ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านบะคอม


“ โรงเรียนบ้านบะคอม ”

หมู่ 3 ตำบลนาเวียง อำเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร

หัวหน้าโครงการ
นายสมศักดิ์สมสะอาด

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านบะคอม

ที่อยู่ หมู่ 3 ตำบลนาเวียง อำเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร จังหวัด ยโสธร

รหัสโครงการ ศรร.1311-077 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.31

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2016 ถึง 30 เมษายน 2017


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านบะคอม จังหวัดยโสธร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ 3 ตำบลนาเวียง อำเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านบะคอม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านบะคอม



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านบะคอม " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ 3 ตำบลนาเวียง อำเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร รหัสโครงการ ศรร.1311-077 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านบะคอม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 54 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียน บ้านบะคอม จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้ 1. การเกษตรในโรงเรียน กิจกรรมปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษกิจกรรมเลี้ยงปลาในบ่อซีเมนต์กิจกรรมเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่กิจกรรมปลูกเห็ดนางรม โดยนักเรียนรับผิดชอบดำเนินการเอง 1.1การปลูกผักสวนครัว รั้วกินได้ - กิจกรรมในการปลูกผักสวนครัว รั้วกินได้ - การคัดเลือกชนิดของพืชผักที่เหมาะสมกับสภาพดินฟ้าอากาศในท้องถิ่นบ้านเรา - การทำแปลงสาธิตการปลูกผักสวนครัว รั้วกินได้ 1.2การเพาะเห็ดนางฟ้า
1.3การเลี้ยงปลาดุกสาธิตการเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ในโรงเรียน และการเลือกพื้นที่ในการเลี้ยงปลาดุกที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ในท้องถิ่นบ้านเราเช่น การเลี้ยงปลาดุกในโอ่งในบ่อพลาสติกในบ่อซีเมนต์อื่นๆ 1.4การเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ร่วมกันไปดูเกษตรกรในหมู่บ้านที่เลี้ยงไก่พันธุ์ไข่เป็นอาชีพอยู่แล้วโดยส่งเสริมให้ชุมชนเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ต่อไป และต่อยอดการเลี้ยงไว้รับประทานเป็นอาหารในครัวเรือนเป็นการเลี้ยงไว้เพื่อจำหน่ายเป็นรายได้เสริมให้กับครอบครัวและโรงเรียนต่อไป จากการเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าวนักเรียนทุกคนมีการวางแผนการปลูกผักผลไม้เลี้ยงสัตว์ทำประมง และทำการผลิตตามแผนที่สอดคล้องกับฤดูกาลต่างๆ มีการจดบันทึกและติดตามการเจริญเติบโต และจำนวนผลผลิตที่ได้จากการปลูกผัก ผลไม้ การเลี้ยงสัตว์ และการทำการประมงภายใต้การสนับสนุนด้านวิชาการจากหน่วยงานหรือเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ได้เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมผลผลิตเพื่อโครงการเด็กไทยแก้มใสได้แก่การปลูกผักสวนครัว รั้วกินได้การเพาะเห็ดนางฟ้า การเลี้ยงปลาดุกการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ โดยแบ่งนักเรียนรับผิดชอบเป็นรายชั้น ผลผลิตทางการเกษตรที่ได้จากการดำเนินการ เช่น ผักต่างๆปลา ไข่เป็นต้นได้นำมาประกอบเป็นอาหารสำหรับนักเรียนโดยทำเมนูที่หลากหลายเป็นอาหารจานเดียวบ้าง เป็นอาหารชุดบ้าง ตามโอกาสแต่เน้นให้ถูกหลักโภชนาการได้สารอาหารครบทั้ง 5 หมู่และเวลา 15.00 น.ของทุกวันนักเรียนจะได้รับประทานอาหารว่างโดยเงินสนับสนุนจากการบริจาคเงินเพื่ออาหารกลางวันของนักเรียน และนำไปจำหน่ายให้กับสหกรณ์โรงเรียนเพื่อนำไปใช้ในโครงการอาหารกลางวันส่วนหนึ่งนำรายได้ไปใช้ในการซื้อพันธุ์ผักเพื่อหมุนเวียนปลูกตามฤดูกาลจากการดำเนินกิจกรรมทำให้นักเรียนโรงเรียนบ้านอนข่ามีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์แข็งแรงมากขึ้นได้รับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการในแต่ละวันนักเรียนจะได้สารอาหารครบทั้ง 5 หมู่ 2. สหกรณ์นักเรียน นักเรียนลงบัญชีรายรับ – รายจ่าย จากการจำหน่ายผักสวนครัวเห็ดปลาไข่เป็นรูปธรรมและมีการฝากเงินออมทรัพย์ของนักเรียนที่ธนาคารการเกษตรเพื่อสหกรณ์ อำเภอทรายมูล

3.การจัดบริการอาหารของโรงเรียน บริการอาหารที่มีคุณค่าโภชนาการครบหมู่เพื่อเกิดประโยชน์สูงสุดต่อร่างกายนักเรียน เป็นการบริการโดยนักเรียน การจัดทำรายการอาหารมีเมนูแปลนรายเดือนใช้โปรแกรม Thai School Lunch ตามมาตรฐานโภชนาการ ซึ่งในหนึ่งสัปดาห์มีการจัดรายการอาหารได้มาตรฐานโภชนาการมีคุณค่าทางโภชนาการเหมาะสมกับวัยของนักเรียนเอง และมีปริมาณพลังงานและสารอาหารอย่างน้อยร้อยละ 70 ของปริมาณที่แนะนำสำหรับมื้อกลางวัน มีครูเวรคอยทำหน้าที่กำกับดูแลเกี่ยวกับการตักอาหารให้นักเรียนตามปริมาณและสัดส่วนของธงโภชนาการที่เหมาะสมกับวัย 4. การติดตามภาวะโภชนาการ นิเทศกำกับติดตาม ภาวะโภชนาการทุกระยะเพื่อเปรียบเทียบตามหลักทางวิชาการให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อนักเรียน จากการดำเนินโครงการนักเรียนทุกคนได้รับการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง และทดสอบสมรรถภาพกายทั้ง 3 ด้านได้แก่การไหลเวียนโลหิตความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและความอ่อนตัวมีการบันทึกข้อมูลน้ำหนักส่วนสูง และสมรรถภาพทางกายทั้ง 3 ด้านมีการแปลผลภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายที่ถูกต้องตามเกณฑ์ชี้วัดเป็นปัจจุบัน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปการเฝ้าระวังการเจริญเติบโตและสมรรถภาพทางกายมีการแจ้งผลให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ และโรงเรียนมีโครงการในการควบคุมป้องกัน และแก้ไขเด็กกลุ่มเสี่ยงและเด็กที่มีปัญหาโดยครอบครัวมีส่วนร่วมนักเรียนสามารถประเมินภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกายได้ด้วย 5. การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน ฝึกวินัยนักเรียนให้มีความรับผิดชอบในการดำเนินกิจกรรมอาหารกลางวันโดยนักเรียนเพื่อความยั่งยืนในการดำรงชีวิตอย่างยั่งยืน จาการเข้าร่วมโครงการทำให้นักเรียนแกนนำสามารถจัดกิจกรรมพัฒนาสุขนิสัยมีการติดตามประเมินผลด้วยตนเอง และขยายผลให้นักเรียนทุกคนในโรงเรียน 6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ พัฒนาระบบภูมิทัศน์ให้สะอาดร่มรื่นสวยงามน่าเรียน บรรยากาศดีเอื้อต่อการจัดกิจกรรมเป็นที่ประทับใจนักเรียน ทุกวันตอนเช้าและหลังเลิกเรียนจะมีนักเรียนที่เป็นเจ้าหน้าที่ทำความสะอาดร่วมกันตรวจเช็คความสะอาดของบริเวณต่างๆ ของโรงเรียน และมีครูคอยให้คำปรึกษานอกจากนี้ยังเชิญสาธารณสุขจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาวียงมาให้ความรู้เกี่ยวกับอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนอย่างถูกต้องมีการรณรงค์และขยายผลสู่ชุมชนเช่นการรณรงค์การทำความสะอาดห้องน้ำการคัดแยกขยะเป็นต้น 7. การจัดบริการสุขภาพ ตรวจสอบสมรรถภาพร่างกายนักเรียนอบรมผู้นำนักเรียนทั้งระบบโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมบริการสุขภาพนักเรียนตามแนวทางที่กำหนดภายใต้ความร่วมมือกับฝ่ายสาธรณสุขที่ดูแลโรงเรียนอย่างต่อเนื่องมีห้องปฐมพยาบาลที่ถูกสุขลักษณะได้มาตรฐาน และมีครูอนามัยดูแลตลอดเวลา และจัดกิจกรรมเลือกนักเรียนแกนนำร่วมรับผิดชอบในการให้บริการสุขภาพ และนักเรียนทุกคนได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้นตามมาตรฐานบริการสุขภาพโรงเรียนบ้านบ้านบะคอมมีตู้ยาสามัญประจำบ้านจำนวน 1 ตู้ ไว้ประจำที่ห้องปฐมพยาบาลห้องปฐมพยาบาลเป็นห้องที่ถูกสุขลักษณะได้มาตรฐาน มีอุปกรณ์จำเป็นเช่นเตียงตู้ยายาสามัญฯ และมีนักเรียนแกนนำคอยเป็นผู้ดูแลโดยมีครูอนามัยดูแลตลอดเวลา และจัดกิจกรรมเลือกนักเรียนแกนนำร่วมรับผิดชอบในการให้บริการสุขภาพ และนักเรียนทุกคนได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้นตามมาตรฐานบริการสุขภาพนักเรียนกลุ่มเสี่ยงหรือที่มีปัญหาสุขภาพทุกคนได้รับความช่วยเหลือแก้ไขเบื้องต้นอย่างเหมาะสม โดยมีการส่งต่อตามระบบการส่งต่อช่วยเหลือนักเรียน 8. การจัดการเรียนรู้เกษตรโภชนาการและสุขภาพอนามัย ใช้หลักโภชนาการมาจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การเรียนรู้ เข้าด้วยกันหลายๆวิชาเชื่อมโยงกันโรงเรียนมีจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริงในด้านการเกษตรโรงเรียนมีแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการโดยมีกิจกรรมที่สอดคล้องกับเรื่องเกษตรสหกรณ์โภชนาการและสุขภาพครบทุกระดับชั้นในระดับประถมศึกษาปีที่ 1-6 มีการจัดกระบวนการเรียนรู้โดยแหล่งเรียนรู้เป็นฐานและให้นักเรียนได้เรียนรู้โดยการนำไปบูรณาการกับวิชาต่างๆนักเรียนได้ปลูกผักเพื่อเป็นอาหารกลางวันได้นำไข่ และเนื้อสัตว์ที่เลี้ยงมาใช้ในการประกอบอบอาหารกลางวันนอกจากนี้โรงเรียนยังจัดทำสื่อ นวัตกรรม ชุดความรู้ และฐานการเรียนรู้ของโรงเรียนและหรือชุมชนด้านเกษตร โภชนาการ และสุขภาพที่เกิดจากผลงานของครู นักเรียนครอบครัว และชุมชน





สรุปผลดำเนินงาน ก่อนเข้าร่วมโครงการนักเรียนได้รับอาหารจากโรงอาหารและร้านค้าโรงเรียน ผลขอภาวะโภชนาการของนักเรียนสรุปว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ผอม 8 คน เตี้ย 13 คน มีผลผลิตทางการเกษตรไม่เพียงพอต่อความต้องการเด็กเนื่องจากการผลิตด้านการเกษตรมีการใช้ต้นทุนการผลิตสูง การประกอบอาหารต้องนำวัตถุดิบที่ซื้อมาจากตลาดมีราคาแพงและเป็นอาหารที่มีสารพิษเจือปนอยู่มาก ความปลอดภัยมีน้อยมาก การปรุงรสใช้น้ำปรุงรสที่มีจำหน่ายในตลาด บุคคลภายนอกมาจัดจำหน่ายอาหารให้กับเด็ก นักเรียนมีภาวะฟันพุจากการรับประทานอาหาร ภาวะโภชนาการไม่ดีเท่าที่ควร และนักเรียนบางคนมีเหาจึงต้องได้รับการแก้ไขโดยเร่งด่วน

จากการเข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสปีที่ 1 โรงเรียนบ้านบะคอมได้น้อมนำแนวทางการดำเนินงานด้านบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียน โดยมีกิจกรรมเกษตรในโรงเรียน ร้อยละ 90 ได้มีส่วนร่วมจัดทำการเกษตรปลอดสารพิษ ปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ และการประมง นำผลผลิตที่ได้เข้าสู้โครงการเพื่อจัดทำอาหารกลางวันนักเรียนได้รับอาหารที่มีคุณค่าและปลอดภัยจากสารพิษ เป็นการฝึกอาชีพให้กับนักเรียนเพื่อไปใช้ในชีวิตประจำวัน“นวัตกรรมที่ใช้ร้อยละ 100 คือการปลูกพืชโดยใช้สารชีวภาพ มีการผลิตปุ๋ยชีวภาพ ทำน้ำหมักชีวภาพ เพื่อลดสารเคมีและลดต้นทุนการผลิต” สหกรณ์นักเรียนรับผลผลิตจากภาคการเกษตรมาจัดจำหน่ายให้กับโรงอาหาร ส่งเสริมสุขภาพนักเรียนและ ป้องกันโรคต่างที่มาจากการกิน เช่น โรคอ้วน โรคขาดสารอาหาร ฝึกให้เด็กมีระเบียบวินัยในการกินรู้ประโยชน์รู้โทษของการกิน ส่งเสริมการออมทรัพย์ของเด็ก ส่งเสริมความรู้ทางด้านประกอบอาชีพให้เด็กรู้จักทำบัญชีรายรับจ่ายฝึกวินัยในการใช้จ่ายอยู่งอย่างพอเพียงตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง จัดบริการอาหารให้กับนักเรียนอย่างเพียงพอต่อความต้องการของเด็กโดยร้อยละ 90 ใช้โปรแกรมอาหาร Thai school lunch จัดห้องครัวที่สะอาดถูกหลักอนามัย ดูแลการปรุงและประกอบอาหารให้ถูกต้องตามหลักภาวะโภชนาการ ใช้นวัตกรรมคือ “การใส่เกลือไอโอดีนแทนน้ำปรุงรส น้ำตาลแทนผงปรุงรส”ดูแลกำกับการรับประทานอาหารของนักเรียน โดยแยกกลุ่มนักเรียนที่มีภาวะอ้วน ผอมมาดูแลเรื่องการรับประทานอาหารเป็นพิเศษเพื่อควบคุมอาหารให้กับเด็กกลุ่มนี้มีการเฝ้าระวังติดตามภาวะโภชนาการทดสอบสมรรถภาพของนักเรียน มีการตรวจสุขภาพประจำภาคเรียนดูแลสุขภาพของนักเรียนร้อยละ 90 นักเรียนออกกำลังกายสัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 30 นาทีได้รับการดูแลตรวจสุภาพประจำภาคเรียนและมีการประเมินตนเองของนักเรียน โรงเรียนมีการบริการน้ำที่สะอาดได้มาตรฐานตามคุณภาพมาตรฐานน้ำดื่มสะอาดในโรงเรียนเพื่อใช้ในการบริโภคและอุปโภคมีที่ล้างมือ ที่แปรงฟัน ห้องน้ำที่สะอาดถูกสุขลักษณะ การกำจัดขยะที่ปลอดภัยลดมลพิษทางอากาศ รณรงค์ป้องกันอุบัติภัยโรงเรียน ติดตามตรวจสุขภาพและมีการตรวจสุขภาพอนามัยของนักเรียนประจำภาคเรียนภาคเรียนละ 1 ครั้งจากเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล โดยมีการตรวจฟัน การตรวจเหา การตรวจการได้ยิน การตรวจสายตาการจัดการเรียนรู้ด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพร้อยละ 100 โรงเรียนได้จัดทำแผนการเรียนรู้ประจำชั้นเรียน ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ได้เรียนรู้ทั้งในชั้นเรียนการลงมือปฏิบัติจริงและโดยผ่านการอบรมหน้าเสาธง การอบรมภาคกลางวัน จากการอบรมครูแกนนำของนักเรียนจากการตรวจสุขภาพนักเรียนด้วยตนเอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างความตระหนักและภารกิจหน้าที่เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียนชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใสทั้งระบบ
  2. เพื่อลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพนักเรียนและกำหนดแนวทางในการจัดเพื่อส่งเสริมสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  3. เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสะอาดปลอดภัยบริโภคทุกวัน ตลอดปีการศึกษาและเพื่อพัฒนาการบริโภคอาหารที่พึงประสงค์ตามหลักโภชนาการและสุขนิสัยที่พึงปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร
  4. เพื่อขยายเครือข่ายสู่โรงเรียนในตำบล ทั้ง 4 โรงเรียนและเป็นแหล่งเรียนรู้กับโรงเรียนอื่นๆ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. คณะครู นักเรียน ผู้ปกครองร่วมกันสร้างเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส 2.โรงเรียนมีผลผลิตทางด้านการเกษตรเพียงพอต่อจำนวนนักเรียนและยังสามารถนำไปจำหน่ายให้กับชุมชน 3.โรงเรียนมีสิ่งแวดล้อมที่ถูกสุขอนามัยและชุมชนมีบรรยากาศที่น่าอยู่หมู่บ้านสะอาดถูกหลักอนามัย 4.โรงเรียนในตำบลนาเวียงได้รับความรู้เรื่อง “เด็กไทยแก้มใส”และนำไปปฏิบัติตามได้ 5.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในกิจกรรมสหกรณ์ปฏิบัติได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมชี้แจงนโยบายและจัดทำแแผนปฏิบัติงานโครงการเด็กไทยแก้มใส

