ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ

รหัสโครงการ ศรร.1312-058 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.12 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน
  1. อุโมงค์เรียนรู้เกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
  2. การปลูกพืชไร้ดิน

1.รายละเอียดกิจกรรมอุโมงค์เรียนรู้เกษตรเพื่ออาหารกลางวัน - นำไม้ไผ่มาสานเป็นอุโมงค์ จำนวน 2 อุโมงค์ - ปลูกผักไม้เลื้อย เช่น บวบ
- ครูให้ความรู้ เรื่องการปลูก การดูแลรักษา แะแบ่งให้นักเรียนรับผิดชอบดูแล - นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีความสุขในการทำ หลักฐาน ภาพถ่ายกิจกรรม 2. รายละเอียดกิจกรรมการปลูกผักไร้ดิน - ทำรางโดยใช้ท่อพีวีซี เพื่อลำเลียงน้ำและแร่ธาตุ - นำพืชมาปลูก ตามรางข้างต้น โดยนักเรียนเป็นผู้ดำเนินการ ครูผู้รับผิดชอบแนะนำ - จุดเด่น นักเรียนให้ความสนใจเป็นอย่างมาก เพราะเป็นนวัตกรรมใหม่ ซึ่งเป็นการปลูกพืชที่ไม่ต้องใช้ดิน และไม่ใช้น้ำเยอะ ได้ผลิตเร็วและเยอะ

ขยายผลต่อผู้ปกครองและชุมชน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

1.กิจกรรมสหกรณ์ร่วมมือร่วมใจ แก้มใสบริการ

1.รายละเอียดกิจกรรม - รับซื้อผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียนเข้าสู่ระบบสหกรณ์ - นำผลผลิตออกจำหน่ายตลาดชุมชนทุกวันพฤหัสบดี จุดเด่น
- นักเรียนได้เรียนรู้ระบบบัญชีรายรับ รายจ่ายของสหกรณ์ - นักเรียนได้เรียนรู้มิติของการตลาดในการจัดหาสิ่งของมาขาย

นักเรียนแกนนำ ให้ความรู้ระบบบัญชีรายรับ รายจ่ายของสหกรณ์แก่โรงเรียนเครือข่าย

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

1.อาหารปลอดภัย แก้มใสเริงร่า

รายละเอียดของกิจกรรม 1. นำผลผลิตของโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันมาใช้เป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหาร
2. โดยนำโปรแกรม Thai school lunch มาช่วยในการกำหนดเมนูอาหาร 3. ประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียนอย่างเพียงพอ จุดเด่น - ชุมชนนำผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดสารพิษมาประกอบอาหาร - นักเรียนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย เพียงพอและเหมาะสม

ให้ความรู้เกี่ยวกับโปรแกรมThai school lunch แก่โรงเรียนเครือข่าย

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

1.กิจกรรมแปรงฟันหลังอาหาร

รายละเอียดของกิจกรรม - นักเรียนรับประทานอาหารกลางวัน 11.30-12.20 น. - หลังจางจากรับทานอาหารเสร็จ นักเรียนทุกคนแปรงฟันพร้อมกัน 12.20-12.30 น. โดยมีครูที่ปรึกษาควบคุมดูแล

จัดกิจกรรมประกวดฟันสวย

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

1.กิจกรรมตาวิเศษ

รายละเอียดกิจกรรม 1. กำหนดบริเวณที่นักเรียนเก็บขยะ - บ่อทราย - สนามนอกอาคารทั้ง 2 ด้าน - ภายในอาคารเรียน 2. กำหนดเวลาเก็บขยะ -ประเมินกิจกรรมหน้าเสาธงเวลา 08.30 – 08.35 น. 3. ประเมินผลการจัดกิจกรรมส่งสรุปรายงานทุกเดือน สิงที่ได้รับ 1. นักเรียนมีวินัย มีความรับผิดชอบ ปฏิบัติตามข้อตกลงร่วมกัน 2.นักเรียนรู้จักใช้และรักษาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

ให้นักเรียนรู้จักแยกขยะเพื่อทำให้เกิดรายได้

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

กิจกรรมการเต้นแอโรบิกทุกวันศุกร์

รายละเอียดกิจกรรม - ทุกวันศุกร์ เวลา 15.00 - 15.30 น. นักเรียนทุกคนรวมกันที่สนามฟุตบอล - นักเรียนแกนนำนำนักเรียนเต้นแอโรบิก จุดเด่น - นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่ดีขึ้น

เชิญชวนผู้ปกครอง ชุมชน มาร่วมกิจกรรม

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

1.กิจกรรมเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

รายละเอียดของกิจกรรม -1.ประชุมแบ่งกลุ่มผู้ปกครองนักเรียนและนักเรียนตามความสนใจและความถนัด โดยแบ่งเป็น 5 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 การเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ 2.การปลูกพืชหมุนเวียนตามฤดูกาล 3.การปลูกเห็ดนางฟ้า 4.การเลี้ยงปลาในบ่อดิน 5.การปลูกกล้วยน้ำว้าและกล้วยหอมทอง 2.นำวิทยากรท้องถิ่นที่มีความเชี่ยวชาญทางการเกษตรด้านต่างๆมาให้ความรู้ ขั้นตอน วิธีการและการดูแลรักษา มาให้ความรู้ให้กับผู้ปกครองนักเรียน ครู และผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ 3.ผู้ปกครองและนักเรียนที่แบ่งกลุ่มเรียบร้อยแล้ว ลงมือปฏิบัติกิจกรรม 4.ผู้ปกครองและนักเรียน ช่วยกันดูแลจนสามารถบริโภคและจำหน่ายได้ 5.ผลผลิตที่ได้จากแต่ละกิจกรรม นำส่งที่สหกรณ์ แล้วส่งต่อที่โครงการอาหารกลางวัน เพื่อทำอาหารที่ปลอดภัยและมีประโยชน์ต่อนักเรียน ทำให้นักเรียนมีสุขภาพที่ดี

นำผลผลิตที่เหลือจากการส่งให้โครงการอาหารกลางวัน มาขายต่อที่ตลาดนัดชุมชน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ
  1. การจัดทำไข่ม้วนไข่กระทะ

ลักษณะโครงการ - เป็นการร่วมมือระหว่างนักเรียน โรงเรียน ครู นำผลผลิตที่มีที่บ้าน(ผัก) เพื่อมาเป็นส่วนประกอบของไข่ม้วน ไข่กระทะ
จุดเด่น 1. เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เด็กกินผัก
2. ส่งเสริมทักษะอาชีพ การหารายได้ระหว่างเรียน

นอกจากการทำไข่ม้วนไข่กระทะ ยังนำผลิตภัณฑ์ไข่มาทำอาหารประเภทอื่น เช่น ไข่เค็มสมุนไพร

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

ชุมชน ผู้ปกครอง นักเรียน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น รพ.สต.

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำเนินกิจกรรมต่างๆ เช่น กิจกรรมทางด้านเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน มีน้ำอย่างเพียงพอ มีดินที่เหมาะแก่การเพาะปลูก ทำให้ได้ผลผลิตเพียงพอต่อความต้องการและมีคุณภาพ

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

โรงเรียนได้มีการวางแผนประสานงานกับภาคีเครือข่าย เช่น ผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน และหน่วยงานอื่นๆ เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

ครูมีการอบรมการดำเนินการเพื่อมาขยายผลสู่นักเรียนและแม่ครัว

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ประชุม ชี้แจง การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชนเพื่อปรับปรุงและพัฒนาโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

 

 

 

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/1
เตี้ย 7.36 7.36% 3.30 3.30% 2.75 2.75% 2.75 2.75% 2.20 2.20% 10.18 10.18%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 15.95 15.95% 3.30 3.30% 9.89 9.89% 9.89 9.89% 14.29 14.29% 15.57 15.57%
ผอม 3.68 3.68% 12.09 12.09% 10.44 10.44% 5.49 5.49% 3.30 3.30% 9.58 9.58%
ผอม+ค่อนข้างผอม 9.20 9.20% 23.08 23.08% 23.63 23.63% 21.43 21.43% 14.84 14.84% 22.75 22.75%
อ้วน 0.61 0.61% 0.55 0.55% 0.55 0.55% 0.55 0.55% 0.55 0.55% 0.60 0.60%
เริ่มอ้วน+อ้วน 4.29% 4.29% 1.65% 1.65% 2.20% 2.20% 3.30% 3.30% 2.75% 2.75% 3.59% 3.59%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

ชุมชน ผู้ปกครอง นักเรียน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น รพ.สต.

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh