ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านกุดรู


“ โรงเรียนบ้านกุดรู ”

หมู่ที่ 4 ตำบลแวงน้อย อำเภอแวงน้อย จังหวัดขอนแก่น

หัวหน้าโครงการ
ว่าที่ร้อยตรีบุญชิต บุญมีทา

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านกุดรู

ที่อยู่ หมู่ที่ 4 ตำบลแวงน้อย อำเภอแวงน้อย จังหวัดขอนแก่น จังหวัด ขอนแก่น

รหัสโครงการ ศรร.1311-049 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.3

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2016 ถึง 30 เมษายน 2017


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านกุดรู จังหวัดขอนแก่น" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 4 ตำบลแวงน้อย อำเภอแวงน้อย จังหวัดขอนแก่น

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านกุดรู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านกุดรู



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านกุดรู " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 4 ตำบลแวงน้อย อำเภอแวงน้อย จังหวัดขอนแก่น รหัสโครงการ ศรร.1311-049 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านกุดรู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 171 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงเรียนบ้านกุดรู ได้น้อมนำแนวทางการดำเนินงานด้านบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียน โดยมีกิจกรรมเกษตรในโรงเรียน ร้อยละ 90 ได้มีส่วนร่วมจัดทำการเกษตรปลอดสารพิษ ปลูกพืช เลี้ยงสัตว์นำผลผลิตที่ได้เข้าสู่โครงการเพื่อจัดทำอาหารกลางวันนักเรียนได้รับอาหารที่มีคุณค่าและปลอดภัยจากสารพิษ เป็นการฝึกอาชีพให้กับนักเรียนเพื่อไปใช้ในชีวิตประจำวัน“นวัตกรรมที่ใช้ร้อยละ 100 คือการปลูกพืชโดยใช้สารชีวภาพ มีการผลิตปุ๋ยชีวภาพ ทำน้ำหมักชีวภาพ เพื่อลดสารเคมีและลดต้นทุนการผลิต” สหกรณ์นักเรียนรับผลผลิตจากภาคการเกษตรมาจัดจำหน่ายให้กับโรงอาหารเพื่อเป็นการปันผลคืนกำไรให้กับกลุ่มการเกษตรในรูปสมาชิกสหกรณ์ ร้อยละ 90 เป็นสมาชิกสหกรณ์ และร้อยละ 100 มีการจัดจำหน่ายสินค้าเพื่อสุขภาพลด หวาน มัน เค็ม และน้ำอัดลมส่งเสริมสุขภาพนักเรียนและ ป้องกันโรคต่างที่มาจากการกิน เช่น โรคอ้วน โรคขาดสารอาหาร ฝึกให้เด็กมีระเบียบวินัยในการกินรู้ประโยชน์รู้โทษของการกิน ส่งเสริมการออมทรัพย์ของเด็ก ส่งเสริมความรู้ทางด้านประกอบอาชีพให้เด็กรู้จักทำบัญชีรายรับจ่ายฝึกวินัยในการใช้จ่ายอยู่งอย่างพอเพียงตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง จัดบริการอาหารให้กับนักเรียนอย่างเพียงพอต่อความต้องการของเด็กโดยร้อยละ 90 ใช้โปรแกรมอาหาร Thai school lunch จัดห้องครัวที่สะอาดถูกหลักอนามัย ดูแลการปรุงและประกอบอาหารให้ถูกต้องตามหลักภาวะโภชนาการ ใช้นวัตกรรมคือ “การใส่เกลือไอโอดีนแทนน้ำปรุงรส น้ำตาลแทนผงปรุงรส”ดูแลกำกับการรับประทานอาหารของนักเรียน โดยแยกกลุ่มนักเรียนที่มีภาวะอ้วน ผอมมาดูแลเรื่องการรับประทานอาหารเป็นพิเศษเพื่อควบคุมอาหารให้กับเด็กกลุ่มนี้มีการเฝ้าระวังติดตามภาวะโภชนาการทดสอบสมรรถภาพของนักเรียน มีการตรวจสุขภาพประจำภาคเรียนดูแลสุขภาพของนักเรียนร้อยละ 90 นักเรียนออกกำลังกายสัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 30 นาทีได้รับการดูแลตรวจสุภาพประจำภาคเรียนและมีการประเมินตนเองของนักเรียน โรงเรียนมีการบริการน้ำที่สะอาดได้มาตรฐานตามคุณภาพมาตรฐานน้ำดื่มสะอาดในโรงเรียนเพื่อใช้ในการบริโภคและอุปโภคมีที่ล้างมือ ที่แปรงฟัน ห้องน้ำที่สะอาดถูกสุขลักษณะ การกำจัดขยะที่ปลอดภัยลดมลพิษทางอากาศ รณรงค์ป้องกันอุบัติภัยโรงเรียน ติดตามตรวจสุขภาพและมีการตรวจสุขภาพอนามัยของนักเรียนประจำภาคเรียนภาคเรียนละ 1 ครั้งจากเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล โดยมีการตรวจฟัน การตรวจเหา การตรวจการได้ยิน การตรวจสายตาการจัดการเรียนรู้ด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพร้อยละ 100 โรงเรียนได้จัดทำแผนการเรียนรู้ประจำชั้นเรียน ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ได้เรียนรู้ทั้งในชั้นเรียนการลงมือปฏิบัติจริงและโดยผ่านการอบรมหน้าเสาธง การอบรมภาคกลางวัน จากการอบรมครูแกนนำของนักเรียนจากการตรวจสุขภาพนักเรียนด้วยตนเอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสร้างความตื่นตัวและให้ชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยว รู้จักกรอบแนวทางการดำเนินงานในการสนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใส ตาม 8 องค์แระกอบหลัก
  2. 2. เพื่อปรับปรุงพัฒนาสหกรณ์ร้านค้า ดูแล ลดหวานมันเค็ม และปลอดน้ำอัดลมและขนมกรุบกรอบ
  3. 3. เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตามและเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
  4. 4. ส่งเสริมปัจจัยการผลิตทางการเกษตรทั้งในและนอกโรงเรียน
  5. 5.เพื่อสร้างศูนย์การเรียนรู้ของชุมชุม และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. คณะครู นักเรียน ผู้ปกครองร่วมกันสร้างเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
    2. สหกรณ์ร้านค้ามีอาหารจำหน่ายที่มีคุณภาพลด หวาน มัน เค็ม และไม่มีน้ำอัดลมขายในสหกรณ์ร้านค้าโรงเรียน 3.โรงเรียนมีผลผลิตทางด้านการเกษตรเพียงพอต่อจำนวนนักเรียนและยังสามารถนำไปจำหน่ายให้กับชุมชน 4.โรงเรียนมีสิ่งแวดล้อมที่ถูกสุขอนามัยและชุมชนมีบรรยากาศที่น่าอยู่หมู่บ้านสะอาดถูกหลักอนามัย 5.โรงเรียนในตำบลแวงน้อยได้รับความรู้เรื่อง “เด็กไทยแก้มใส”และนำไปปฏิบัติตามได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ไก่พันธ์ุไข่

    วันที่ 1 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1 ให้ความรู้วิธีการเลี้ยงไก่ 2 จัดทำโรงเรือนสำหรับเลี้ยงไก่ 3 จัดหาพันธ์ุไก่พันธ์ูไข่ 4 ดำเนินการเลี้ยงไก่พันธ์ูไข่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1 โรงเรียนได้ไข่จัดทำอาหารกลางวันให้นักเรียน 2 โรงเรียนนำไข่ไปวางจำหน่ายในสหกรณ์นักเรียน

     

    0 70

    2. กิจกรรมเพาะเห็ดนางฟ้า

    วันที่ 1 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1 ให้ความรู้การเพาะเห็ด 2 จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ และสถานที่สำหรับเพาะเห็ด 3 ดำเนินการเพาะเห็ด 4 นำเห็ดมาประกอบอาหาร และจำหน่ายในร้านสหกรณ์นักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1 โรงเรียนนำผลผลิตจากการเพาะเห็ดมาประกอบอาหารกลางวัน 2 โรงเรียนนำผลผลิตจากการเพาะเห็ดจำหน่ายในร้านสหกรณ์นักเรียน

     

    0 47

    3. ขยายพันธ์และปลูกมะนาว

    วันที่ 1 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1 ให้ความรู้ สาธิต ฝึกปฏิบัติการตอนกิ่งมะนาว 2 จัดเตรียมอุปกรณ์สำหรับการตอนกิ่ง 3 ให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติการตอนกิ่งมะนาว 4 นักเรียนจดบันทึกการเจริญเติบโต 5 นักเรียนนำกิ่งพันธ์ุที่ได้ไปปลูกที่โรงเรียนและที่บ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต : นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน ได้เรียนรู้กระบวนการขยายพันธ์และปลูกมะนาว การจัดทำปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยคอก แกลบ ถังหมัก และการแปรรูปผลิตภัณฑ์เพื่อส่งเสริมอาหารสุขภาพ ผลลัพท์ : นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน มีความรู้และทักษะการขยายพันธ์และปลูกมะนาว การจัดทำปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยคอก แกลบ ถังหมัก และการแปรรูปผลิตภัณฑ์เพื่อส่งเสริมอาหารสุขภาพ

     

    42 42

    4. นัดตรวจโครงการฯ ทำรายงานการเงินและรายงานกิจกรรม งวดที่ 1

    วันที่ 20 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    4 4

    5. อบรมผู้ปกครองเกี่ยวกับโภชนาการวัยเรียน

    วันที่ 30 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1 ประชุม วางแผนการดำเนินงานอบรมผู้ปกครองเกี่ยวกับโภชนาการวัยเรียน 2 ประสานวิทยากรที่มีความรู้ความชำนาญด้านโภชนาการ 3 ดำเนินการจัดอบรมตามแผน 4 ประเมินและสรุปผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต : บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน และการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน ผลลัพท์ : บุคลากรร้อยละ 80 สามารถจัดหาอาหารที่มีประโยชย์และส่งเสริมสุขภาพให้กับนักเรียน

     

    80 70

    6. ประชุมผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงาน

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุม ชี้แจง วางแผนการดำเนินการประชุมผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
    2. จัดเตรียมสถานที่ อาหาร อาหารว่าง ประสานวิทยากร
    3. ทำหนังสือเชิญผู้ปกครอง และผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม
    4. ดำเนินการประชุมผู้ปกครอง
    5. ประเมินและสรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต : ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ผลลัพท์ : ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานร้อยละ 80 ให้ความร่วมมือโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส

     

    174 70

    7. พัฒนาและศึกษาดูงาน

    วันที่ 4 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1 ประชุม วางแผนดำเนินกิจกรรมการศึกษาดูงาน 2 ประสานสถานที่ศึกษาดูงาน และพาหนะสำหรับเดินทาง 3 เดินทางไปศึกษาดูงานโรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง จังหวัดบุรีรัมย์ 4 สรุปผลการศึกษาดูงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลผลิต : บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน และการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน ผลลัพท์ : บุคลากรร้อยละ 80 สามารถจัดหาอาหารที่มีประโยชย์และส่งเสริมสุขภาพให้กับนักเรียน

     

    21 16

    8. ธนาคารขยะ

    วันที่ 23 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1 ให้ความรู้เรื่องการดำเนินการกิจกรรมธนาคารขยะ 2 จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ และสถานที่สำหรับดำเนินการ 3 ดำเนินการกิจกรรมธนาคารขยะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต : นักเรียนเห็นคุณค่าของวัสดุเหลือใช้ ผลลัพท์ : นักเรียนเห็นคุณค่าของการออม

     

    101 0

    9. การแปรรูปผลิตภัณฑ์เพื่อส่งเสริมอาหารสุขภาพ

    วันที่ 3 มกราคม 2017 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ศึกษาผลิตภัณฑ์เกษตรในโรงเรียนที่สามารถนำมาแปรรูปอาหารได้
    2. จัดหาวัสดุอุปกรณ์สำหรับการแปรรูปผลิตภัณฑ์เกษตรได้
    3. นักเรียนศึกษา เรียนรู้การแปรรูปผลิตภัณฑ์เกษตร
    4. นักเรียนแปรรูปผลิตภัณฑ์เกษตร
    5. นำไปประกอบอาหารและจำหน่าย
    6. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการดำเนินการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต :
    ผลลัพธ์ :

     

    57 37

    10. ขยายพันธ์และปลูกมะนาว ระยะที่ 2

    วันที่ 1 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ สำหรับปลูกมะนาว
    2. ดำเนินการปลูกมะนาว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต : นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน ได้เรียนรู้กระบวนการขยายพันธ์และปลูกมะนาว ผลลัพท์ : นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน มีความรู้และทักษะการขยายพันธ์และปลูกมะนาว

     

    111 111

    11. พัฒนาสหกรณ์ร้านค้านักเรียน

    วันที่ 2 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. สำรวจสถานที่ในการจัดทำที่ล้างจานที่ได้มาตรฐาน
    2. จัดหา จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์สำหรับจัดทำที่ล้างจาน
    3. ดำเนินการจัดทำที่ล้างจานตามแผน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต : นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการระบบสหกรณ์ในโรงเรียน ผลลัพท์ : นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติการทำบัญชีรายรับ รายจ่าย และมีความรับผิด และมีความซื่อสัตย์ในการดำเนินงานของสหกรณ์

     

    161 161

    12. ไก่พันธ์ุไข่ ระยะที่ 2

    วันที่ 6 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1 ให้ความรู้การเลี้ยงไก่พันธ์ไข่
    2 จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์สำหรับการเลี้ยงไก่พันธ์ไข่
    3 ดำเนินการตามแผน
    4 นำไปบริโภคและจำหน่ายในร้านสหกรณ์นักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต : นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน ได้เรียนรู้กระบวนการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ ผลลัพท์ : นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน มีความรู้และทักษะในการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่

     

    47 47

    13. การปรับปรุงสถานที่ล้างจานให้ถูกตามหลักอนามัย

    วันที่ 6 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์เพื่อปรับปรุงสถานที่ล้างจาน
    2. ดำเนินงานปรับปรุงสถานที่ล้างจานให้ถูกสุขอนามัย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต : โรงเรียนมี่การพัฒนาปรับปรุงสถานที่ล้างจานให้ถูกตามหลักสุขาภิบาล ผลลัพท์ : โรงเรียนมีสถานที่ล้างจานที่ถูกสุขลักษณะ

     

    91 91

    14. เบิก-ถอน เงินเปิดปัญชี

    วันที่ 20 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เบิก-ถอน เงินเปิดบัญชี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    3 3

    15. ถอนเงินดอกเบี้ยในบัญชีเพื่อปิดโครงการ

    วันที่ 1 เมษายน 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ ศรร.เด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านกุดรู จังหวัดขอนแก่น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คืนดอกเบี้ย จำนวน 37.22 บาท ให้กับ สสส.

     

    3 3

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อสร้างความตื่นตัวและให้ชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยว รู้จักกรอบแนวทางการดำเนินงานในการสนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใส ตาม 8 องค์แระกอบหลัก
    ตัวชี้วัด : ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร้อยละ 80เห็นคุณค่าในการสนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใส

    ชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเห็นคุณค่า สนับสนุน เพื่อให้เกิดเป็นโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

    2 2. เพื่อปรับปรุงพัฒนาสหกรณ์ร้านค้า ดูแล ลดหวานมันเค็ม และปลอดน้ำอัดลมและขนมกรุบกรอบ
    ตัวชี้วัด : สหกรณ์ร้านค้ามีการจำหน่ายอาหารหวานมันเค็ม ขนมกรุบกรอบลดลง ร้อยละ 50 และปลอดน้ำอัดลม

    สหกรณ์ร้านค้ามีการจำหน่ายอาหารหวานมันเค็ม ขนมกรุบกรอบลดลง และปลอดน้ำอัดลม

    3 3. เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตามและเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีภาวะโภชนาการอ้วน ผอม เตี้ย ไม่เกิน 7%

    นักเรียนมีภาวะโภชนาการอ้วน ผอม เตี้ย ลดลงตามผลการรายงายจากโปรแกรม thai school lunch

    4 4. ส่งเสริมปัจจัยการผลิตทางการเกษตรทั้งในและนอกโรงเรียน
    ตัวชี้วัด : เกิดแหล่งเรียนรู้ด้านการเกษตรและขยายผลสู่ชมชน

    ชุมชนเกิดความรู้ และได้เรียนรู้ด้านการเกษตรจากแหล่งเรียนรู้

    5 5.เพื่อสร้างศูนย์การเรียนรู้ของชุมชุม และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร
    ตัวชี้วัด : นักเรียน ชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้เรียนรู้การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร มากกว่าร้อยละ 80

    นักเรียน ชุมชน และหน่วยงานมีความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างความตื่นตัวและให้ชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยว รู้จักกรอบแนวทางการดำเนินงานในการสนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใส ตาม 8 องค์แระกอบหลัก (2) 2. เพื่อปรับปรุงพัฒนาสหกรณ์ร้านค้า ดูแล ลดหวานมันเค็ม และปลอดน้ำอัดลมและขนมกรุบกรอบ (3) 3. เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตามและเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน (4) 4. ส่งเสริมปัจจัยการผลิตทางการเกษตรทั้งในและนอกโรงเรียน (5) 5.เพื่อสร้างศูนย์การเรียนรู้ของชุมชุม และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

    ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านกุดรู

    รหัสโครงการ ศรร.1311-049 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.3 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

    วันที่เริ่มประเมิน

    1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    (ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    1. การเกษตรในโรงเรียน

    ปุ๋ยหมักจากมูลหมูและฉี่หมู

    นำมูลหมู+ฉี่หมู มาหมักใส่ถังพลาสติกสีดำ 40x60 ซม. โดยใช้กากน้ำตาลผสมลงใถังหมักไว้ 10-15 วัน นำไปรดมะนาว

    1. นำน้ำหมักชีวภาพมาผสมเพื่อดับกลิ่น
    2. ปรับปรุงสถานที่ให้สะดวกต่การเก็บมูลและฉี่หมู
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    2. สหกรณ์นักเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

    บรรจุแผนการโครงการเด็กไทยแก้มใสในหลักสูตรสถานศึกษา

    1. วิเคราะห์หลักสูตร
    2. วางแผนการจัดการเรียนการสอนบูรณาการ
    3. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนบูรณาการ
    4. ประเมินผล

    พัฒนาเป็นสื่ออิเล็กทรอนิกในการจัดการเรียนการสอน

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    9. อื่น ๆ

     

     

     

    2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

    1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

    1. องค์การบริหารส่วนตำบลแวงน้อย
    2. กศน.
    3. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
    4. โรงพยาบาลแวงน้อย
    5. สำนักงานพัฒนาที่ดินจังหวัดขอนแก่น ุ6. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ขอนแก่น เขต 3

    2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

    1. ชุมชนให้ความร่วมมือ
    2. ภาคีเครือข่ายให้ความร่วมมือ
    3. ผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง นักเรียน มีความสนใจและให้ความร่วมมือ

    3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

    ชุมชน ภาคีเครือข่าย ผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง นักเรียน มีความสนใจและให้ความสำคัญที่จะดำเนินโครงการให้บรรลุตามเป้าหมาย

    4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

    1. ศึกษาดูงานจากแหล่งเรียนรู้จริง
    2. ศึกษาเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
    3. ลงมือปฏิบัติในพื้นที่จริง

    5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

    1. ชมชุนร่วมบริจาคข้าวเพื่อเป็นอาหารกลางวันให้นักเรียน
    2. ผู้ปกครองผลัดเปลี่ยนเวรเพื่อจัดทำอาหารกลางวัน
    3. ภาคีเครือข่ายให้การสนับสนุนองค์ความรู้ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

    จัดทำรายการอาหารเพื่อวางแผนการปลูกผักจะได้เพียงพอต่อความต้องการ

    1. รายการอาหาร
    2. บัญชีการซื้อและจำหน่ายของสหกรณ์

    ขยายผลให้สู่ชุมชนโดยการนำรายการอาหารให้กับชุมชนเพื่อให้ชุมชนส่งรายการผักให้โรงเรียนเพื่อทำอาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

     

    1. แบบบันทึกการเก็บไข่ไก่รายวัน
    2. แบบบันทึกการจำหน่ายไข่ไก่

    1.

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

     

     

     

    5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

    สำรวจการบริโภคผัก ผลไม้ของนักเรียนตามโครงการเด็กไทยแก้มใส

    แบบสำรวจการบริโภคผัก ผลไม้ของนักเรียนตามโครงการเด็กไทยแก้มใส

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    สำรวจการบริโภคผัก ผลไม้ของนักเรียนตามโครงการเด็กไทยแก้มใส

    แบบสำรวจการบริโภคผัก ผลไม้ของนักเรียนตามโครงการเด็กไทยแก้มใส

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

    วางแผนให้ชุมชนปลูกผักปลอดสารพิษ

    1. แผนการดำเนินโครงการ
    2. แบบสำรวจความพึงพอใจ
    1. ชุมชนส่งผลผลิตให้กับโรงเรียน
    2. ชุมชนมีส่วนร่วมกับโรงเรียนเพื่อวางแผนการผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษ
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

    ใช้รายละเอียดจากโปรแกรม Thai School Lunch เป็นข้อมูลจัดทำอาหารกลางวันให้กับนักเรียน

    รายงานโปรแกรม Thai School Lunch รายเดือน รายสัปดาห์

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

    ติดตามนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการโดยแจ้งให้ผู้ปกครองทราบเพื่อแก้ไขปัญหาร่วมกัน

    แบบติดตามภาวะโภชการของนักเรียน

    ผู้ปกครองร่วมกับโรงเรียนเพื่อแก้ปัญหาภาวะโภชนาการ

    3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

    สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

    ภาวะ2558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/1
    เตี้ย 2.78 2.78% 3.75 3.75% 3.80 3.80% 2.56 2.56% 2.53 2.53% 5.00 5.00%
    เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 11.11 11.11% 10.00 10.00% 5.06 5.06% 11.54 11.54% 3.80 3.80% 8.75 8.75%
    ผอม 8.11 8.11% 1.25 1.25% 1.27 1.27% 2.56 2.56% 0.00 0.00% 2.50 2.50%
    ผอม+ค่อนข้างผอม 14.86 14.86% 7.50 7.50% 5.06 5.06% 10.26 10.26% 2.56 2.56% 12.50 12.50%
    อ้วน 8.11 8.11% 11.25 11.25% 6.33 6.33% 5.13 5.13% 3.85 3.85% 8.75 8.75%
    เริ่มอ้วน+อ้วน 10.81% 10.81% 15.00% 15.00% 10.13% 10.13% 11.54% 11.54% 7.69% 7.69% 17.50% 17.50%
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

    ติดตามนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการโดยแจ้งให้ผู้ปกครองทราบเพื่อแก้ไขปัญหาร่วมกัน

    แบบติดตามภาวะโภชการของนักเรียน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

    ติดตามนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการโดยแจ้งให้ผู้ปกครองทราบเพื่อแก้ไขปัญหาร่วมกัน

    แบบติดตามภาวะโภชการของนักเรียน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร
    1. ผู้ปกครองร่วมวางแผนการจัดทำรายการอาหารกลางวัน
    2. ผู้ปกครองวางแผนจัดอาหารเช้าและเย็นให้กับนักเรียน

    รายการอาหาร

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

    1. องค์การบริหารส่วนตำบลแวงน้อย
    2. กศน.
    3. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
    4. โรงพยาบาลแวงน้อย
    5. สำนักงานพัฒนาที่ดินจังหวัดขอนแก่น ุ6. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ขอนแก่น เขต 3

    หมายเหตุ *

    • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    โรงเรียนบ้านกุดรู จังหวัด ขอนแก่น

    รหัสโครงการ ศรร.1311-049

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ว่าที่ร้อยตรีบุญชิต บุญมีทา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด