ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านวังยาววิทยายน

รหัสโครงการ ศรร.1313-052 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.6 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

กิจกรรมเกษตรผสมผสานพึ่งพิง

เมื่่่่อก่อนนี้ โรงเรียนบ้านวังยาววิทยายน ซื้ออาหารจากตลาด 100 เปอร์เซ็นต์ ทั้งผักและเนื้อสัตว์ย่อมมีสารเคมีปะปนมา จึงมีแนวคิดในการปลูกผักและเลี้ยงสัตว์กินเองเพื่อให้ปลอดภัยจากสารพิษ โดยได้ทำการเกษตรแบบผสมผสาน ผ่านการเรียนรู้บูรณาการลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ได้แก่
- การเลี้ยงไก่ไข่ 200 ตัว - การเลี้ยงปลาดุก
- การเลี้ยงเป็ดบาบารี (กำจัดเศษอาหารกลางวัน) -การปลูกข้าวอินทรีย์ แล้วสีข้าวกินเองโดยโรงสีข้าวขนาดเล็กของโรงเรียนและกระเดื่องตำข้าว วันละ 20 กก. - การปลูกผักสวนครัว เช่น ผักบุ้ง ผักกาด หอม กล้วย ชะพลู มะละกอ เตยหอม เพาะเห็ดฟาง ซึ่งผลผลิตที่ได้สหกรณ์รับซื้อ และขายต่อไปยังโรงอาหารเพื่อประกอบเป็นอาหารกลางวัน ส่วนที่เหลือขายให้ชุมชนไว้บริโภคในราคาถูก นอกจากนั้นยังได้รับความร่วมมือจากชุมชนคือวิทยากรด้านการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์

ขยายผลการผลิตทั้งการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์เพิ่ม โดยสร้างเครือข่ายชุมชนมามีส่วนร่วมในมากขึ้น เพื่อผลิตอาหารปลอดสารเคมีให้นักเรียนได้ทานครบ 100 เปอร์เซ็นต์โดยการเลี้ยงไก่ไข่ เลี้ยงเป็ด เลี้ยงปลา ปลูกผักไฮโดรโปนิกและออแกรนิก