    วันที่ 13 พฤษภาคม 2016 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ผู้เข้ารับการอบรมลงทะเบียน 2.ผู้อำนวยการโรงเรียนเปิดโครงการและชี้แจงนโยบายและการจัดทำแผนปฏิบัติงานโครงการแก้มใส 3.ดำเนินการอบรมเรื่องการบริหารจัดการอาหารกลางวันที่มีคุณภาพ การเฝ้าระวังโภชนาการ และสุขภาพอนามัยในโรงเรียน โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้   - การเกษตรในโรงเรียน   - สหกรณ์นักเรียน   - การจัดบริการอาหารกลางวันของโรงเรียน   - การติดตามภาวะโภชนาการ   - การพัฒนาสุขนิสัยของนักรียน   - การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ   - การจัดบริการสุขภาพในโรงเรียน   - การจัดการเรียนรู้ เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย 4. ร่วมกันสรุปแนวทางการพัฒนาให้เป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.สามารถกระตุ้นส่งเสริมความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครอง 2. 3. 4.

     

     

    85 52

    2. ปรับปรุงพัฒนาสหกรณ์ร้านค้านักเรียน/สถานที่ล้างผัก/ผลไม้ในโครงการ

    วันที่ 4 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ๑. ปรับปรุงสหกรณ์ร้านค้าในโรงเรียน ๒. ปรับปรุงทำความสะอาดสถานที่ล้างผักและผลไม้ให้ถูกสุขลักษณะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต ๑. ร้านจัดจำหน่าย อาหารว่าง ลดหวาน มัน เค็ม น้ำอัดลม เครื่องดื่ม มีคุณภาพได้มาตรฐานตามหลักโภชนาการ ๒. ที่ล้างผัก ผลไม้ ที่ปลอดภัยและถูกต้อง ผลลัพธ์ ๑. นักเรียนได้รับ อาหารว่าง ลดหวาน มัน เค็ม น้ำอัดลม เครื่องดื่ม มีคุณภาพได้มาตรฐานตามหลักโภชนาการ ๒. นักเรียนและครูได้ที่ล้างผัก ผลไม้ ที่ปลอดภัยและถูกต้อง

     

    100 82

    3. เพาะเห็ดนางฟ้าเพื่ออาหารกลางวัน

    วันที่ 15 กันยายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดซื้อก้อนเชื้อเห็ด และวัสดุอุปกรณ์ในการเพาะเห็ด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีก้อนเชื้อเห็ด จำนวน 400 ก้อน สามารถนำผลผลิตไปประกอบเป็นอาหารกลางวันแก่นักเรียน และสามารถนำไปแปรรูปได้

     

    80 69

    4. เลี้ยงไก่พันธุ์ไข่เพื่ออาหารกลางวัน

    วันที่ 15 กันยายน 2016 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

      1.ซื้อไก่พันธ์ไข่ พร้อมไข่เพื่อสนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน จำนวน 250  ตัว 2.แปรรูปอาหารจากไข่ไก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      นักเรียนสามารถได้บริโภคไข่ไก่ปราศจากสารเร่ง และแปรรูปไข่ไว้รับประทานได้นาน

     

    80 0

    5. การแปรรูปผลิตภัณฑ์เพื่อส่งเสริมอาหารสุขภาพ

    วันที่ 15 กันยายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดซือวัสดุที่ใช้สำหรับการแปรรูปผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ถังแช่, ถังพลาสติก และกระจาดพลาสติก 2.นำผลผลิตทางการเกษตรมาดำเนินการแปรรูป ดังนี้ - นำเห็ดมาแช่ในถังแช่ เพื่อทำเป็นแหนมเห็ด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ผลิตภัณฑ์การเกษตรที่แปรรูปแล้ว คือ แหนมเห็ด
    สามารถนำมาใช้เป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียน และจัดจำหน่ายให้กับผู้ปกครองและผู้สนใจทั่วไป

     

    79 69

    6. การเลี้ยงปลาดุกเพื่ออาหารกลางวัน

    วันที่ 15 กันยายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดซื้อพันธุ์ปลาดุก อาหารปลา และวัสดุที่ใช้ในการเลี้ยงปลาดุก 2.เตรียมบ่อปลา 3.ปล่อยพันธุ์ปลาลงบ่อ 4.ให้นักเรียนและครู ดูแลให้อาหารปลาดุก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.มีปลาดุกสำหรับเป็นอาหารกลางวันนักเรียน 2.สามารถนำปลาดุกไปแปรรูป

     

    80 69

    7. กิจกรรมซ่อมแซมปรับปรุงเพื่อส่งเสริมกิจกรรมสุขภาพเด็ก

    วันที่ 15 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

      1  เสนอโครงการ 2  ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน 3  จัดหางบประมาณ 4  ดำเนินงาน 5  สรุปและประเมินผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1  เด็กมีอุปกรณ์เครื่องเล่นเหมาะสมตามวัย 2  บริเวณสนามเด็กเล่นมีความปลอดภัย มีอาณาเขตชัดเจน 3  เด็กมีความสุข ได้รับการเพิ่มพลังสมองจากการเคลื่อนไหว มีพัฒนาการทุกด้านเหมาะสมตามวัย 4 ทำให้มีวัสดุอุปกรณ์เครื่องเล่นที่เสริมสร้างพัฒนาการทางด้านร่างกาย  จิตใจ  อารมณ์  สังคม
    และสติปัญญา ของเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านบะคอม 5 เป็นสถานที่ออกกำลังกายในรูปแบบหนึ่งของเด็กทำให้มีสุขภาพพลานามัยแข็งแรงสมบูรณ์เติบโตเป็น
    ผู้ใหญ่ที่ดีมีคุณภาพ

     

    4 47

    8. จัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1

    วันที่ 21 ตุลาคม 2016 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสงวดที่๑ และงวดที่๒

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    บุคลากรสามารถจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสงวดที่๑และงวดที่๒และปิดโครงการได้อย่างครบถ้วน สมบูรณ์

     

    2 2

    9. ธนาคารขยะ

    วันที่ 31 ตุลาคม 2016 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ก็บขยะ คัดแยกขยะใส่ วัสดุที่เตรียมไว้ใส่ขยะโดยเฉพาะ เป็นการฝึกวินัยเด็กในการรับผิดชอบ ไปด้วย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ก็บขยะ คัดแยกขยะใส่ วัสดุที่เตรียมไว้ใส่ขยะโดยเฉพาะ เป็นการฝึกวินัยเด็กในการรับผิดชอบ ไปด้วย

     

    100 87

    10. จัดอบรมให้กับครู นักเรียนในตำบลนาเวียงจำนวน 4 โรงเรียน

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนสารอาารและการพัฒนาภาวะโภชนาการและสุขภาพในยะยะยาวและทำการพัฒนาเป็นโรงเรียนต้นแบบเด็กไทนยแก้มใสเป็นแหล่งเรียนรู้โดยตรงโดยยยึดหลัก 8 อง๕ืประกอบ 1. การเกษตราในโรงเรียน  2. สหกรณ์นักเรียน  3.การบริหารจัดการในโณงเรียน  4.กาติตามภาวะโภชนาำการ  5.การพัมฯาสุขนิสัยนักเรียน  6.การพัมฯาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ  7.การจัดบนริการสุขภาพและอนามัย  8.การขจัดการเรียนรู้  เกษตร  โภชนาการ  และสุขภาพอนามัย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.เสริมสร้างเครือข่ายความร่้วมมือระหว่างชุมชนและหน่วยงาน 2.เพื่อลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพอนามัยนักเรียนให้สุขภาพเข้มแข็งสมบูณณ์ปลอดภัย 3.เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสะอาดปลอดภัยมีบริโภคทุกวัน 4.เพื่อพัฒนาบริโภคอาหารที่พึงปรัสงค์ตามหลักโภชนาการและสุขนิสัยที่พึงปฏิบัติ 5.เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กัยเครือข่ายเด็กไทยแก้มใสทั้งระบบ

     

    100 136

    11. กิจกรรมซ่อมแซมปรับปรุงเพื่อส่งเสริมกิจกรรมสุขภาพเด็ก

    วันที่ 30 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เพื่อสร้างสนามเด็กเล่นที่ปลอดภัย เหมาะสมเป็นที่ยอมรับของชุมชนและผู้เกี่ยวข้อง
      2.  เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม  และสติปัญญาของเด็ก 3.  เพื่อพัฒนาพลังสมองของเด็กวัยเรียนในช่วงอายุ  4-12  ปี
    2. เพื่อให้เด็กมีสถานที่เป็นที่นันทนาการ และออกกำลังกายของเด็กนักเรียน มีความคิดสร้างสรรค์อัน เกิดจากการได้เล่น เมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่จะได้เป็นผู้ที่มีคุณภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีสุขภาพทางกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ร้อยละ 90
    2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักต่อการออกกำลังกาย ร้อยละ 90

     

    40 63

    12. โครงการกิจกรรมซ่อมแซมปรับปรุงเพื่อสงเสริมสุขภาพเด็ก

    วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

      1  เสนอโครงการ 2  ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน 3  จัดหางบประมาณ 4  ดำเนินงาน   5  สรุปและประเมินผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1  เด็กมีอุปกรณ์เครื่องเล่นเหมาะสมตามวัย 2  บริเวณสนามเด็กเล่นมีความปลอดภัย มีอาณาเขตชัดเจน 3  เด็กมีความสุข ได้รับการเพิ่มพลังสมองจากการเคลื่อนไหว มีพัฒนาการทุกด้านเหมาะสมตามวัย 4 ทำให้มีวัสดุอุปกรณ์เครื่องเล่นที่เสริมสร้างพัฒนาการทางด้านร่างกาย  จิตใจ  อารมณ์  สังคม
    และสติปัญญา ของเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านบะคอม 5 เป็นสถานที่ออกกำลังกายในรูปแบบหนึ่งของเด็กทำให้มีสุขภาพพลานามัยแข็งแรงสมบูรณ์เติบโตเป็น
    ผู้ใหญ่ที่ดีมีคุณภาพ

     

    80 78

    13. ถอนเงินดอกเบี้ยโครงการ

    วันที่ 21 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    2 26

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสร้างความตระหนักและภารกิจหน้าที่เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียนชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใสทั้งระบบ
    ตัวชี้วัด : จำนวนกิจกรรมที่มีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียนชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใสทั้งระบบเพิ่มขึ้น 40%

     

    2 เพื่อลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพนักเรียนและกำหนดแนวทางในการจัดเพื่อส่งเสริมสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด : 1.ภาวะอ้วนผอมเตี้ยไม่เกิน 7% 2. เด็กมีการปรับพฤติกรรมการกินโดยผักและผลไม้เฉลี่ยในมื้อกลางวัน 3. มีการนำโปรแกรมThai school lunch มาใช้ในการกำหนดเมนูอาหารกลางวัน 4.มีกระบาวนการติดตามประเมินสุขภาพของนักเรียน

     

    3 เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสะอาดปลอดภัยบริโภคทุกวัน ตลอดปีการศึกษาและเพื่อพัฒนาการบริโภคอาหารที่พึงประสงค์ตามหลักโภชนาการและสุขนิสัยที่พึงปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร
    ตัวชี้วัด : โรงเรียนมีการจัดบริการอาหารกลางวันเพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสะอาดปลอดภัยทุกวัน ตลอดปีการศึกษาเพื่อการบริโภคอาหารที่พึงประสงค์ตามหลักโภชนาการและสุขนิสัยตามหลักสุขาภิบาลอาหาร

     

    4 เพื่อขยายเครือข่ายสู่โรงเรียนในตำบล ทั้ง 4 โรงเรียนและเป็นแหล่งเรียนรู้กับโรงเรียนอื่นๆ
    ตัวชี้วัด : 1.โรงเรียนมีรูปแบบ กระบวนการทำงานที่สามารถถ่ายทอดได้ 2.จำนวนโรงเรียนในตำบล ทั้ง 4 โรงเรียน ได้เรียนรู้โครงการเด็กไทยแก้มใส

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความตระหนักและภารกิจหน้าที่เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียนชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใสทั้งระบบ (2) เพื่อลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพนักเรียนและกำหนดแนวทางในการจัดเพื่อส่งเสริมสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสะอาดปลอดภัยบริโภคทุกวัน ตลอดปีการศึกษาและเพื่อพัฒนาการบริโภคอาหารที่พึงประสงค์ตามหลักโภชนาการและสุขนิสัยที่พึงปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร (4) เพื่อขยายเครือข่ายสู่โรงเรียนในตำบล ทั้ง 4 โรงเรียนและเป็นแหล่งเรียนรู้กับโรงเรียนอื่นๆ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

    ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านบะคอม

    รหัสโครงการ ศรร.1311-077 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.31 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

    วันที่เริ่มประเมิน

    1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    (ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    1. การเกษตรในโรงเรียน
    1. ปลูกผักกางมุ้ง
    2. กลยุทธ์ให้อาหารปลาดุกช่วงแดดจ้า
    3. บ้านเห็ด
    1. ทำโรงเรือนยกพื้นปลูกผัก ได้แก่ ผักกาดเขียวปลี ผักบุ้ง ผักคะน้า ผักสลัด และมะเขือ ซึ่งเป็นผักที่มีแมลง เพลี้ย มากัดกิน ทำให้ต้องพึ่งยาฆ่าแมลง ทางโรงเรียนจึงทดลองใช้วิธีปลูกผักกลางมุ้ง ผลพบว่า สามารถป้องกันแมลงศัตรูพืชได้ โดยไม่ต้องใช้ยาฆ่าแมลง เป็นผักปลอดสารพิษ
    2. การให้อาหารช่วงแดดจ้า (รอบเดียว) จะทำให้ปลากินอาหารได้เร็วกว่าปกติ ทำให้ประหยัดอาหารปลาที่เดิมต้องให้วันละ 2 รอบ คือ เช้าเย็น และสามารถจับปลาไปขายได้เร็วขึ้น เพราะปลาโตเร็ว
    3. นำถังน้ำเก่ามาทำบ้านเห็ด
    • ทางโรงเรียนจะดำเนินโครงการนี้ต่อเนื่อง ในเรื่องผักกางมุ้ง และปลาดุก ให้ยั่งยืน โดยจะขอรับการสนับสนุนงบประมาณดำเนินการจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    2. สหกรณ์นักเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

    ผู้ปกครองนักเรียนเปลียนเวรกันมาประกอบอาหารกลางวัน ด้วยจิตอาสา

    ประชุมผู้ปกครอง เสนอรายชื่อแต่งตั้งเป็นกลุ่มที่มสมัครใจมาช่วยทำอาหารกลางวัน โดยไม่มีค่าตอบแทน

    จัดทำปฏิทินเวรประจำวันประกอบอาหาร ร่วมกับครูในโรงเรียน โดยครูมีบทบาทเป็นที่ปรึกษา

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

    ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เพื่อเฝ้าระวังกลุ่มเด็กเสี่ยง

    ทีมสภานักเรียนจัดการติดตาม โดยวิธีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เพื่อเฝ้าระวังกลุ่มเด็กเสี่ยง

    ทางโรงเรียนจัดกิจกรรมติดตามเฝ้าระวังเด็กเสี่ยง ด้วยการเยี่ยมบ้าน ปรึกษาแพทย์ที่ รพ.สต. และส่งเสริมการออกกำลังกายและการกิน

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

    ทางโรงเรียนใช้ระบบกลุ่มพัฒนาคุณภาพทั้งระบบ

    ใช้กลไกนักเรียนในการแบ่งกลุ่มออกเป็น 7 กลุ่ม ดูแลวินัย และคุณธรรม ความประพฤติของนักเรียนในโรงเรียน และที่บ้าน ผลที่เกิดขึ้น ทำให้นักเรียนมีวินัย มีความประพฤติดีขึ้น

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    9. อื่น ๆ

     

     

     

    2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

    1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

    1. ผู้ปกครองนักเรียนเข้ามาร่วมพัฒนาในโรงเรียนทั้งระบบในฐานะโรงเรียนเป็นของชุมชน
    2. คณะกรรมการสถานศึกษา เข้ามาส่งเสริมการพัฒนาร่วมกัน
    3. คณะครูในโรงเรียน

    2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

    • โรงเรียนอยู่ห่างจากชุมชน ไม่มีมลพิษรบกวน ส่งผลให้การทำเกษตรในโรงเรียนมีคุณภาพดี

    3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

    1. บุคลากรคณะครูมีความเข้มแข็ง เสียสละ อดทน ในการทำงาน มีการประชุมติดตามผลการทำโครงการเทอมละ 1 ครั้ง

    4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

    • เกิดการเรียนรู้เรื่องการบริหารจัดการโครงการเด็กไทยแก้มใส เรียนรู้การจัดการเด็กในกลุ่มเป้าหมาย เรียนรู้เรื่องการทำงานเป็นทีมระหว่างครู ผู้ปกครองและนักเรียน

    5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

    • เกิดการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการอาหารของโรงเรียนด้วยการแบ่งเวรกันทำอาหารกลางวัน
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

    เนื้อที่ในการทำเกษตรมีขนาดเล็ก ผลผลิตที่ได้จะให้เด็กนักเรียนนำกลับไปทำอาหารที่บ้าน

    • แปลงเกษตรในเรียนเรียน
    • รายงานกิจกรรมในโครงการ

    ทำข้อตกลงกับชุมชนให้ปลูกผักปลอดสารพิษมาขายให้กับโรงเรียน เพื่อให้มีผักที่เพียงพอในมื้อกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

    ไข่ไก่ที่เลี้ยงนำมาทำเป็นอาหารในมื้อกลางวันได้เพียงพอ

    ปริมาณไข่ไก่ในแต่ละมื้อ และรูปภาพการรายงานกิจกรรม

    มีแนวคิดจะพัฒนาอาหารไก่ไข่ โดยใช้วัตถุดิบจากเศษผักที่เหลือหลังการเก็บเกี่ยว แทนการซื้ออาหาร

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

    เลี้ยงปลาดุกในโรงเรียน

    ภาพกิจกรรมการจำหน่ายปลาดุก

    ขยายองค์ความรู้การเลี้ยงปลาดุกสู่ชุมชน โดยผ่านนักเรียนสู่ผู้ปกครอง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

     

     

     

    5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม
    • ในทุกมื้อของอาหารกลางวันจะมีเมนูผัก เช่น แกงอ่อม ผัดผัก น้ำพริก ผักเหนาะ เป็นต้น โดยเน้นผักพื้นบ้านที่ปลูกในชน
    • มีผลไม้ตามฤดูกาลเสริมให้นักเรียนทานหลังมือ้อาหารกลางวัน
    • ข้อมูลเมนูอาหารในโปรแกรม Thai School Lunch

    ทำข้อตกลงกับชุมชนให้ปลูกผักปลอดสารพิษมาขายให้กับโรงเรียน เพื่อให้มีผักที่เพียงพอในมื้อกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม
    • ในทุกมื้อของอาหารกลางวันจะมีเมนูผัก เช่น แกงอ่อม ผัดผัก น้ำพริก ผักเหนาะ เป็นต้น โดยเน้นผักพื้นบ้านที่ปลูกในชน
    • มีผลไม้ตามฤดูกาลเสริมให้นักเรียนทานหลังมือ้อาหารกลางวัน
    • ข้อมูลเมนูอาหารในโปรแกรม Thai School Lunch

    ทำข้อตกลงกับชุมชนให้ปลูกผักปลอดสารพิษมาขายให้กับโรงเรียน เพื่อให้มีผักที่เพียงพอในมื้อกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน
    • ทางโรงเรียนรับซื้อผักจากชาวบ้านในชุมชน เป็นผักปลอดสารพิษ จำนวน 3 ราย เพื่อนำมาทำอาหารกลางวัน
    • ปศุสัตว์จังหวัดมาให้ความรู้เรื่องการเฝ้าระวังโรคในไก่ฟักไข่
    • มีเอกสารจัดซื้อวัตถุดิบอาหารจากชาวบ้านในชุมชน
    • รูปภาพการทำกิจกรรม

    ทำข้อตกลงกับชุมชนให้ปลูกผักปลอดสารพิษมาขายให้กับโรงเรียน เพื่อให้มีผักที่เพียงพอในมื้อกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่
    • การใช้โปรแกรมยังทำได้ไม่สมบูรณ์เต็มที่ เนื่องจากมีข้อจำกัดในการใช้โปรแกรม

    เมนูอาหารกลางวันที่ทำในโรงเรียน

    ประยุกต์เมนูอาหารพื้นบ้านในโปรแกรม Thai School Lunch ให้ได้รับสารอาหารที่เท่ากัน เพื่อให้สะดวกกับการหาวัตถุดิบที่มีในหมู่บ้าน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

     

     

     

    3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

    สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

    ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/1
    เตี้ย 2.04 2.04% 2.08 2.08% 4.76 4.76% 2.08 2.08% 2.44 2.44% 6.25 6.25% 2.44 2.44% 4.76 4.76% 2.33 2.33% 2.38 2.38% 2.38 2.38%
    เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 2.04 2.04% 2.08 2.08% 4.76 4.76% 2.08 2.08% 12.20 12.20% 25.00 25.00% 4.88 4.88% 7.14 7.14% 2.33 2.33% 2.38 2.38% 2.38 2.38%
    ผอม 6.12 6.12% 6.25 6.25% 7.14 7.14% 6.25 6.25% 2.44 2.44% 2.44 2.44% 2.44 2.44% 4.76 4.76% 2.33 2.33% 2.33 2.33% 2.38 2.38%
    ผอม+ค่อนข้างผอม 18.37 18.37% 16.67 16.67% 7.14 7.14% 8.33 8.33% 7.32 7.32% 2.44 2.44% 2.44 2.44% 9.52 9.52% 2.33 2.33% 2.33 2.33% 2.38 2.38%
    อ้วน 2.04 2.04% 2.08 2.08% 2.38 2.38% 4.17 4.17% 2.44 2.44% 2.44 2.44% 2.44 2.44% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00%
    เริ่มอ้วน+อ้วน 6.12% 6.12% 4.17% 4.17% 2.38% 2.38% 4.17% 4.17% 2.44% 2.44% 4.88% 4.88% 4.88% 4.88% 4.76% 4.76% 0.00% 0.00% 0.00% 0.00% 0.00% 0.00%
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง
    • ปี 2558 ภาวะเริมอ้นนและอ้วนของเด็กลดลงตามกราฟ แต่เพิ่มขึ้นในช่วงปิดเทอม
    • ปี 2559 ภาวะเริ่มอ้วน เพิ่มขึ้นเป็นอ้วนไม่ลดลงกระทั่งปิดเทอม เนื่องจากเด็กย่างเข้าสู่วัยรุ่น มีการกินเยอะ

    กราฟและข้อมูลสถานการณ์

    ให้ความรู้ในกลุ่มเด็กเริ่มอ้วน และอ้วน โดยทำกิจกรรมให้มีการออกกำลังกายมากกว่ากลุ่มเด็กทั่วไป รวมทั้งการควบคุมอาหารร่วมกับผู้ปกครองในเด็กกลุ่มนี้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง
    • ปี 2558 ภาวะคอนข้างผอมและผอมลดลงอย่างมาก แต่กลับเพิ่มขึ้นในช่วงเทอม 2
    • ปี 2559 ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลงอย่างมากเช่นกัน แต่กลับเพิ่มขึ้นมากในช่วงเทอม 2 ของปิดภาคเรียน
    • สาเหตุเนื่องจากสภาพทางครอบครัวของนักเรียน

    กราฟและข้อมูลสถานการณ์

    จัดกิจกรรมเยี่ยมผ้ปกครองที่บ้าน เพื่อหาแนวทางการแก้ไขร่วมกัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

    จากกราฟที่แสดง พบว่า ภาวะเตี้ยและเตี้ย มีทั้งเพิ่มขึ้นและลดลง ในปี 2558 และ 2559 เนื่องจากคนที่เตี้ยจะเริ่มสูงขึ้น ในขณะที่คนที่ค่อนข้างเตี้ยจะไม่เพิ่มความสูง ความสูงคงที่ ทำให้กราฟที่แสดงผลมีระดับเพิ่มและลดลง

    กราฟแสดงสถานการณ์

    เพิ่มอาหารเสริมความสูง โดยประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

    มีข้อมูลบันทึกระเบียนภาวะทางโภชนาการของนักเรียนแต่ละคน และได้ทำการเรียกเด็กที่เกี่ยวข้องพบและให้คำปรึกษา พร้อมกับแจ้งข้อมูลให้ผู้ปกครองรับทราบ

    ระเบียนภาวะทางโภชนาการของนักเรียนแต่ละคน

    ประชุมร่วมกับผู้ปกครองหาแนวทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร
    • การทำเมนูอาหารกลางวันโดยใช้ระบบเวร
    • การแก้ไขปัญหาเด็กอ้วน ผอม เตี้ย
    • การปลูกผักในชุมชนแล้วนำมาประกอบอาหารกลางวัน

    รายงานกิจกรรมในโครงการ

    ทำข้อตกลงกับชุมชนให้ปลูกผักปลอดสารพิษมาขายให้กับโรงเรียน เพื่อให้มีผักที่เพียงพอในมื้อกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

    1. ผู้ปกครองนักเรียนเข้ามาร่วมพัฒนาในโรงเรียนทั้งระบบในฐานะโรงเรียนเป็นของชุมชน
    2. คณะกรรมการสถานศึกษา เข้ามาส่งเสริมการพัฒนาร่วมกัน
    3. คณะครูในโรงเรียน

    หมายเหตุ *

    • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    โรงเรียนบ้านบะคอม จังหวัด ยโสธร

    รหัสโครงการ ศรร.1311-077

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสมศักดิ์สมสะอาด )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด