แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม
“ โรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม ”
หมู่ 5 บ้าหนองไผ่ล้อม ตำบลนาหนองทุ่ม อำเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ
หัวหน้าโครงการ
ผอ.วุฒิพงษ์ วงษ์ชู
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม
ที่อยู่ หมู่ 5 บ้าหนองไผ่ล้อม ตำบลนาหนองทุ่ม อำเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ จังหวัด ชัยภูมิ
รหัสโครงการ ศรร.1312-059 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.13
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม จังหวัดชัยภูมิ" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ 5 บ้าหนองไผ่ล้อม ตำบลนาหนองทุ่ม อำเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ 5 บ้าหนองไผ่ล้อม ตำบลนาหนองทุ่ม อำเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ รหัสโครงการ ศรร.1312-059 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 194 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2 ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
สถานการณ์ปัญหาการบริโภคอาหารและโภชนาการภายในโรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม
โดยภาพรวม นักเรียนไม่นิยมบริโภคผักและการจัดทำอาหารกลางวันไม่สามารถดำเนินการให้ครบอาหารหลัก5หมู่ส่งผลให้นักเรียนบางคนยังมีน้ำหนักส่วนสูง ไม่ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานคิดเป็นร้อยละ17.86 บทเรียนความสำเร็จในการจัดการปัญหาด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพนักเรียนที่ผ่านมาโรงเรียนได้ดำเนินการอย่างไร และผลลัพธ์เป็น เช่นไร โรงเรียนได้ดำเนินการตามโครงการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงโดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนในระดับชั้นป.4 - 6ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่จำนวน50ตัวเลี้ยงปลาดุกปีละ800ตัวเลี้ยงกบปีละ500ตัวปลูกผักสวนครัว24แปลง ผลจากการดำเนินการทำให้โรงเรียนได้ผลผลิตทุกกิจกรรมนำมาใช้ในการประกอบอาหารตามโครงการอาหารกลางวันครบอาหารหลัก5หมู่ เพื่อให้การแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและสุขภาพนักเรียนบรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายต่อเนื่องยั่งยืนโรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม จึงได้จัดทำโครงการโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ขึ้น โดยมีปณิธานอย่างมุ่งมั่นในการเจริญรอยตามพระยุคลบาท สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการน้อมนำรูปแบบการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของนักเรียนอย่างครบวงจรมาปฏิบัติและพัฒนาสู่โรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้กินอิ่มอย่างมีคุณภาพ แก้มใส โภชนาการสมวัย สุขภาพแข็งแรง และมีคุณภาพชีวิตที่ดี เติบโตเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างความตระหนักและภารกิจหน้าที่เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียนชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใสทั้งระบบ
- เพื่อปรับปรุงพัฒนาสหกรณ์นักเรียน และให้นักเรียนรู้จักการออม
- เพื่อส่งเสริมปัจจัยในการผลิตทางด้านการเกษตรทั้งในและนอกโรงเรียน
- เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมทั้งในและนอกโรงเรียนให้ถูกสุขอนามัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนโรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม ได้กินอิ่มอย่างมีคุณภาพ ปลอดสารเคมี แก้มใสโภชนาการสมวัย บริโภคถูกต้องตามหลักโภชนาการ
นักเรียนโรงเรียนบ้านข่อย มีภาวะทุพโภชนาการและสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง การเจริญเติบโต ของร่างกายเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
นักเรียนโรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม มีทัศนะที่ดีและตระหนักรับรู้ในหน้าที่รับผิดชอบ ตามที่ได้รับมอบหมาย
นักเรียนโรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม มีจิตสาธารณะและมีคุณภาพที่ดี เติบโตเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนา ประเทศชาติต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมที่ 10 กิจกรรมสหกรณ์
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การดำเนินงานกิจกรรม
1.ประชุมวางแผนการดำเนินงาน
2.แต่งตั้งคณะกรรมการ
3.จัดทำเอกสารชี้แจงหลักการของสหกรณ์
4.ดำเนินงานตามโครงการ
5.กำกับ ติดตามผล
6.ประเมินผลและรายงานผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.นักเรียนมีความรู้พื้นฐานเรื่องสหกรณ์และฝึกให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริง
2.นักเรียนมีการวางแผนในการใช้จ่าย
3.ให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย
194
329
2. กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
วันที่ 30 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ครู กรรมการสถานศึกษาฯ ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงาน รับทราบ นโยบาย แนวปฏิบัติของการขับเคลื่อนโครงการฯ ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ได้เข้าร่วมกิจกรรมค่าย ครู นร. ชุมขน โรงเรียนเครือข่ายเข้าร่วมกิจกรรมอบรม ปี
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชนกลุ่มเป้าหมายให้ความร่วมมือในการร่วมกิจกรรม สามารถดำเนินการตามกิจกรรมที่กำหนด นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชนกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ด้านสุขภาพอนามัย และมีผลลงานกลุ่มในการกำหนดแนวดำเนินการเพื่อพัฒนาสุขภาพอนามัย สู่วิถีสุขภาพได้ ได้รับความร่วมมือจากผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นไปตามวัตถุประสงค์
329
299
3. กิจกรรมที่ 8 กิจกรรม อย.น้อย
วันที่ 30 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
โรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม จึงเห็นความสำคัญของการคุ้มครองผู้บริโภค จึงได้จัดตั้งชมรม อย.น้อยขึ้นในโรงเรียน และได้จัดกิจกรรม อย.น้อย เพื่อเป็นการให้ความรู้เบื้องต้นเรื่องความปลอดภัยของอาหาร การตระหนักในความสำคัญของความปลอดภัยของอาหาร การรู้จักปกป้องตนเอง รู้จักการเลือก สังเกต หรือทดสอบและรู้จักปฏิเสธอาหารที่ไม่ปลอดภัย จึงเป็นเรื่องที่ต้องเรียนรู้และฝึกฝนตั้งแต่เด็กเพื่อให้สามารถนำไปใช้ปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้ตลอดไปอย่างยั่งยืน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ภาพรวมของโครงการ
1) นักเรียนทุกคน มีความรู้ และความเข้าใจ ถึงสิทธิและหน้าที่ของผู้บริโภค
2) นักเรียนทุกคนสามารถปฏิบัติและเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและปลอดภัยใน
ชีวิตประจำวัน
3) นักเรียนสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้อื่น ตลอดจนมีเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคทั้งในโรงเรียนและชุมชน
194
329
4. กิจกรรมที่ 9 กิจกรรมแพทย์แผนไทย
วันที่ 30 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมคณะทำงานที่เกี่ยวข้อง ในการวางแผนการดำเนินงาน ซึ่งประกอบด้วย
1.1 แผนการประชาสัมพันธ์ และขั้นตอนการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย
1.2 ขั้นตอนรายละเอียดกิจกรรมดำเนินการ ที่สอดคล้องตามสภาวะของสุขภาพ
1.3 การวางแผนติดตามการประเมินผล
- ดำเนินการตามแผนงานโครงการ
2.1 นักเรียนได้เรียนรู้ด้านการแพทย์แผนไทย
2.2 เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยและเผยแพร่ในชุมชน
- สรุปผลการดำเนินการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนสามารถดูแลสุขภาพแบบองค์รวม โดยอาศัยการนำเอาองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือกรวมถึงการนำเอาธรรมชาติรอบตัวมาใช้เพื่อส่งเสริมสุขภาพ เช่นการรักษาโรคด้วยสมุนไพร การออกกำลังกายด้วยกายบริหารฤๅษีดัดตน การนวด อบ และประคบด้วยสมุนไพร การรับประทานอาหารตามหลักธรรมชาติบำบัด การทำสมาธิบำบัด การฝึกโยคะเพื่อสุขภาพ เป็นต้น
194
329
5. การพัฒนาศักยภาพบุคลากร
วันที่ 2 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมโครงการเด็กไทยแก้มใส เพื่อมุ่งเน้นให้นักเรียนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา ภายใต้การบูรณาการงานใน 8 กิจกรรม ได้แก่ 1) เกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดบริการอาหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการนักเรียน 5) การพัฒนาสุขนิสัยนักเรียน 6) การพัฒนางานอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพในโรงเรียน และ การเรียนรู้เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย เพื่อนำไปสู่การปฎิบัติอย่างต่อเนื่อง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เพื่อให้นักเรียนพัฒนา ใน 8 กิจกรรม ได้แก่
1) เกษตรในโรงเรียน
2) สหกรณ์นักเรียน
3) การจัดบริการอาหารของโรงเรียน
4) การติดตามภาวะโภชนาการนักเรียน
5) การพัฒนาสุขนิสัยนักเรียน
6) การพัฒนางานอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
7) การจัดบริการสุขภาพในโรงเรียน
8) การเรียนรู้เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย
2
329
6. กิจกรรมที่ 2การเลี้ยงไก่พื้นบ้าน
วันที่ 16 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.จัดหาอุปกรณ์
2.การเลือกพันธุ์ไก่ไข่
3.การจัดหาอาหาร
4.วิธีการเลี้ยงดูแลไก่
5.การป้องกันโรคไก่ไข่
6.วิธีการเก็บไข่ไก่จำหน่าย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนมีความสามารถในการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่และสามารถนำแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำบัญชีรายรับ - รายจ่าย
- นักเรียนสามารถผลิตไข่ไก่จำหน่ายและสนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน
329
329
7. ไก่ไข่
วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ไก่ไข่
222
0
8. กิจกรรมที่ 5 การเลี้ยงเป็ด
วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.จัดหาอุปกรณ์
2.การเลือกพันธุ์เป็ด
3.การจัดหาอาหารเป็ด
4.วิธีการเลี้ยงและดูแลเป็ด
5.การป้องกันโรคในเป็ด
6.วิธีการเก็บไข่เป็ดจำหน่าย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนมีความสามารถในการเลี้ยงเป็ดและสามารถนำแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำบัญชีรายรับ - รายจ่าย
- นักเรียนสามารถผลิตไข่เป็ดจำหน่ายและสนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน
194
329
9. กิจกรรมที่ 1 เกษตรในโรงเรียน
วันที่ 7 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กระบวนการ ปฎิบัติกิจกรรม
1.กิจกรรมการปลูกพืชผัก
2.กิจกรรมการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่
3.กิจกรรมการเลี้ยงปลา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษ นักเรียนได้รู้วิธีปลูกผักสวนครัวได้ถูกวิธี นักเรียนได้รับโปรตีนจากอาหารที่ทำจากไข่ไก่เพียงพอ นักเรียนได้รู้วิธีเลี้ยงปลากินพืช นักเรียนรู้จักวิธีเลี้ยงไก่พันธ์ุไข่ นักเรียนได้บริโภคเนื้อปลา
194
194
10. กิจกรรมที่ 3 การเพาะเห็ด
วันที่ 8 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ขั้นตอนการดำเนินการ
1. ประชุมวางแผนการดำเนินงานแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ
2. จัดทำโรงเรือนเพาะเห็ด
3. จัดซื้อก้อนเชื้อเห็ด
4. จัดผู้รับผิดชอบเพาะเห็ดนางฟ้า
5. ดำเนินการเพาะเห็ด ดูแลเอาใจใส่รดน้ำ เก็บผลผลิต โดยนักเรียนในชุมนุม และ ครูผู้รับผิดชอบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.นักเรียนได้เรียนรู้โดยการฝึกปฏิบัติจริง
2.นักเรียนมีความรู้ประสบการณ์ในการนำไปพัฒนาประกอบอาชีพ
3.นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจและรู้จักประหยัด
4.นักเรียนได้อาหารกลางวันในโครงการอาหารกลางวันโรงเรียน
194
329
11. กิจกรรมที่ 6 เกษตรปลอดสารพิษ
วันที่ 21 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
รู กรรมการสถานศึกษาฯ ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงาน รับทราบ นโยบาย แนวปฏิบัติของการขับเคลื่อนโครงการฯ ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ได้เข้าร่วมกิจกรรมเกษตรปลอดสารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมให้ความรู้ความเข้าใจและการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติตนเอง การทำงาน การนำเนินชีวิตในสังคม การให้ความรู้ด้านการเกษตรแบบปลอดสารเคมีโดยใช้ระบบชีวภาพทั้งระบบ แบ่งเป็นการประมง การเลี้ยงสัตว์ การปลูกพืชผักสวนครัว การปฏิบัติ การขายจุลินทรีย์EM การทำปุ๋ยหมัก การตอนและชำกิ่งมะนาว การเลี้ยงไก่ไข่ การเลี้ยงเป็ดเนื้อ การปลูกสวนครัวและปลูกผัก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าอบรมให้ความสนใจในการเข้าร่วมรับการอบรม ได้รับความรู้และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรปลอดสารพิษ ผู้เข้าอบรมได้ร่วมลงมือปฏิบัติจริงในกิจกรรมด้านการเกษตร สามารถปฏิบัติได้ตามกิจกรรมที่กำหนดและเสนอแนวทางเพื่อการนำไปประยุกต์ใช้ในครอบครัว ชุมชนได้ ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชนพร้อมให้ความร่วมมือช่วยเหลือโรงเรียนในการขับเคลื่อนเพื่อให้โรงเรียนสามารถพัฒนาได้อย่างยั่งยืน สู่การพึ่งพาตนเองได้
194
329
12. คืนดอกเบี้ยเพื่อปิดโครงการ
วันที่ 21 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
คืนดอกเบี้ยเพื่อปิดโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คืนดอกเบี้ยเพื่อปิดโครงการ
2
2
13. กิจกรรมที่ 4 การเลี้ยงปลาดุก
วันที่ 22 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
นักเรียนเข้าร่วม กิจกรรมได้ลงมือในการปฏิบัติจริง ในการเลี้ยงปลาดุกตั้งแต่ขั้นตอน
-การเตรียมสถานที่
-ทำความสะอาดบ่อ
-ใส่ดินในบ่อ
-ใส่น้ำและพืชน้ำธรรมชาติ
-ปล่อยปลา
-การให้อาหาร
-การดูแลปลา
-การสังเกตการณ์เกิดโรค
-การจับปลา
ทุกขั้นตอนนักเรียนได้ปฏิบัติอย่างถูกวิธีและได้จับปลาดุกเพื่อใช้เป็นอาหารกลางวันในโครงการอาหารกลางวัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ในการเลี้ยงปลาดุกครั้งนี้ นักเรียนสามารถเลี้ยงปลาดุกได้ถูกต้องรวมทั้งมีความสุขในการปฏิบัติ
- ได้ปลาดุกเพื่อใช้เป็นอาหารกลางวันในโครงการอาหารกลางวัน
- นักเรียนมีความรู้ด้านอาชีพ
- นักเรียนมีความรู้ด้านอาชีพการเลี้ยงปลา
- นักเรียนเกิดทักษะในการบริหารจัดการ และการทำงานเพื่อส่วนรวม
329
329
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสร้างความตระหนักและภารกิจหน้าที่เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียนชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใสทั้งระบบ
ตัวชี้วัด : มีองค์กรความร่วมมือจากชุมชนและภายนอกเข้าร่วมโครงการ
2
เพื่อปรับปรุงพัฒนาสหกรณ์นักเรียน และให้นักเรียนรู้จักการออม
ตัวชี้วัด : นักเรียนสามารถจัดทำบัญชีสหกรณ์นักเรียน
3
เพื่อส่งเสริมปัจจัยในการผลิตทางด้านการเกษตรทั้งในและนอกโรงเรียน
ตัวชี้วัด : ผลผลิตทางการเกษตร นักเรียนมีความรู้และเข้าใจในการเกษตร
4
เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมทั้งในและนอกโรงเรียนให้ถูกสุขอนามัย
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้เรื่องโภชนาการและสุขภาพที่ดี สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตประจำวัน
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม จังหวัด ชัยภูมิ
รหัสโครงการ ศรร.1312-059
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ผอ.วุฒิพงษ์ วงษ์ชู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม
“ โรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม ”
หมู่ 5 บ้าหนองไผ่ล้อม ตำบลนาหนองทุ่ม อำเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิหัวหน้าโครงการ
ผอ.วุฒิพงษ์ วงษ์ชู
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม
ที่อยู่ หมู่ 5 บ้าหนองไผ่ล้อม ตำบลนาหนองทุ่ม อำเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ จังหวัด ชัยภูมิ
รหัสโครงการ ศรร.1312-059 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.13
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม จังหวัดชัยภูมิ" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ 5 บ้าหนองไผ่ล้อม ตำบลนาหนองทุ่ม อำเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ 5 บ้าหนองไผ่ล้อม ตำบลนาหนองทุ่ม อำเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ รหัสโครงการ ศรร.1312-059 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 194 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2 ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
สถานการณ์ปัญหาการบริโภคอาหารและโภชนาการภายในโรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม โดยภาพรวม นักเรียนไม่นิยมบริโภคผักและการจัดทำอาหารกลางวันไม่สามารถดำเนินการให้ครบอาหารหลัก5หมู่ส่งผลให้นักเรียนบางคนยังมีน้ำหนักส่วนสูง ไม่ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานคิดเป็นร้อยละ17.86 บทเรียนความสำเร็จในการจัดการปัญหาด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพนักเรียนที่ผ่านมาโรงเรียนได้ดำเนินการอย่างไร และผลลัพธ์เป็น เช่นไร โรงเรียนได้ดำเนินการตามโครงการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงโดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนในระดับชั้นป.4 - 6ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่จำนวน50ตัวเลี้ยงปลาดุกปีละ800ตัวเลี้ยงกบปีละ500ตัวปลูกผักสวนครัว24แปลง ผลจากการดำเนินการทำให้โรงเรียนได้ผลผลิตทุกกิจกรรมนำมาใช้ในการประกอบอาหารตามโครงการอาหารกลางวันครบอาหารหลัก5หมู่ เพื่อให้การแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและสุขภาพนักเรียนบรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายต่อเนื่องยั่งยืนโรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม จึงได้จัดทำโครงการโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ขึ้น โดยมีปณิธานอย่างมุ่งมั่นในการเจริญรอยตามพระยุคลบาท สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการน้อมนำรูปแบบการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของนักเรียนอย่างครบวงจรมาปฏิบัติและพัฒนาสู่โรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้กินอิ่มอย่างมีคุณภาพ แก้มใส โภชนาการสมวัย สุขภาพแข็งแรง และมีคุณภาพชีวิตที่ดี เติบโตเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างความตระหนักและภารกิจหน้าที่เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียนชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใสทั้งระบบ
- เพื่อปรับปรุงพัฒนาสหกรณ์นักเรียน และให้นักเรียนรู้จักการออม
- เพื่อส่งเสริมปัจจัยในการผลิตทางด้านการเกษตรทั้งในและนอกโรงเรียน
- เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมทั้งในและนอกโรงเรียนให้ถูกสุขอนามัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนโรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม ได้กินอิ่มอย่างมีคุณภาพ ปลอดสารเคมี แก้มใสโภชนาการสมวัย บริโภคถูกต้องตามหลักโภชนาการ
นักเรียนโรงเรียนบ้านข่อย มีภาวะทุพโภชนาการและสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง การเจริญเติบโต ของร่างกายเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
นักเรียนโรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม มีทัศนะที่ดีและตระหนักรับรู้ในหน้าที่รับผิดชอบ ตามที่ได้รับมอบหมาย นักเรียนโรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม มีจิตสาธารณะและมีคุณภาพที่ดี เติบโตเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนา ประเทศชาติต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมที่ 10 กิจกรรมสหกรณ์ |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำการดำเนินงานกิจกรรม 1.ประชุมวางแผนการดำเนินงาน 2.แต่งตั้งคณะกรรมการ 3.จัดทำเอกสารชี้แจงหลักการของสหกรณ์ 4.ดำเนินงานตามโครงการ 5.กำกับ ติดตามผล 6.ประเมินผลและรายงานผล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.นักเรียนมีความรู้พื้นฐานเรื่องสหกรณ์และฝึกให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริง
|
194 | 329 |
2. กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ |
||
วันที่ 30 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำครู กรรมการสถานศึกษาฯ ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงาน รับทราบ นโยบาย แนวปฏิบัติของการขับเคลื่อนโครงการฯ ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ได้เข้าร่วมกิจกรรมค่าย ครู นร. ชุมขน โรงเรียนเครือข่ายเข้าร่วมกิจกรรมอบรม ปี ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชนกลุ่มเป้าหมายให้ความร่วมมือในการร่วมกิจกรรม สามารถดำเนินการตามกิจกรรมที่กำหนด นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชนกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ด้านสุขภาพอนามัย และมีผลลงานกลุ่มในการกำหนดแนวดำเนินการเพื่อพัฒนาสุขภาพอนามัย สู่วิถีสุขภาพได้ ได้รับความร่วมมือจากผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นไปตามวัตถุประสงค์
|
329 | 299 |
3. กิจกรรมที่ 8 กิจกรรม อย.น้อย |
||
วันที่ 30 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำโรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม จึงเห็นความสำคัญของการคุ้มครองผู้บริโภค จึงได้จัดตั้งชมรม อย.น้อยขึ้นในโรงเรียน และได้จัดกิจกรรม อย.น้อย เพื่อเป็นการให้ความรู้เบื้องต้นเรื่องความปลอดภัยของอาหาร การตระหนักในความสำคัญของความปลอดภัยของอาหาร การรู้จักปกป้องตนเอง รู้จักการเลือก สังเกต หรือทดสอบและรู้จักปฏิเสธอาหารที่ไม่ปลอดภัย จึงเป็นเรื่องที่ต้องเรียนรู้และฝึกฝนตั้งแต่เด็กเพื่อให้สามารถนำไปใช้ปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้ตลอดไปอย่างยั่งยืน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นภาพรวมของโครงการ 1) นักเรียนทุกคน มีความรู้ และความเข้าใจ ถึงสิทธิและหน้าที่ของผู้บริโภค 2) นักเรียนทุกคนสามารถปฏิบัติและเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและปลอดภัยใน ชีวิตประจำวัน 3) นักเรียนสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้อื่น ตลอดจนมีเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคทั้งในโรงเรียนและชุมชน
|
194 | 329 |
4. กิจกรรมที่ 9 กิจกรรมแพทย์แผนไทย |
||
วันที่ 30 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนสามารถดูแลสุขภาพแบบองค์รวม โดยอาศัยการนำเอาองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือกรวมถึงการนำเอาธรรมชาติรอบตัวมาใช้เพื่อส่งเสริมสุขภาพ เช่นการรักษาโรคด้วยสมุนไพร การออกกำลังกายด้วยกายบริหารฤๅษีดัดตน การนวด อบ และประคบด้วยสมุนไพร การรับประทานอาหารตามหลักธรรมชาติบำบัด การทำสมาธิบำบัด การฝึกโยคะเพื่อสุขภาพ เป็นต้น
|
194 | 329 |
5. การพัฒนาศักยภาพบุคลากร |
||
วันที่ 2 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำอบรมโครงการเด็กไทยแก้มใส เพื่อมุ่งเน้นให้นักเรียนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา ภายใต้การบูรณาการงานใน 8 กิจกรรม ได้แก่ 1) เกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดบริการอาหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการนักเรียน 5) การพัฒนาสุขนิสัยนักเรียน 6) การพัฒนางานอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพในโรงเรียน และ การเรียนรู้เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย เพื่อนำไปสู่การปฎิบัติอย่างต่อเนื่อง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเพื่อให้นักเรียนพัฒนา ใน 8 กิจกรรม ได้แก่
|
2 | 329 |
6. กิจกรรมที่ 2การเลี้ยงไก่พื้นบ้าน |
||
วันที่ 16 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.จัดหาอุปกรณ์ 2.การเลือกพันธุ์ไก่ไข่ 3.การจัดหาอาหาร 4.วิธีการเลี้ยงดูแลไก่ 5.การป้องกันโรคไก่ไข่ 6.วิธีการเก็บไข่ไก่จำหน่าย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
329 | 329 |
7. ไก่ไข่ |
||
วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นไก่ไข่
|
222 | 0 |
8. กิจกรรมที่ 5 การเลี้ยงเป็ด |
||
วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.จัดหาอุปกรณ์ 2.การเลือกพันธุ์เป็ด 3.การจัดหาอาหารเป็ด 4.วิธีการเลี้ยงและดูแลเป็ด 5.การป้องกันโรคในเป็ด 6.วิธีการเก็บไข่เป็ดจำหน่าย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
194 | 329 |
9. กิจกรรมที่ 1 เกษตรในโรงเรียน |
||
วันที่ 7 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำกระบวนการ ปฎิบัติกิจกรรม
1.กิจกรรมการปลูกพืชผัก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษ นักเรียนได้รู้วิธีปลูกผักสวนครัวได้ถูกวิธี นักเรียนได้รับโปรตีนจากอาหารที่ทำจากไข่ไก่เพียงพอ นักเรียนได้รู้วิธีเลี้ยงปลากินพืช นักเรียนรู้จักวิธีเลี้ยงไก่พันธ์ุไข่ นักเรียนได้บริโภคเนื้อปลา
|
194 | 194 |
10. กิจกรรมที่ 3 การเพาะเห็ด |
||
วันที่ 8 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำขั้นตอนการดำเนินการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.นักเรียนได้เรียนรู้โดยการฝึกปฏิบัติจริง 2.นักเรียนมีความรู้ประสบการณ์ในการนำไปพัฒนาประกอบอาชีพ 3.นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจและรู้จักประหยัด 4.นักเรียนได้อาหารกลางวันในโครงการอาหารกลางวันโรงเรียน
|
194 | 329 |
11. กิจกรรมที่ 6 เกษตรปลอดสารพิษ |
||
วันที่ 21 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำรู กรรมการสถานศึกษาฯ ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงาน รับทราบ นโยบาย แนวปฏิบัติของการขับเคลื่อนโครงการฯ ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ได้เข้าร่วมกิจกรรมเกษตรปลอดสารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมให้ความรู้ความเข้าใจและการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติตนเอง การทำงาน การนำเนินชีวิตในสังคม การให้ความรู้ด้านการเกษตรแบบปลอดสารเคมีโดยใช้ระบบชีวภาพทั้งระบบ แบ่งเป็นการประมง การเลี้ยงสัตว์ การปลูกพืชผักสวนครัว การปฏิบัติ การขายจุลินทรีย์EM การทำปุ๋ยหมัก การตอนและชำกิ่งมะนาว การเลี้ยงไก่ไข่ การเลี้ยงเป็ดเนื้อ การปลูกสวนครัวและปลูกผัก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าอบรมให้ความสนใจในการเข้าร่วมรับการอบรม ได้รับความรู้และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรปลอดสารพิษ ผู้เข้าอบรมได้ร่วมลงมือปฏิบัติจริงในกิจกรรมด้านการเกษตร สามารถปฏิบัติได้ตามกิจกรรมที่กำหนดและเสนอแนวทางเพื่อการนำไปประยุกต์ใช้ในครอบครัว ชุมชนได้ ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชนพร้อมให้ความร่วมมือช่วยเหลือโรงเรียนในการขับเคลื่อนเพื่อให้โรงเรียนสามารถพัฒนาได้อย่างยั่งยืน สู่การพึ่งพาตนเองได้
|
194 | 329 |
12. คืนดอกเบี้ยเพื่อปิดโครงการ |
||
วันที่ 21 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำคืนดอกเบี้ยเพื่อปิดโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคืนดอกเบี้ยเพื่อปิดโครงการ
|
2 | 2 |
13. กิจกรรมที่ 4 การเลี้ยงปลาดุก |
||
วันที่ 22 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำนักเรียนเข้าร่วม กิจกรรมได้ลงมือในการปฏิบัติจริง ในการเลี้ยงปลาดุกตั้งแต่ขั้นตอน
-การเตรียมสถานที่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในการเลี้ยงปลาดุกครั้งนี้ นักเรียนสามารถเลี้ยงปลาดุกได้ถูกต้องรวมทั้งมีความสุขในการปฏิบัติ
|
329 | 329 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างความตระหนักและภารกิจหน้าที่เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียนชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใสทั้งระบบ ตัวชี้วัด : มีองค์กรความร่วมมือจากชุมชนและภายนอกเข้าร่วมโครงการ |
||||
2 | เพื่อปรับปรุงพัฒนาสหกรณ์นักเรียน และให้นักเรียนรู้จักการออม ตัวชี้วัด : นักเรียนสามารถจัดทำบัญชีสหกรณ์นักเรียน |
||||
3 | เพื่อส่งเสริมปัจจัยในการผลิตทางด้านการเกษตรทั้งในและนอกโรงเรียน ตัวชี้วัด : ผลผลิตทางการเกษตร นักเรียนมีความรู้และเข้าใจในการเกษตร |
||||
4 | เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมทั้งในและนอกโรงเรียนให้ถูกสุขอนามัย ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้เรื่องโภชนาการและสุขภาพที่ดี สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตประจำวัน |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม จังหวัด ชัยภูมิ
รหัสโครงการ ศรร.1312-059
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ผอ.วุฒิพงษ์ วงษ์ชู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......