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

สหกรณ์ตามรอยพระยุคลบาท

โรงเรียนบ้านวังยาววิทยายน มีงานดำเนินกิจกรรมสหกรณ์ตามรอยพระยุคลบาท โดยกิจกรรมสหกรณ์ร้านค้าของนักเรียนโรงเรียนบ้านวังยาววิทยายนจัดเพื่อส่งเสริมให้สมาชิกได้รู้จักการฝึกบันทึกบัญชี การบันทึกการประชุมและฝึกจำหน่ายสินค้าโดยการปิดบัญชีและประชุมคณะกรรมการเป็นประจำทุกเดือน เพื่อให้นักเรียนเกิดทักษะสามารถนำไปบูรณาการกับการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้ เมื่อสิ้นสุดโครงการสมาชิกทุกคนจะได้รับเงินปันผล เฉลี่ยคืน ดอกเบี้ยเงินรับฝากทุกปี สหกรณ์ร้านค้าโรงเรียนบ้านวังยาววิทยายน ได้ดำเนินงานในรูปแบบกิจกรรมร้านค้าควบคู่ไปกับกิจกรรมออมทรัพย์และกิจกรรมการผลิตผลผลิตทางการเกษตรเพื่อเป็นการสนองงานตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพ-รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งทรงมีพระราชกระแสให้โรงเรียนมีการจัดทำโครงการสหกรณ์เจ้าฟ้าพัฒนาเด็กไทยเพื่อสร้างรากฐานในการประกอบอาชีพ รู้จักการรวมกลุ่มกันทำงาน และมีนิสัยรักการจดบันทึกบัญชี รูปแบบการจัดกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ๑.โรงเรียนได้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมและบูรณาการร่วมกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆอีกทั้งจัดในชั่วโมงลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้โดยมีการจัดกิจกรรมต่างๆนอกเหนือจากการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนโดยเน้นการปฏิบัติจริงของนักเรียนดังต่อไปนี้ -กิจกรรมสหกรณ์ร้านค้า -กิจกรรมออมทรัพย์ -กิจกรรมการเลี้ยงไก่ไข่ -กิจกรรมการเลี้ยงเป็ด -กิจกรรมประมงโรงเรียน -กิจกรรมการปลูกพืชผัก -กิจกรรมปลูกข้าวอินทรีย์โรงสีข้าว -กิจกรรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร ๒.ส่งเสริมการให้นักเรียนรู้จักวิธีการจัดทำบัญชีรับ-จ่ายในทุกกิจกรรม ๓.จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำบัญชีสหกรณ์โดยได้รับความร่วมมือจากวิทยากรจากสำนักสหกรณ์จังหวัดมหาสารคามให้กับนักเรียน สหกรณ์ร้านค้าและสหกรณ์ออมทรัพย์ เป็นบูรณาการการเรียนรู้โดยนักเรียนได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติจริง ทั้งการซื้อการขายการจัดทำบัญชี สินค้าที่สหกรณ์รับซื้อและจำหน่าย ได้แก่เครื่องเขียน อุปกรณ์การเรียน เครื่องแบบ เน้นผลผลิตทางการเกษตร ข้าว ผัก ผลไม้ นำ้ดื่มสมุนไพร นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมการออมทรัพย์ของนักเรียน ซึ่งทั้งหมดนี้ดำเนินในรูปคณะกรรมการของนักเรียน ได้เรียนรู้แลฝึกปฏิบัติจริงมีวิทยากรจากสหกรณ์จังหวัดเป็นพี่เลี้ยงคอยสนับสนุน ผลลัพธ์นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้และเรียนร่วมในการทำงานด้วยการปฏิบัติจริงด้านกระบวนการผลิตการจำหน่าย การออม และการจัดทำระบบบัญชีรับ – จ่ายแบบง่ายในรูปแบบสหกรณ์อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนในระบอบประชาธิปไตยได้อย่างยั่งยืน

ขยายเครือข่ายสู่ชุมชนเพิ่มขึ้นโดยการดึงชุมชนมาเป็นสมาชิก และให้การสนับสนุนทั้งวิชาการและงบประมาณรับซื้อผลผลิตจากชุมชน โดยเฉพาะข้าว เป็นการสนองนโยบายรัฐบาลในการช่วยเหลือชาวนาอีกทางหนึ่งด้วย

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

กิจกรรมอาหารว่างและอาหารกลางวัน

โรงเรียนบ้านวังยาวิทยายน มีการจัดอาหารว่างให้กับนักเรียน 2 มื้อ เช้า เวลา 10.30 น. น้ำเต้าฮู้ น้ำสมุนไพร นึ่งฟักทอง มัน ผลไม้ตามฤดูการหมุนเวียนสับเปลี่ยนกันไป บ่าย 14.30 ดื่มนม ส่วนอาหารกลางวัน จัดทำรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch) ที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน โดยอบรมผู้นำนักเรียนเป็นผู้ดำเนินการในการลงข้อมูล รายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch) นักเรียนแกนนำรับผิดชอบจัดทำรายการอาหารกลางวัน เสนอรายการอาหารกลางวันต่อครูผู้รับผิดชอบเพื่อครวจสอบความถูกต้อง ลงรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch)ที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน นำรายการวัตถุดิบที่ต้องซื้อไปให้แม่ครัว จัดประกอบอาหารตามเมนูที่วางไว้ มีเมนูเสริมคือไข่ต้มจากผลผลิตของโรงเรียน และส้มตำแบบบุปเฟ่ต์วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เพื่อเสริมปริมาณการกินผัก ตักอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของโภชนาการที่เหมาะสมกับวัย นักเรียนท่องบทพิจารณาอาหาร รับประทานอาหาร ล้าง-เก็บภาชนะสำรวจความพึงพอใจนักเรียน ผู้ปกครองที่มีส่วนได้เสีย

ขยายผลการจัดทำอาหารว่างและอาหารกลางวันกับโรงเรียนอื่นภายในเขตพื่้นที่การศึกษา เพื่่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันนอกจากนั้นจะพัฒนาต่อยอดอาหารแบบครบวงจร

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

การดำเนินโครงงาน พี่สอนน้องOnebyOneเรื่องฟันสวยด้วยมือเรา

1.เป็นการเรียนรู้เรื่องของสุขภาพในช่องปากให้กับนักเรียนเพื่อนักเรียนจะได้พัฒนาทักษะการดูแลรักษาสุขภาพในช่องปากให้มากขึ้น 2.รู้และปฏิบัติการแปรงฟันที่ถูกวิธี 3.วัดระดับความรู้พื้นฐานในเรื่องของสุขภาพในช่องปาก 4.ศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ

จะพัฒนาต่อจากที่เป็นพี่สอนน้องแบบตัวต่อตัว พัฒนาเป็นรูปเล่มในรูปแบบหนังสือเล่มเล็ก ที่ส่งเสริมสุขภาพในช่องปาก

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติในโรงเรียน
-พื้นที่ฉันทศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง -ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติบูรณาการสู่นิสัยสุขบัญญัติ -สนามเด็กเล่นสร้างปัญญา (BBL) ตามรอยพระยุคลบาท -สุขาภิบาลโรงอาหาร -สุขาภิบาลห้องน้ำห้องส้วม

1.จัดสรรพื้นที่ในโรงเรียนเพื่อเป็นที่ปลูกผัก เลี้ยงไก่ไข่ เลี้ยงเป็ด เลี้ยงปลาดุก ปลูกข้าว 2.จัดระบบบริการห้องสมุด โดยใช้กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ เพื่อบูรณาการสุขบัญญัติสู่นิสัยรักการอ่าน 3.มีสนามเด็กเล่นและสระว่ายน้ำ เพื่อพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา และฝึกว่ายน้ำช่วยชีวิต 4.มีโรงอาหารและห้องน้ำห้องส้วมที่ถูกสุขบัญญัติ

1.จัดสรรพื้นที่ในโรงเรียนเพื่อเศรษฐกิจพอเพียงให้เพียงพอและสมบูรณ์ 2.พัฒนาระบบอินเตอร์เน็ตในห้องสืบค้นและมีห้องสมุดเสียง 3.มีสนามเด็กเล่นที่ส่งเสริมการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา 4.ใช้โปรแกรม Thai School Lunch ในการคำนวณการประกอบอาหารและสั่งซื้อวัตถุดิบได้ตามโปรแกรม

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชน ผู้นำ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังยาว อสม. อบต.วังยาว โรงเรียนในศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาวังยาวเขวาไร่ดอนกลาง ทั้ง 12 โรงเรียน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 3 โรงพยาบาลโกสุมพิสัย สำนักงานสาธารณสุขอำเภอโกสุมพิสัย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม ศูนย์อนามัยที่ 7 และศูนย์เสมารักษ์ สำนักงานศึกษาธิการภาค 10

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

มีการจัดสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้ส่งผลถึงการจัดการเรียนการสอนที่ส่งผลถึงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมโรงเรียน และสุขภาพของนักเรียนจัดทำโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

การมีส่วนร่วมและให้การสนับสนุนของภาคีเครือข่าย

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

ครูบูรณาการการเรียนรู้มีการจัดกิจกรรมในหลักสูตรการเรียนการสอนกิจกรรมเสริมหลักสูตร กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ เพื่อส่งเสริมการดำเนินงานสุขบัญญัติ 10 ประการ นักเรียนร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ เพื่อส่งเสริมการดำเนินงานสุขบัญญัติ 10 ประการ แม่ครัวได้รับการอบรมความรู้เกี่ยวกับงานสุขบัญญัติ 10 ประการ งานสุขาภิบาลโรงอาหาร และการประกอบอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunch ปริมาณการตักอาหารข้าว เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

1.ร่วมประชุมกับผู้ปกครองและชุมชน โดยการออกประชาคมหมู่บ้านทั้ง 8 หมู่บ้าน , เยี่ยมบ้านนักเรียน 2.วิเคราะห์วางแผนร่วมกันกับโรงเรียนกำหนดเป้าหมายร่วมกัน 3.สนับสนุนกิจกรรมต่างๆของโรงเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

โรงเรียนมีการเลี้ยงไก่ไข่ จำนวน 200 ตัว เลี้ยงเป็ด

ตามกิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพโครงการเด็กไทยแก้มใสต่อยอด 8 กิจกรรมให้เข้มแข็ง

ขยายผลสู่ชุมชน และดำเนินโครงการอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

เลี้ยงปลาดุก ปลาเทโพ

ตามกิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพโครงการเด็กไทยแก้มใสต่อยอด 8 กิจกรรมให้เข้มแข็ง

ขยายผลสู่ชุมชน และดำเนินโครงการอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

โรงเรียนจัดอาหารกลางวัน และอาหารว่างเช้า-บ่าย ตามโปรแกรมของ Thai School Lunch

ป้ายบอกปริมาณการบริโภคผักและผลไม้ที่โรงอาหาร

ใช้โปรแกรม Thai School Lunch อย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

โรงเรียนจัดอาหารกลางวัน และอาหารว่างเช้า-บ่าย ตามโปรแกรมของ Thai School Lunch

ป้ายบอกปริมาณการบริโภคผักและผลไม้ที่โรงอาหาร

ใช้โปรแกรม Thai School Lunch อย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

โรงเรียนจัดอาหารกลางวัน และอาหารว่างเช้า-บ่าย ตามโปรแกรมของ Thai School Lunch

ป้ายบอกปริมาณการบริโภคผักและผลไม้ที่โรงอาหาร

ใช้โปรแกรม Thai School Lunch อย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

ได้รับการมีส่วนร่วมและสนับสนุนจากชุมชน โดยการนำผลผลิตเกษตรอินทรีย์ (ข้าว ผัก ผลไม้) สู่อาหารกลางวันโรงเรียน

กิจกรรมสร้างพลังเครือข่ายชุมชนในการขับเคลื่อนประสานชุมชนนำผลผลิตเกษตรอินทรีย์ (ข้าว ผัก ผลไม้) สู่อาหารกลางวันโรงเรียน

ขยายผลสู่ชุมชนในการผลิตเกษตรอินทรีย์ที่ปลอดสารพิษให้ได้มากขึ้น และดำเนินโครงการอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

โรงเรียนจัดอาหารกลางวัน และอาหารว่างเช้า-บ่าย ตามโปรแกรมของ Thai School Lunch ตลอดปีการศึกษา

ข้อมูลสำรับอาหารโรงเรียนในโปรแกรมของ Thai School Lunch

ใช้โปรแกรมของ Thai School Lunch อย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

โรงเรียนมีการติดตามและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ เทอมละ 2 ครั้ง โดยใช้โปรแกรม INMU-Thaigrowth ของสถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล

ข้อมูลภาวะโภชนาการนักเรียนในโปรแกรม INMU-Thaigrowth

ใช้โปรแกรม INMU-Thaigrowth อย่างต่อเนื่อง

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/22562 1/12562 2/1
เตี้ย 3.29 3.29% 3.34 3.34% 4.59 4.59% 1.98 1.98% 1.92 1.92% 1.29 1.29% 2.53 2.53% 2.22 2.22% 1.94 1.94% 3.57 3.57% 3.58 3.58% 3.26 3.26% 2.64 2.64% 2.94 2.94% 2.63 2.63% 1.97 1.97% 2.34 2.34% 3.30 3.30%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 5.92 5.92% 6.02 6.02% 8.85 8.85% 5.28 5.28% 6.39 6.39% 6.45 6.45% 6.33 6.33% 6.65 6.65% 6.45 6.45% 7.14 7.14% 7.17 7.17% 7.17 7.17% 6.60 6.60% 5.88 5.88% 5.59 5.59% 4.92 4.92% 6.69 6.69% 8.91 8.91%
ผอม 4.93 4.93% 4.28 4.28% 5.90 5.90% 4.92 4.92% 2.24 2.24% 2.58 2.58% 2.22 2.22% 1.90 1.90% 3.23 3.23% 4.87 4.87% 4.89 4.89% 1.95 1.95% 6.27 6.27% 4.25 4.25% 5.26 5.26% 2.30 2.30% 7.69 7.69% 4.95 4.95%
ผอม+ค่อนข้างผอม 12.50 12.50% 10.86 10.86% 12.13 12.13% 11.48 11.48% 7.03 7.03% 7.74 7.74% 7.59 7.59% 7.59 7.59% 6.77 6.77% 10.06 10.06% 10.10 10.10% 3.58 3.58% 15.18 15.18% 12.09 12.09% 13.16 13.16% 6.56 6.56% 19.73 19.73% 11.55 11.55%
อ้วน 4.93 4.93% 2.30 2.30% 4.26 4.26% 2.95 2.95% 3.19 3.19% 2.90 2.90% 1.90 1.90% 1.58 1.58% 3.87 3.87% 3.90 3.90% 4.23 4.23% 2.93 2.93% 2.97 2.97% 3.59 3.59% 3.95 3.95% 3.61 3.61% 5.02 5.02% 3.30 3.30%
เริ่มอ้วน+อ้วน 7.57% 7.57% 6.58% 6.58% 8.85% 8.85% 8.85% 8.85% 6.07% 6.07% 5.81% 5.81% 5.06% 5.06% 2.85% 2.85% 6.77% 6.77% 7.47% 7.47% 7.82% 7.82% 6.19% 6.19% 9.24% 9.24% 8.50% 8.50% 9.87% 9.87% 8.52% 8.52% 10.37% 10.37% 9.24% 9.24%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนของนักเรียนลดลง

ตามสภาวการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน

ดูแล กำกับ ติดตาม ภาวะโภชนาการของนักเรียนกลุ่มเริ่มอ้วนและอ้วน จัดบริการอาหารเฉพาะกลุ่ม และส่งเสริมการออกกำลังกาย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

นักเรียนมีภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

ตามสภาวการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน

ดูแล กำกับ ติดตาม ภาวะโภชนาการของนักเรียนกลุ่มค่อนข้างผอมและผอม จัดบริการอาหารเฉพาะกลุ่ม และส่งเสริมการออกกำลังกาย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

นักเรียนมีการบันทึกสุขภาพประจำตัว และสามารถบอกสภาวะของตัวเองได้ และตอบแบบประเมินการกินอาหารและออกกำลังกาย

แบบบันทึกสุขภาพประจำตัวนักเรียนและแบบประเมินการกินอาหารและออกกำลังกาย

ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

ประชุมผู้ปกครอง ,ออกประชาคมหมู่บ้าน , กิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียน และการบันทึกสุขภาพประจำตัวนักเรียน

บันทึกการประชุมผู้ปกครอง , บันทึกการออกประชาคมหมู่บ้าน , บันทึกรายงาน และภาพถ่ายการเยี่ยมบ้าน ,แบบบันทึกสุขภาพประจำตัวนักเรียน

ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชน ผู้นำ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังยาว อสม. อบต.วังยาว โรงเรียนในศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาวังยาวเขวาไร่ดอนกลาง ทั้ง 12 โรงเรียน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 3 โรงพยาบาลโกสุมพิสัย สำนักงานสาธารณสุขอำเภอโกสุมพิสัย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม ศูนย์อนามัยที่ 7 และศูนย์เสมารักษ์ สำนักงานศึกษาธิการภาค 10

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh