาธิต ในการเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ ในโรงเรียน จำนวน 3 บ่อ หมายเหตุ การเลี้ยงปลาดุก ที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ในท้องถิ่นบ้านเรา เช่น การเลี้ยงปลาดุกในโอ่ง ในบ่อพลาสติก ในบ่อ ซีเมนต์ อื่นๆ

กิจกรรมที่ทำจริง

1.โรงเรียนจัดพื้นที่สำหรับเลี้ยงปลาในบ่อซีเมนต์ 2.โรงเรียนจัดหาพันธ์ปลาจากประมงจังหวัดศรีสะเกษ  สำหรับให้นักเรียนได้ดูแล 3.โรงเรียนจัดทำบ่อเลี้ยงปลา

 

132 132

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 15 6                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 100,000.00 40,000.00                  
คุณภาพกิจกรรม 24 18                  

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. การแปรรูปอาหารและถนอมอาหาร ( 4 พ.ย. 2559 )
  2. ส่งเสริมการผลิตอาหารปลอดภัย(การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์) ( 14 พ.ย. 2559 )
  3. ส่งเสริมการผลิตอาหารปลอดภัย(เพาะเห็ดนางฟ้า) ( 21 พ.ย. 2559 )
  4. การจัดทำแบบประเมินผลสถานการณ์ ครั้งที่ 2 (เดือนธันวาคม) ( 1 ธ.ค. 2559 - 30 ธ.ค. 2559 )
  5. อบรมให้ความรู้เรื่อง อย.น้อย (คัดเลือกนักเรียน ผู้ปกครอง แม่ครัว ) ( 16 ธ.ค. 2559 )
  6. อบรมให้ความรู้เรื่องอาหารที่ปลอดภัยไร้สารพิษ ( 19 ธ.ค. 2559 )
  7. ส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดี ( 13 ม.ค. 2560 )

(................................)
นางรัตนาภรณ์ สีตะวัน
ผู้รับผิดชอบโครงการ