ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านหัวเหล่า

รหัสโครงการ ศรร.1312-079 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.33 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน
  1. ข้าวโป่งอัญชัน
  2. เพาะพันธุ์เพกาแคระ
  3. น้ำหมักชีวภาพ
  1. การนำข้าวเหนียวนื่งตำผสมสีจากดอกอัญชันเพื่อให้มีสีสันทำข้าวเกรียบเป็นแผ่น นักเรียนได้ทดลองทำและนำผลผลิตขายในโรงเรียนและชุมชน เงินที่ได้นำเข้าสหกรณ์โรงเรียน
  2. นักเรียนเพาะพันธุ์เพกาขายในโรงเรียนและชุมชนโดยการเพาะด้วยเมล็ดและชำด้วยราก
  3. การทำน้ำหมักชีวภาพ จากเศษอาหาร เศษผักผลไม้ในโรงครัวของโรงเรียน จากการดำเนินงานกิจกรรมส่งผลให้โรงเรียนได้รับรางวัลกลุ่มยุวเกษตรกร สมาชิกยุวเกษตรกร ที่ปรึกษากลุ่มยุวเกษตรกรดีเด่นของสำนักงานส่งเสริมการเกษตรสำนักงานเกษตรจังหวัดศรีสะเกษปี 2559

1.ขยายผลต่อยอดจากชุมชนให้ได้ข้าวเกรียบที่มุคุณค่าจากสมุนไพรดอกอัญชัน 2. สร้างรายได้จากการจำหน่ายพันธ์ุเพกา 3. น้ำหมักชีวภาพช่วยลดปริมาณขยะในโรงเรียน และเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ปลอดสารเคมี

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

กิจกรรมสหกรณ์ออมทรัพย์

โรงเรียนดำเนินการโครงการสหกรณ์นักเรียน สหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์ร้านค้านักเรียนมีการออมเงินโดยมีคณะกรรมการนักเรียนดำเนินการรวบรวมเงินฝากของแต่ละวันแล้วนำฝากบัญชีธนาคารออมทรัพย์ครู ทำให้ได้ดอกเบี้ยและมีเงินเมื่อจบการศึกษา โดยมีแหล่งอ้างอิงคือสมุดออมทรัพย์ของโรงเรียน ส่วนสหกรณ์ร้านค้านักเรียนทุกคนมีหุ้นส่วนบริการจัดการโดยคณะกรรมการนักเรียนมีปันผลเฉลี่ยคืนและจำหน่ายผลผลิตทางการเกษตร

จัดกิจกรรมต่อเนื่องทุกปี และมีเงินดอกเบี้ยมาใช้เป็นทุนการศึกษานักเรียน กิจกรรมมอบเกียรติบัตรรางวัลนักเรียนที่มียอดเงินออมสูง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

ผ้าป่าข้าวเปลือกเพื่อเป็นอาหารกลางวันนักเรียน

ผู้ปกครองให้การสนับสนุนข้าวเปลือกเพื่อสนับสนุนโครงการอาหารกลางวันให้นักเรียน เฉลี่ยปีละ 5,500 กิโลกรัม โดยมีข้อมูลจากทะเบียนรับบริจาคติดต่อกันมาเป็นระยะเวลา ๓ ปีให้โรงเรียนจัดบริการอาหารกลางวันพร้อมข้าว

จัดกิจกรรมทอดผ้าป่าต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี มีทั้งข้าวเหนียวและข้าวจ้าวกลุ่มสมาชิกยุวเกษตรกรในโรงเรียนสามารถนำมาแปรรูปเป็นขนมต่างๆ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

1.กลุ่มเต้นบาสโลบ 2. กิจกรรมกีฬา

เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมลดเวลาเพิ่มเวลารู้ ตามความสนใจของเด็กนักเรียนได้เต้นบาสโลบเพลงช้าเพลงเร็วและกิจกรรมกีฬา สามารถส่งเสริมการออกกำลังกาย ได้เฝ้าระวังและติดตามสุขภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกายนักเรียน และในปีการศึกษา 2559 นักเรียนได้รับรางวัลชนะเลิศการแข่งขันวอลเล่ย์บอลชาย- หญิง ชนะเลิศฟุตบอลชายชนะเลิศฟุลซอลชาย - หญิง รุ่นอายุไม่เกิน 12 ปีกีฬากลุ่มโรงเรียนประจิมโนนคูณ

คัดแยกเด็กอ้วย เด็กผอม ที่โรงเรียนดำเนินการเฝ้าระวังที่โรงเรียนโรงเรียนจะประสานผู้ปกครองเพื่อควบคุมดูแลร่วมกัน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

ดอกอัญชันพาแปรงฟันให้สะอาด

กิจกรรมการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันของนักเรียนมีการตรวจคัดกรองสุขภาพปากและฟันและแยกเป็น3 กลุ่มสีในทุกๆเดือน กลุ่มสีแดงเขียวปากและฟันสะอาด กลุ่มสีชมพูต้องดูแลเอาใจใส่ กลุ่มสีแดงต้องปรับปรุงอย่างเร่งด่วน การแปรงฟันเป็นกลุ่มสีมีครูและนักเรียนแกนนำสุขภาพดูแลเพื่อพัฒนาตนเองให้อยู่ในกลุ่มสีเขียว การทดสอบความสะอาดโดยการเคี้ยวดอกอัญชันหลังการแปรงฟันหากพบว่าฟันติดคราบดอกอัญชันแสดงว่าแปรงฟันไม่สะอาด

กิจกรรมประกวดฟันสวยยิ้มใสเพื่อกระตุ้นการแปรงฟันหลังอาหาร

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

การคัดแยกขยะ

โรงเรียนมีการคัดแยกขยะเพื่อจำหน่ายสร้างรายได้ ประดิษฐ์ของใช้ ของเล่นและคัดแยกเพื่อนำมาใช้ใหม่ รีไซเคิล มีการอบรมให้ความรู้เด็กนักเรียนโรงเรียนมีการคัดแยกขยะมีถังขยะ เรียนรู้สัญญลักษณ์ ส่งผลให้โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่ดีและได้รับโล่รางวัลโรงเรียนปลอดขยะ

จัดทำโรงเรือนคัดแยกขยะเพื่อให้สะดวกต่อการในมาใช้ประโยชน์ใหม่และจัดเก็บเป็นระเบียบป้องกันการคุ้ยเขี่ยจากสัตว์ต่างๆ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

ส้วมสุขสันต์ในโรงเรียน

โรงเรียนจัดบริการส้วมสะอาดในโรงเรียนโดยการมีส่วนร่วมของชั้นเรียน แบ่งเวรรับผิดชอบดูแลความสะอาดห้องนำ้ห้องส้วม จัดบรรยากาศรอบๆบริเวณห้องนำ้ห้องส้วมสวยงาม ร่มรื่น ปลอดภัย มีบริการสุขภัณณ์ล้างมือสมุนภัย ใช้น้ำหมักชีวภาพดับกลุิ่น ปลอดสารเคมี มีพัดลมเพดาน สัญญาณกริ่ง กระจก ผ้าเช็ดมือ เปลี่ยนรองเท้าก่อนเข้าห้องนำ้

ปลูกพืชผักที่มีประโยชน์ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

สถานศึกษาพอเพียงต้นแบบ

โรงเรียนจัดสภาพ บริบทของโรงเรียนให้สอดคล้องแนวคิดหลักปรัญชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม ครูจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ นักเรียนมีความรู้ มีคูณธรรม นำศาสตร์สากล ศาสตร์พระราชามีดำเนินงานในชีวิตประจำวัน มีภูมิคุ้มกันที่ดี ส่งผลให้สถานศึกษาได้รับการคัดเลือกเป็นสถานศึกษาพอเพียงต้นแบบที่เป็นแบบอย่าง

ขยายผลการดำเนินงานสู่ชุมชน ผู้ปกครอง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ
  1. ห้องสมุดดินสู่วิถียุวเกษตรกรพอเพียง
  2. กลุ่มยุวเกษตรกรในโรงเรียน

เป็นห้องสมุดดินที่เกิดจากความร่วมมือของคณะครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน เเป็นแหล่งค้นคว้า ศึกษาหาความรู้ ด้านการเกษตร ด้านสุขภาพอนามัยซึ้งเป็น ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best practice :BP ระดับประเทศ ปี 2559มูลนิธิยุวสถิรคุณ และโรงเรียนมีกลุ่มยุวเกษตรกรในโรงเรียนที่ดำเนินงานด้านการเกษตรอย่างต่อเนื่อง

พัฒนาสถานศึกษาเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

  1. สำนักงานประมงจังหวัดศรีสะเกษ
  2. สำนักงานเกษตรอำเภอโนนคูณ
  3. ศูนย์หม่อนไหมจังหวัดศรีสะเกษ
  4. ศูนย์พัฒนาเกษตรภูสิงห์อันเนื่องมาจากพระราชดำหริ
  5. องค์การบริหารส่วนตำบลบก
  6. วิทยากรท้องถิ่น
  7. ปราชญ์ชาวบ้าน

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

โรงเรียนบ้านหัวเหล่า เป็นสถานศึกษาที่บริหารจัดการตามแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เป็นปัจจัยเอื้อต่อการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใสครูและบุคลากรทางการศึกษาชุมชน ผู้ปกครอง นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของการดำเนินการแบบมีส่วนร่วมสร้างความตระหนักร่วมกันส่งผลให้สถานศึกษามีสภาพแวดล้อมที่ดีและความภาคภูมิใจร่วมกันคือ โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ของจังหวัดศรีสะเกษ

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

การขัเคลื่อนการดำเนินงานศุนย์การเรียนรู้เด้กไทยแก้มใสของโรงเรียนบ้านหัวเหล่าที่ประสบผลสำเร็จในการดำเนินงานกลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนได้แก่ 1. การมีส่วนร่วมของหน่วยงาน/องค์กร/บุคคลากรที่ให้การสนับสนุนงบประมาณวัสดุ/อุปกรณ์ความรู้วิชาการ 2. ทีมทำงานครูผู้รับผิดชอบโครงการบุคลากร มีการประชุมปรึกษาหารือประสานงานกำกับติดตามแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับหน่วยงานภายนอก เกิดความตระหนักในการพัฒนาขับเคลื่อนกลไกอย่างมีประสิทธิภาพ

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความมุ่งมั่นพัมนาคุณภาพผู้เรียนบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วมจัดหลักสูตรการเรียนการสอนแบบบูรณาการทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้นักเรียนได้รับประสบการณ์หลากหลายมีองคืความรู้ที่เหมาะสมกับวัยได้รับการพัฒนาตามศักยภาพและเป็นแบบอย่างแม่ครัว ผู้ประกอบอาหารได้รับความร่วมมือจากชุมชน ได้รับการพัฒนามีความรู้ตามหลักโภชนาการอาหารที่ดีส่งผลให้นักเรียนมีสุขภาวะและโภชนาการที่ดีสมวัย

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนงานโครงการเด็กไทยแก้มใส ตั้งแต่การเข้าร่วมโครงการทำให้รับรู้ส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานของโรงเรียนท้้งด้านความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นการดูแลบุตรหลานด้านสุขภาพอนามัยการพัฒนาสภาพแวดล้อมหมู่บ้าน ชุมชน ทั้งด้านสุขภาพอยามัยและการดูแลการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ สร้างสุขนิสัยในการรับประทานอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

โรงเรียนสามารถดำเนินการผลิตได้ในโรงเรียนประมาณ 30%แต่ใช้ผลผลิตจากเครือข่ายชุมชน ผู้ปกครองอีก70% ซึ่งเครือข่ายมีการพัฒนาองค์ความรู้ การขยายผลต่างๆจากโรงเรียน ปลอดสารเคมี

ภาพกิจกรรม การอบรมพัฒนางาน การศึกษาดูงานในโรงเรียน

โรงเรียนดำเนินการจัดตั้งกลุ่มเครือข่ายโดยนักเรียนสู่ชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

โรงเรียนมีการเลี้ยงเป็ดโดยนักเรียนเลี้ยงเป็ดที่บ้านตามความสนใจ โดยมีผู้บริจาคเป็ดพันธ์ุพื้นเมืองให้กับทางโรงเรียนจำนวน 3,000ตัว จึงมอบให้นักเรียนและผู้ปกครองไปเลี้ยงที่บ้าน ส่วนการดำเนินการอาหารกลางวันนักเรียนร้อยะ80 ได้จากตลาด

ภาพกิจกรรม/ หนังสือขอบคุณ

ส่งเสริมการเลี้ยงไก่พันธ์ุไข่ และไก่พันธ์ุเนื้อ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

โรงเรียนมีการดำเนินการเลี้ยงปลานิล ปลาตะเพียน ปลาดุก ปลาหมอเทศ เลี้ยงกบในโรงเรียน โดยได้รับการสนับสนุนจากประมงจังหวัดศรีสะเกษ

ภาพกิจกรรมการดำเนินงานของเด็กนักเรียน

การดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

เด็กนักเรียนรับประทานอาหารเช้ามาจากบ้านทุกคน

แบบสอบถาม/ แบบสัมภาษณ์

การเก็บข้อมูลจากการเยี่ยมบ้านนักเรียนเพื่อช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาครอบครัว

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

โรงเรียนดำเนินการจัดอาหารกลางวันตามโปรแกรม Thai school lunch และส่งเสริมการรับประทานผักและผลไม้ เด็กอนุบาลสามารถรับประทานผักได้ทุกคนเพราะพื้นฐานครอบครัวก็สนับสนุนการรับประทานผัก

เมนูรายการอาหารกลางวันนักเรียน

โรงเรียนจัดบริการอาหารกลางวันโดยใช้ผักและผลไม้ที่หลากหลาย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

โรงเรียนดำเนินการจัดอาหารกลางวันตามโปรแกรม Thai school lunch และส่งเสริมการรับประทานผักและผลไม้

เมนูรายการอาหารกลางวันนักเรียน

โรงเรียนจัดบริการอาหารกลางวันโดยใช้ผักและผลไม้ที่หลากหลายชนิด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

โรงเรียนดำเนินการในชั้นอนุบาล - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งมีช่วงอายุระหว่าง 4-12 ปี

-

-

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

ชุมชน เครือข่ายผู้ปกครองมีความร่วมมือกับโรงเรียนในการผลิตอาหารที่ปลอดภัย ไม่ใช้สารเคมี และได้รับการอบรมพัฒนาความรู้การทำน้ำหมักชีวภาพต่างๆ

ภาพกิจกรรมการดำเนินงานต่างๆ

การขยายผลจากรุ่นสู่รุ่น สู่ชุมชนทุกครอบครัว

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

เด็กนักเรียนได้มีโอกาสได้รับประทานอาหารที่คุณประโยชน์ มีคุณค่าสารอาหารที่ครบถ้วน ส่งผลให้นักเรียนมีสุขภาพดี ภาวะโภชนาการสมวัย

แบบบันทึกภาวะโภชนาการ/ แบบสอบถามประเมินโครงการ

การดำเนินงานอย่างต่อเนือง

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

โรงเรียนมีการบริหารจัดการอาหารกลางวันนักเรียนโดยใช้โปรแกรม T้hai School Lunch และดำเนินงานอย่างต่อเนื่องทำได้สมบูรณ์แบบ

  1. รายการอาหาร
  2. แบบบันทึกภาวะโภชนาการ

โรงเรียนพัฒนาเมนูรายการอาหารกลางวันให้สอดคล้องกับชุมชนท้องถิ่น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่
  1. ครูและบุคลากรทางการศึกษามีการบันทึกภาวะโภชนาการ
  2. ผู้บริหารมีการติดตามตรวจสอบภาวะโภชนาการ
  1. แบบบันทึกภาวะโภชนาการนักเรียน
  2. แบบสรุปภาวะโภชนาการนักเรียน

นักเรียนที่มีปัญหาด้านภาวะโภชนาการได้รับการติดตามช่วยเหลือเพื่อแก้ไขปัญหา

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/2
เตี้ย 5.23 5.23% 10.59 10.59% 11.11 11.11% 7.60 7.60% 6.67 6.67% 6.67 6.67% 6.67 6.67% 6.67 6.67% 6.74 6.74% 7.30 7.30% 6.18 6.18% 12.36 12.36% 4.95 4.95% 2.72 2.72% 3.21 3.21% 3.74 3.74%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 15.12 15.12% 20.59 20.59% 21.64 21.64% 16.96 16.96% 17.78 17.78% 17.78 17.78% 17.78 17.78% 17.78 17.78% 14.04 14.04% 15.17 15.17% 14.04 14.04% 19.66 19.66% 14.84 14.84% 10.87 10.87% 8.56 8.56% 11.23 11.23%
ผอม 4.65 4.65% 3.51 3.51% 3.51 3.51% 3.51 3.51% 5.00 5.00% 5.00 5.00% 5.00 5.00% 5.00 5.00% 10.11 10.11% 8.43 8.43% 4.49 4.49% 5.62 5.62% 2.20 2.20% 1.09 1.09% 1.60 1.60% 2.14 2.14%
ผอม+ค่อนข้างผอม 9.30 9.30% 13.45 13.45% 11.11 11.11% 11.11 11.11% 14.44 14.44% 14.44 14.44% 14.44 14.44% 14.44 14.44% 16.29 16.29% 14.61 14.61% 12.92 12.92% 11.80 11.80% 7.14 7.14% 10.33 10.33% 11.76 11.76% 12.30 12.30%
อ้วน 3.49 3.49% 3.51 3.51% 3.51 3.51% 3.51 3.51% 2.78 2.78% 2.78 2.78% 2.78 2.78% 2.78 2.78% 2.25 2.25% 2.81 2.81% 3.37 3.37% 2.81 2.81% 5.49 5.49% 4.35 4.35% 5.35 5.35% 3.74 3.74%
เริ่มอ้วน+อ้วน 7.56% 7.56% 7.02% 7.02% 6.43% 6.43% 5.85% 5.85% 6.11% 6.11% 6.11% 6.11% 6.11% 6.11% 6.11% 6.11% 7.30% 7.30% 6.74% 6.74% 6.74% 6.74% 7.30% 7.30% 10.99% 10.99% 10.33% 10.33% 10.70% 10.70% 8.56% 8.56%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

โรงเรียนมีกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกาย มีการเก็บรวบรวมข้อมูลนักเรียนเพื่อช่วยเหลือพัฒนาสุขภาพอนามัย

  1. แบบบันทึกข้อมูลนักเรียน
  2. แผนงานโครงการ

การดำเนินโครงการอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

โรงเรียนมีการสำรวจข้อมูล ภาวะโภชนาการและเฝ้าระวังนักเรียนที่มีภาวะค่อนข้างผอมและผอม โดยการให้อาหารเสริมนมและอาหารกลางวันเสริมเป็นพิเศษ

บัญชีรายชื่อนักเรียนและการพัฒนาด้านภาวะโภชนาการต่างๆ

ประสาน ติดตาม เครือข่ายผู้ปกครองดูแลร่วมกัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

โรงเรียนสำรวจข้อมูลนักเรียนที่มีภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ย มอบหมายครูผู้รับผิดชอบดำเนินงานโครงการเพื่อแก้ไขปัญหา จัดกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังการอย่างสมำ่เสมอ รับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ ติดตามประเมินผลการพัฒนา

บัญชีรายชื่อ /เอกสารการดำเนินงานโครงการ/รายงานผลการดำเนินงานโครงการ

ดำเนินงานอย่างต่อเนื่อ ติดตามเฝ้าระวังร่วมกับผู้ปกครองนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร
  1. โรงเรียนดำเนินโครงการเฝ้าระวังสุขภาพอนามัย
  2. ครูผู้รับผิดชอบเก็บข้อมูลดำเนินโครงการติดตามประเมินผล
  1. แบบบันทึกข้อมูล
  2. ภาวะโภชนาการนักเรียน
  3. แบบรายงานผลการดำเนินโครงการ

การดำเนินโครงการอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

มีการประชุมผู้ปกครองนักเรียนชีแจงให้รับทราบการดำเนินงานการติดตาม เฝ้าระวัง ความร่วมมือในการดำเนินงานให้เกิดผลสำเร็จ

ภาพประประชุม/แบบรายงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง

การดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

โรงเรียนดำเนินงานตามระบบส่งผลให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการดี มีผลการเรียนดีขึ้น

เด็กนักเรียนเป็นผู้ที่มีสุขภาพจิตที่ดี ร่าเริงแจ่มใส รักการออกกำลังกาย รูปร่างสมส่วน

การดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

  1. สำนักงานประมงจังหวัดศรีสะเกษ
  2. สำนักงานเกษตรอำเภอโนนคูณ
  3. ศูนย์หม่อนไหมจังหวัดศรีสะเกษ
  4. ศูนย์พัฒนาเกษตรภูสิงห์อันเนื่องมาจากพระราชดำหริ
  5. องค์การบริหารส่วนตำบลบก
  6. วิทยากรท้องถิ่น
  7. ปราชญ์ชาวบ้าน

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh