แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านจอมพระ


“ โรงเรียนบ้านจอมพระ ”

หมู่ที่ 4 ตำบลจอมพระ อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์

หัวหน้าโครงการ
นายสมชาย จารุวงศ์

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านจอมพระ

ที่อยู่ หมู่ที่ 4 ตำบลจอมพระ อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์ จังหวัด สุรินทร์

รหัสโครงการ ศรร.1313-070 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.24

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านจอมพระ จังหวัดสุรินทร์" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 4 ตำบลจอมพระ อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านจอมพระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านจอมพระ



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านจอมพระ " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 4 ตำบลจอมพระ อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์ รหัสโครงการ ศรร.1313-070 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านจอมพระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 549 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ

สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น

จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านจอมพระ จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมและสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียน ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงานอื่นในการสนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใส
  2. 2.เพื่อส่งเสริมปัจจัยในการผลิตทางด้านการเกษตร ปศุสัตว์ และประมง ทั้งในและนอกโรงเรียน สู่โครงการอาหารกลางวันของโรงเรียนอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน
  3. 3. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะด้านการเกษตรและสหกรณ์
  4. 4. เพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียนและการจัดการอาหารสำหรับนักเรียน
  5. 5. เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อม อาคารสถานที่ ให้ถูกสุขลักษณะ และปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.โรงเรียนมีผลผลิตทางการเกษตรที่มีคุณภาพและมีการนำผลผลิตขายผ่านสหกรณ์ให้กับกิจกรรมอาหารกลางวัน

    2.นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาสุขนิสัยที่ดีและสามารถติดตามประเมินผลด้วยตนเองได้
    3.โรงเรียนมีการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมและเพียงพอกับนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน
    4.นักเรียนสามารถดำเนินงานกิจกรรมสหกรณ์และสามารถจัดทำบัญชีการค้าขายได้
    5.โรงเรียนสามารถร่วมกับครู นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน พัฒนาสู่โรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส และควบคุมป้องกันภาวะอ้วนผอมเตี้ย และฟันผุในนักเรียนได้ตามเป้าหมาย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมอบรม สร้างความเข้าใจและจัดทำแผนปฏิบัติการ

    วันที่ 2 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดกิจกรรมประชุมครูผู้ปกครองนักเรียนร่วมประกาศนโยบายศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส โดยผู้อำนวยการชี้แจงรายละเอียด ถึงหลักการ ในการจัดทำแผนปฏิบัติงาน
    2. ที่รับผิดชอบโครงการเป็นวิทยากรร่วมให้ความรู้กับคณะครู นักเรียน ที่เป็นโรงเรียนในเครือข่าย
    3. คณะครูที่เข้าร่วมอบรบจัดทำแผนปฏิบัติงานร่วมกันอภิปราย วิพากษ์ ถึงกิจกรรมที่อยู่ในแผน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ครูผู้ปกครองนักเรียน  และนักเรียนมีความเข้าใจในนโยบายและแนวปฏิบัติการดำเนินโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสมากขึ้น
    2. ครูที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจในแผนปฏิบัติงานตามโครงการเด็กไทยแก้มใส
    3. คณะครูที่เข้ารับการฝึกอบรมเข้าใจและสามารถจัดทำแผนปฏิบัติงานตามโครงการเด็กไทยแก้มใส

     

    50 50

    2. กิจกรรม ประชุมครูอาหารกลางวันและครูอนามัยในเครือข่ายจอมพระ 2

    วันที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมครูอาหารกลางวันและครูอนามัยในเครือข่ายจอมพระ 2
    2. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกลุ่มเครือข่ายของการดำเนินโครงการศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ตัวแทนครูที่รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวัน เข้าใจการดำเนินกิจกรรมในโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
    2. ครูอนามัยในเครือข่ายจอมพระ 2 เข้าใจการดำเนินกิจกรรมและสามารถเผยแพร่ให้กับ ครู นักเรียน ชุมชน เข้าใจถึงการดำเนินงานตามกิจกรรมเด็กไทยแก้มใสได้

     

    20 20

    3. กิจกรรมเลี้ยงกบในกระชัง

    วันที่ 26 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.โรงเรียนจัดพื้นที่สำหรับเลี้ยงกบในกระชัง จำนวน 2,000 ตัว 2.โรงเรียนจัดหาพันธุ์กบสำหรับให้นักเรียนได้ดูแลและสามารถเพาะพันธุ์กบได้ 3.โรงเรียนจัดทำกระชังในการเลี้ยงกบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีความรู้และมีทักษะในการเลี้ยงกบในกระชังเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวันและถ่ายทอดให้กับนักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน เข้าใจได้
    2. โรงเรียนมีพันธุ์กบในการเลี้ยงและเพื่อประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียน
    3. นักเรียนรู้จักการจัดทำกระชังใช้ในการเลี้ยงกบเองได้

     

    549 140

    4. กิจกรรมปลูกผักสวนครัว

    วันที่ 20 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.โรงเรียนจัดพื้นที่ปลูกผักสวนครัวสำหรับนักเรียนและผู้ปกครอง 2.โรงเรียนจัดหาเมล็ดพันธุ์ผัก เช่น  แตงกวา  บวบ ถั่ว ฟักทอง  สำหรับให้นักเรียนปลูก 3.โรงเรียนจัดทำระบบน้ำ  อำนวยความสะดวกแก่นักเรียนในการรดน้ำ ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้ 1.นักเรียน มีทักษะในการปลูกและดูแลผักสวนครัว 2.ผักสวนครัวเพื่อประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียนหมุนเวียน 1 สัปดาห์ 3.มีผลผลิต หมุนเวียนสลับกัน เพื่อประกอบอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีทักษะในการปลูกผักและดูแลผักสวนครัว
    2. โรงเรียนมีผักสวนครัวเพื่อประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียน
    3. โรงเรียนมีแผนการผลิตพืชผักที่สอดคล้องกับรายการอาหารกลางวันนนักเรียน
    4. นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และเพียงพอต่อความต้องการ

     

    549 767

    5. กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน

    วันที่ 20 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.คณะกรรมการสหกรณ์ดำเนินกิจกรรมของกลุ่มต่อเนื่องตลอดปีการศึกษา 2.มีสมาชิกซึ่งประกอบด้วยนักเรียน  และครู  บุคลากรในโรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. มีคณะกรรมการสหกรณ์ดำเนินกิจกรรมของกลุ่มต่อเนื่องตลอดปีการศึกษา
    2. มีสมาชิกซึ่งประกอบด้วยนักเรียนและครูบุคลากรในโรงเรียน
    3. มีการประชุมคณะกรรมการเพื่อปรับปรุงพัฒนาสหกรณ์นักเรียน

     

    549 717

    6. กิจกรรมเลี้ยงไก่ไข่

    วันที่ 20 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.โรงเรียนจัดพื้นที่เลี้ยงไก่ไข่สำหรับนักเรียน 2.โรงเรียนจัดหาพันธุ์ไก่สำหรับให้นักเรียนดูแล จำนวน 24 ตัว และรวมกับไก่ชุดเดิม รวม 150 ตัว 3.โรงเรือนจัดทำโรงเรือนสำหรับเลี้ยงไก่ไข่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีไข่ไก่เพื่อประกอบอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน
    2. ผลผลิตสามารถเข้าสู่ชุมชนโดยผ่านสหกรณ์
    3. นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และเพียงพอต่อความต้องการ
    4. มีรายได้หมุนเวียนในโรงเรียน
    5. นักเรียนมีความรู้และได้ฝึกทักษะอาชีพด้านการเลี้ยงไก่ไข่

     

    549 747

    7. กิจกรรมส่งเสริมคุณภาพอาหารว่างและกลางวัน

    วันที่ 3 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    547 0

    8. กิจกรรมตรวจสุขภาพนักเรียน

    วันที่ 3 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    547 0

    9. กิจกรรมเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกายนักเรียน

    วันที่ 3 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    0

     

    547 0

    10. จัดประชุม ฝึกอบรม แม่ครัว ผู้ปกครองและนักเรียนแกนนำ ด้านอาหารและโภชนาการ

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดประชุมฝึกอบรม แม่ครัว ผู้ปกครอง และแกนนำนักเรียน ด้านอาหารและโภชนาการ
    2. อบรม แม่ครัว ผู้ปกครอง และแกนนำนักเรียน มีความรู้ด้านอาหารและโภชนาการที่ถูกต้อง
    3. แม่ครัว ผู้ปกครอง และแกนนำนักเรียน ปฏิบัติขั้นตอนการเลือกซื้อวัสดุดิบในการปรุงอาหารท่ีถูกสุขลักษณะลักษณ์ได้ถูกต้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    output - แม่ครัว ผู้ปกครอง แกนนำนักเรียน และโรงเรียนในเครือข่ายจำนวน 120 คน มีความรู้ด้านอาหารและโภชนาการที่ถูกต้อง

    outcome - นักเรียนได้บริโภคอาหารตามมาตรฐานโภชนาการ ทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน

     

    25 25

    11. กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ครั้งที่ 2

    วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต (Output)

    • สหกรณ์นักเรียนที่จัดจำหน่ายอุปกรณ์การเรียน อาหารว่าง และเครื่องดื่มมีคุณภาพได้มาตรฐานตามหลักโภชนาการ
    • นักเรียนดำเนินกิจกรรมและจัดทำบัญชีต่างๆของ กิจกรรมสหกรณ์ได้

    ผลลัพธ์ (Outcome)

    • นักเรียนได้รับประทาน อาหารว่าง และเครื่องดื่มที่มีคุณภาพได้มาตรฐานตามหลักโภชนาการ
    • นักเรียนเข้าใจหลักการดำเนินงานของสหกรณ์ ฝึกความรอบคอบในการจัดทำบัญชี และฝึกอาชีพพื้นฐานการค้าขาย
    • นักเรียนได้เรียนรู้การทำงานเป็นกลุ่ม

     

    549 549

    12. กิจกรรมปลูกมะนาว

    วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้มะนาวเพื่อประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียนและการแปรรูปอาหาร
    • นักเรียนจัดทำการแปรรูปผลิตภัณฑ์ เพิ่มมูลค่าให้กับผลผลิตด้านการเกษตร และส่งเสริมสุขภาพ รวมทั้งสร้างนิสัยในการเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
    • นักเรียนได้รับอาหารที่มีประโยชน์และเพียงพอต่อความต้องการ
    • นักเรียนได้รับผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ ฝึกทักษะอาชีพและส่งเสริมสุขภาพ รวมทั้งสร้างนิสัยในการเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ

     

    549 549

    13. กิจกรรมธนาคารขยะ

    วันที่ 7 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ขั้นตอนที่ 1 คณะทำงาน หน้าที่ของคณะทำงาน •    ผู้จัดการธนาคาร รับผิดชอบดำเนินงาน ในภาพรวมของธนาคาร •    เจ้าหน้าที่จดบันทึก รับ ผิดชอบการจดบันทึกรายละเอียด เกี่ยวกับสมาชิก ได้แก่ ชื่อ-นามสกุล เลขที่ ประเภท และปริมาณวัสดุรีไซเคิล เพื่อส่งต่อให้เจ้าหน้าที่ •    เจ้าหน้าที่คัดแยก รับผิดชอบการคัดแยกขยะ และชั่งน้ำหนัก เพื่อจัดเก็บในสถานที่เก็บ •    เจ้าหน้าที่คิดเงิน รับผิดชอบการเทียบกับราคาที่กำหนด และคิดจำนวนเงินของสินค้า ที่สมาชิกนำมาฝาก พร้อมทั้งรับผิดชอบการฝาก - ถอนเงินของสมาชิก

    ขั้นตอนที่ 2 คณะทำงานมีการประชุม การสำรวจร้านรับซื้อของเก่าที่มีอยู่ในชุมชน ราคา ประเภทของขยะรีไซเคิลที่รับซื้อ - การประสานงานร้านรับซื้อของเก่า ให้เข้าร่วมโครงการธนาคารขยะรีไซเคิล
    - กำหนดระยะเวลาที่จะเข้ามารับซื้อ - การวางแผนกำหนดวัน เวลา เปิด ธนาคารขยะ

    ขั้นตอนที่ 3 การจัดเตรียมสถานที่เก็บรวมรวบ

    • ยึดหลักง่ายๆ โดยสามารถเก็บรวบรวมขยะได้ ป้องกันฝน
    • มีการคัดแยกขยะอย่างชัดเจน
    • แบ่งเป็น 4 ช่อง สำหรับจัดเก็บ กระดาษ โลหะ อโลหะ และพลาสติก
    • มีการติดป้ายราคาของขยะที่รับซื้อ
    • กรณีไม่มีสถานที่จัดเก็บรวบรวม ก็สามารถใช้วิธีการซื้อตอนเช้า และให้ร้านของเก่ามารับซื้อตอนเย็นได้

    ขั้นตอนที่ 4 การประชาสัมพันธ์ - การเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเพื่อให้เกิดความร่วมมือกันในโรงเรียน สามารถทำได้โดย - การประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย ของโรงเรียน - การประชาสัมพันธ์ ช่วงหลังเข้าแถวเคารพธงชาติ - การจักบอร์ดนิทรรศการ - การเดินบอกในแต่ละห้องเรียน - การแทรกในกิจกรรมของแต่ละรายวิชา เช่น วิชาการสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต สิ่งแวดล้อมศึกษา เป็นต้น

    ขั้นตอนที่ 5

    การเปิดธนาคารขยะรีไซเคิล รับสมัครสมาชิกของธนาคาร โดยให้ผู้ที่สนใจกรอกรายละเอียดใบสมัคร - เจ้าหน้าที่ธนาคารให้เลขที่สมาชิก พร้อมสมุดคู่ฝาก โดยธนาคารจะเป็นผู้เก็บรวบรวมสมุดคู่ฝากไว้ สมาชิกสามารถขอดูได้ในวันที่ธนาคารเปิดทำการ - เจ้าหน้าที่ธนาคารลงรายละเอียด สมาชิกในทะเบียนลูกค้า - เมื่อสมาชิกนำขยะรีไซเคิลมาฝาก ที่ธนาคาร เจ้าหน้าที่จะทำการคัดแยกประเภทและช่างน้ำหนัก - คิดเป็นจำนวนเงิน โดยเทียบกับใบราคาที่ได้มาจากร้านรับซื้อของเก่า ลงบันทึกในใบนำฝาก - เจ้าหน้าที่บันทึกรายละเอียด เลขที่สมาชิก ประเภทขยะรีไซเคิล จำนวนเงิน ลงในเอกสารใบสรุปการนำฝาก - บันทึกลงในสมุดคู่ฝาก เพื่อเก็บเป็นหลักฐานการฝากถอนของสมาชิก - ถ้าสมาชิกต้องการถอนเงิน ให้เขียนรายละเอียด ใบถอนเงินแล้วให้กับเจ้าหน้าที่ - ภายหลังเปิดธนาคารเสร็จสิ้น เจ้าหน้าที่ต้องทำการรวบรวมรายรับ รายจ่าย และทะเบียนคุมเจ้าหนี้ของธนาคารในแต่ละวัน เพื่อความสะดวกในการตรวจสอบ การลงค่าใช้จ่าย การซื้อ ขายขยะรีไซเคิล ลงในสมุดเงินสด เพื่อสามารถตรวจสอบการขาดทุน กำไร - ควรมีการสรุปการดำเนินงาน ในแต่ละเดือน และแจ้งแก่สมาชิกของธนาคาร โดยการจัดบอร์ดนิทรรศการ บริเวณที่ทำการ

    ขั้นตอนที่ 6 การติดตามประเมินผล - พิจารณาจากปริมาณขยะรีไซเคิลที่รวบรวมได้ - จำนวนสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรม - กำไรจากการซื้อขาย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต (Output) - นักเรียนมีการคัดแยกก่อนทิ้ง
    - โรงเรียนมีวิธีกำจัดขยะได้ถูกวิธี - นักเรียนนำวิธีการคัดแยกขยะไปใช้ในชุมชน
    ผลลัพธ์ (Outcome)
    - ลดมลภาวะในโรงเรียน- นักเรียนเห็นคุณค่าของขยะ - โรงเรียน และชุมชนปลอดขยะ

     

    549 549

    14. การตรวจรับรองคุณภาพน้ำและการปรับปรุงคุณภาพน้ำดื่ม

    วันที่ 17 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ๑ แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินตนเอง ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียน ครู เจ้าหน้าที่ประจำโรงพยาบาลหมู่บ้าน/ตำบล ผู้แทนคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เจ้าหน้าที่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หรือตามความเหมาะสม ๒ คณะกรรมการประเมินมาตรฐาน และเลือกมาตรฐานที่อยู่ในระดับที่ต้องการปรับปรุงมาวิเคราะห์สภาพปัญหา สาเหตุ แนวทางแก้ไข

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต (Output) -ปรับปรุงคุณภาพน้ำดื่มให้สะอาดและเพียงพอกับนักเรียน

    ผลลัพธ์ (Outcome) - นักเรียนและบุคลากรมีน้ำดื่มสะอาดไว้บริโภค

     

    547 549

    15. กิจกรรมศูนย์การเรียนรู้เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย

    วันที่ 17 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. กิจกรรมการปลูกผักสวนครัว,เลี้ยงไก่,เลี้ยงกบเลี้ยงปลาดุก ปลูกมะนาว,ปลูกกล้วย จัดทำแบบทดสอบความรู้ของนักเรียน
    2. จัดซื้อเมล็ดพันธุ์ผัก/ปุ๋ย/ดิน       - ดินผสม     - ปุ๋ยขี้วัว
          - เมล็ดพันธุ์ผัก     - ปุ๋ยยูเรีย
    3. จัดโปรแกรมอาหารหมุนเวียนรายเดือนด้วยโปรแกรม Thai School Lunch โดยนักเรียนมีส่วนร่วมในการคิดรายการอาหาร
    4. จัดให้มีการปรุง ประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาลอาหารและอาหารปลอดภัยโดยมีการจัดซื้อวัตถุดิบจากสหกรณ์โรงเรียนและภายในท้องถิ่นที่ปลอดภัยได้มาตรฐาน มีการตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร
    5. จัดกิจกรรมรู้ประมาณ รับประทานพออิ่ม มีการบริการตักเสิร์ฟอาหารให้นักเรียนในเวลา 11.30 – 12.45 น. โดยมีการตักในสัดส่วนที่เหมาะสมกับความต้องการและช่วงวัยของนักเรียน
    6. จัดอาหารว่างประเภทขนมที่มีส่วนประกอบจากอาหารอย่างน้อย 5 หมู่อาหาร และอาหารเสริมประเภทผลไม้ที่มีรสหวานตามเกณฑ์มาตรฐานโภชนาการ
    7. ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพทุกวันพุธ
        - แยกเด้กอ้วนและเด็กผอม   - จัดทำบาร์คู่ ,บาร์เดี่ยว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    Output - โรงเรียนจัดทำเอกสารประกอบการเรียนรู้ สำหรับให้นักเรียนได้เรียนรู้ เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย ได้ด้วยตนเอง
    - โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ด้าน เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย

    Outcome - นักเรียนมีความรู้ เจตคติ ทักษะ พฤติกรรมทางด้านการเกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการ และสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ที่พึงประสงค์ ในเรื่อง การปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ เพื่อการบริโภคและหรือขาย 

     

    549 549

    16. กิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้และจัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงาน

    วันที่ 17 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    Output - จัดนิทรรศการแสดงผลงานในโรงเรียน - จัดแหล่งเรียนรู้ย่อย ไว้ตามจุดต่างๆ ในโรงเรียน - จัดแสดงผลงานเมื่อสิ้นปีการศึกษา
    -โรงเรียนจัดทำเอกสารเผยแพร่ผลการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มให้กับโรงเรียนในเครือข่าย
    Outcome - ผู้ปกครองและชุมชน ทราบถึงผลการดำเนินโครงการเด็กไทยแก้มใส - ครู นักเรียนที่มาศึกษาดูงาน รับรู้ เข้าใจการปฏิบัติตามแนวทางการปฏิบัติโครงการเด็กไทยแก้มใส - โรงเรียนในเครือข่ายได้รับความรู้จากคู่มือการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใส

     

    549 549

    17. จัดกิจกรรมเยี่ยมครัวโรงเรียนและบ้าน

    วันที่ 21 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต ( Output ) - ครัวโรงเรียนที่เป็นศูนย์เรียนรู้และโรงเรียนในเครือข่ายได้รับการเยี่ยมเพื่อพัฒนา จำนวน
    ผลลัพธ์ (Outcome) -  ครัวโรงเรียนสามารถจัดเมนูอาหารกลางวันได้ตาม TSL
    -  มีแบบแผนการบริโภคอาหารที่พึงประสงค์ตามหลักโภชนาการและสุขนิสัยที่พึงปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร

     

    6 20

    18. กิจกรรมปลูกกล้วย

    วันที่ 23 มีนาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    2 618

    19. จัดทำรายงานปิดโครงการ งวด 2 พร้อมคืนดอกเบี้ย

    วันที่ 27 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    1 1

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อส่งเสริมและสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียน ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงานอื่นในการสนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใส
    ตัวชี้วัด : 1. ครู ผู้ปกครอง และชุมชนรับทราบแนวทางปฏิบัติของโครงการเด็กไทยแก้มใส 2. โรงเรียนมีเครือข่่ายความร่วมมือในการดำเนินโครงการเด็กไทยแก้มใส
    1. ครู ผู้ปกครอง และชุมชนรับทราบแนวทางปฏิบัติของโครงการเด็กไทยแก้มใส คิดเป็นร้อยละ
    2. โรงเรียนมีเครือข่่ายความร่วมมือในการดำเนินโครงการเด็กไทยแก้มใส คิดเป็นร้อยละ
    2 2.เพื่อส่งเสริมปัจจัยในการผลิตทางด้านการเกษตร ปศุสัตว์ และประมง ทั้งในและนอกโรงเรียน สู่โครงการอาหารกลางวันของโรงเรียนอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน
    ตัวชี้วัด : 1. มีผลผลิตทางเกษตรและเลี้ยงสัตว์ หรือประมง โดยการมีส่วนร่วมของนักเรียน ชุมชนและเครือข่ายในพื้นที่ 2. มีการนำผลผลิตทางการเกษตรปศุสัตว์และประมงไปใช้ในโครงการอาหารกลางวันนักเรียน
    1. มีผลผลิตทางเกษตรและเลี้ยงสัตว์ หรือประมง โดยการมีส่วนร่วมของนักเรียน ชุมชนและเครือข่ายในพื้นที่
    2. มีการนำผลผลิตทางการเกษตรปศุสัตว์และประมงไปใช้ในโครงการอาหารกลางวันนักเรียน
    3 3. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะด้านการเกษตรและสหกรณ์
    ตัวชี้วัด : 1. มีกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนที่มีนักเรียนเป็นสมาชิกและดำเนินการโดยนักเรียนและรับซื้อผลผลิตจากกิจกรรมเกษตรในโรงเรียนเพื่อขายให้กิจกรรมอาหารกลางวัน 2. สหกรณ์จำหน่ายอาหารว่างและเครื่องดื่มได้มาตรฐานโภชนาการ
    1. มีกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนที่มีนักเรียนเป็นสมาชิกและดำเนินการโดยนักเรียนและรับซื้อผลผลิตจากกิจกรรมเกษตรในโรงเรียนเพื่อขายให้กิจกรรมอาหารกลางวัน
    2. สหกรณ์จำหน่ายอาหารว่างและเครื่องดื่มได้มาตรฐานโภชนาการ
    4 4. เพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียนและการจัดการอาหารสำหรับนักเรียน
    ตัวชี้วัด : 1. มีรายงานเฝ้าระวังการเจริญเติบโตและสมรรถภาพทางกายของนักเรียนทุกคน เทอมละ 1 ครั้ง 2. มีการบันทึกสุขภาพนักเรียนรายบุคคลและแบบประเมินพฤติกรรมสุขบัญญตัิแห่งชาติ 3. มีการฝึกปฏิบัติใช้ช้อนกลางล้างมือ ในช่วงเวลาการรับประทานอาหาร 4. นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพทุกคนเทอมละ 1 ครั้ง และให้การดุแลช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างเหมาะสม 5. มีระบบการช่วยเหลือการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสม เพื่อป้องกันอันตรายร้ายแรงจนถึงเสียชีวิต ุ6. มีรายการอาหารหมุนเวียนราย 1 เดือน ตามมาตรฐานโภชนาการ(ใช้ Thai School Lunch Program) 6. ปรุง ประกอบอาหาร ถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาล และอาหารปลอดภัย 7. นักเรียนได้รับประทานอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของมาตรฐานโภชนาการในทุกมื้อ
    1. มีรายงานเฝ้าระวังการเจริญเติบโตและสมรรถภาพทางกายของนักเรียนทุกคน เทอมละ 1 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ
    2. มีการบันทึกสุขภาพนักเรียนรายบุคคลและแบบประเมินพฤติกรรมสุขบัญญตัิแห่งชาติ คิดเป็นร้อยละ
    3. มีการฝึกปฏิบัติใช้ช้อนกลางล้างมือ ในช่วงเวลาการรับประทานอาหาร คิดเป็นร้อยละ
    4. นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพทุกคนเทอมละ 1 ครั้ง และให้การดุแลช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างเหมาะสมคิดเป็นร้อยละ
    5. มีระบบการช่วยเหลือการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสม เพื่อป้องกันอันตรายร้ายแรงจนถึงเสียชีวิต ุคิดเป็นร้อยละ
    6. มีรายการอาหารหมุนเวียนราย 1 เดือน ตามมาตรฐานโภชนาการ(ใช้ Thai School Lunch Program)คิดเป็นร้อยละ
    7. ปรุง ประกอบอาหาร ถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาล และอาหารปลอดภัยนักเรียนได้รับประทานอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของมาตรฐานโภชนาการในทุกมื้อคิดเป็นร้อยละ
    5 5. เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อม อาคารสถานที่ ให้ถูกสุขลักษณะ และปลอดภัย
    ตัวชี้วัด : 1.โรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาล อนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและมาตรฐานคุณภาพน้ำบริโภคในโรงเรียน
    1. โรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาล อนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและมาตรฐานคุณภาพน้ำบริโภคในโรงเรียน คิดเป็นร้อยละ99.99

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมและสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียน ครู นักเรียน
    ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงานอื่นในการสนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใส (2) 2.เพื่อส่งเสริมปัจจัยในการผลิตทางด้านการเกษตร ปศุสัตว์ และประมง ทั้งในและนอกโรงเรียน สู่โครงการอาหารกลางวันของโรงเรียนอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน (3) 3. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะด้านการเกษตรและสหกรณ์ (4) 4. เพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียนและการจัดการอาหารสำหรับนักเรียน (5) 5. เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อม อาคารสถานที่ ให้ถูกสุขลักษณะ และปลอดภัย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านจอมพระ

    รหัสโครงการ ศรร.1313-070 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.24 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    กิจกรรมปลูกมะนาว

    ขั้นตอนที่ 1 เตรียมท่อซีเมนต์ ขั้นตอนที่ 2 การเลือกพันธุ์ ขั้นตอนที่ 3 การเตรียมดิน
    ผลลัพท์ที่ตั้งไว้ นักเรียน มีทักษะในการปลูกและดูแลมะนาว (รายละเอียดภาพ อยู่ในรายงานโครงการ)

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    กิจกรรมปรับปรุงพัฒนาสหกรณ์นักเรียน

    1.คณะกรรมการสหกรณ์ดำเนินกิจกรรมของกลุ่มต่อเนื่องตลอดปีการศึกษา 2.มีสมาชิกซึ่งประกอบด้วยนักเรียนและครูบุคลากรในโรงเรียน output - แม่ครัว ผู้ปกครอง แกนนำนักเรียน และโรงเรียนในเครือข่ายจำนวน 120 คน มีความรู้ด้านอาหารและโภชนาการที่ถูกต้อง

    outcome - นักเรียนได้บริโภคอาหารตามมาตรฐานโภชนาการ ทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน (รายละเอียดภาพ อยู่ในรายงานโครงการ)

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    ใช้โปรแกรม Thai school lunc

    -ใชเมนูรายสัปดาห์ เน้นผักผลไม้ โดยมีการแยกรายการอาหาร ระหว่างเด็กอ้วน เด็กผอม

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยเรียน

    มีการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงภาคเรียนละ 2 ครั้งรวมปีการศึกษา ละ2ครั้ง

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    กิจกรรมล้างมือแปรงฟันก่อนและหลังรับประทานอาหาร

    นักเรียนล้างมือทุกครั้งก่อนรับประทานอาหาร โดยใช้วิธี7ขั้นตอน นักเรียนแปรงฟันทุกครั้งหลังรับประทานอาหาร โดยแปรงฟันประกอบเพลง

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    ห้องน้ำสะอาด

    นักเรียนแบ่งหน้าที่ทำความสะอาดบริเวณห้องน้ำโดยแบ่งเป็นโซนตามเลขที่และแยกเป็นธงสี

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โรงเรียนบ้านจอมพระ จังหวัด สุรินทร์

    รหัสโครงการ ศรร.1313-070

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสมชาย จารุวงศ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด