ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านโนนแฝก


“ โรงเรียนบ้านโนนแฝก ”

239 หมู่ที่ 4 ตำบลพราน อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ

หัวหน้าโครงการ
นายนพรัตน์ สายลุน

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านโนนแฝก

ที่อยู่ 239 หมู่ที่ 4 ตำบลพราน อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัด ศรีสะเกษ

รหัสโครงการ ศรร.1312-081 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.35

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2016 ถึง 30 เมษายน 2017


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านโนนแฝก จังหวัดศรีสะเกษ" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 239 หมู่ที่ 4 ตำบลพราน อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านโนนแฝก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านโนนแฝก



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านโนนแฝก " ดำเนินการในพื้นที่ 239 หมู่ที่ 4 ตำบลพราน อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ รหัสโครงการ ศรร.1312-081 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านโนนแฝก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 275 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านโนนแฝก จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนานักเรียนทุกคนให้มีความรู้ ทักษะ ทัศนคติที่ดี และปลูกฝังให้นักเรียนมีคุณธรรมต่อการเกษตรซึ่งเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิต
  2. เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสะอาดปลอดภัยบริโภคตลอดปี การศึกษาและมีสุขนิสัยที่พึงปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร
  3. เพื่อติดตามและแก้ไขเด็กนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
  4. เพื่อขยายเครือข่ายสู่ชุมชน โรงเรียน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนมีคุณภาพชีวิตที่ดี เป็นคนมีคุณภาพ ผลการเรียนดี โภชนาการดี และมีสุขภาพดี
    2. ครู นักเรียนผู้ปกครอง มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและมีคุณค่าทางโภชนาการ
    3. นักเรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตดี

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 37 คน ได้ฝึกปฏิบัติการเลี้ยงปลาดุก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนและผู้ปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน

     

    39 44

    2. ออกกำลังกาย

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วัตถุประสงค์                 1.    เพื่อส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตให้กับนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีความแข็งแรงสมบูรณ์                 2. เพื่อให้คำปรึกษาแนะนำใน การดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตให้เข้มแข็งอยู่เสมอ                 3. เพื่อเป็นการส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์มากที่สุด วิธีดำเนินการ                 1.  จัดโปสเตอร์ให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการออกกำลังกายและเล่นกีฬา                 2.  จัดหาอุปกรณ์กีฬาให้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนได้ใช้ออกกำลังกายในเวลาว่าง                 3.  จัดกิจกรรมทางด้านกีฬาให้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนได้มีส่วนเข้าร่วม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น


    1. นักเรียนและบุคลากรภายในโรงเรียนได้มีส่วนร่วมในการออกกำลังกายและเล่นกีฬา 2. นักเรียนและบุคลากรภายในโรงเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่แข็งแรงสมบูรณ์

     

    281 281

    3. จัดประชุมคณะกรรมการ/คณะทำงาน ปีละ 3 ครั้ง

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมคณะกรรมการ คณะทำงาน โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านโนนแฝก  4 ครั้ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการ และคณะทำงาน ได้มีบทบาทหน้าที่ร่วมกับโรงเรียนในการจัดการศึกษา

     

    35 35

    4. กิจกรรมชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และวัดรอบเอว

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. แจ้งครูประจำชั้น ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ทุกวันที่ 10 ของเดือน
    2. บันทึกข้อมูลในเอกสารบันทึกสุขภาพนักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ครูทำการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง นักเรียนทุกเดือน และทำการบันทึกข้อมูลเป็นปัจจุบัน
    • นำข้อมูลไปใช้ในการพัฒนาเด็กที่มีน้ำหนักส่วนสูงอ่อนกว่าเกณฑ์มาตรฐาน
    • ผู้เรียนมีน้ำหนักส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน  คิดเป็นร้อยละ  90

     

    265 265

    5. ค่าใช้สอยและวัสดุสำนักงาน

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เสนอขออนุมัติโครงการ
    2. สอบถามความต้องการใช้วัสดุและค่าใช้สอยต่างๆจากบุคลากร
    3. จัดซื้อวัสดุ
    4. ประเมินผลและสรุปรายงานโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. มีวัสดุและค่าใช้สอยอย่างเพียงพอ
    2. สามารถปฏิบัติงานได้อย่างคล่องตัวและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
    3. สามารถปฏิบัติงานตามกรอบภาระงานได้สะดวก รวดเร็ว และทันเวลา

     

    16 16

    6. ศึกษาดูงานโรงเรียนต้นแบบโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ “ระดับเพชร”

    วันที่ 30 พฤษภาคม 2016 เวลา 07:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำครูและบุคลากรทางการศึกษา 16 คน  นักเรียนแกนนำ  10 คน รวม 26 คน ศึกษาดูงานโรงเรียนต้นแบบโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ “ระดับเพชร” โรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง อ.เมือง จ.บุรีรัมย์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครู บุคลากรและนักเรียนมีประสบการณ์หลากหลาย

     

    26 26

    7. การปลูกผักปลอดสารพิษ

    วันที่ 30 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นักเรียน จำนวน265 คน ได้ฝึกปฏิบัติการปลูกพืชสวนครัวทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • นักเรียนมีความรู้ ทักษะ ด้านการเกษตร
    • ผักที่ได้นำไปเข้าสหกรณ์ นำไปจำหน่ายให้โครงการอาหารกลางวัน
    • นักเรียนและผู้ปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน

     

    281 281

    8. ประชุมแต่งตั้งมอบหมายหน้าที่คณะทำงาน

    วันที่ 14 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.คณะครูบุคลากร ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 448 คน ลงทะเบียนเข้าประชุม 2.พิธีเปิดการประชุมโดย นายนพรัตน์สายลุน ผอ.โรงเรียนบ้านโนนแฝก 3.ประชุมตามวาระการประชุม การชี้แจงนโยบายโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส แนวปฏิบัติในการขับเคลื่อนโครงการตาม 8 องค์ประกอบ ร่วมอภิปรายแสดงความคิดเห็น ร่วมกำหนดแนวทางดำเนินงาน 4.เลิกประชุม เวลา 16.30 น.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน ครู นักเรียน ภาคีเครือข่าย คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะอนุกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กไทย ปัญหาเด็กขาดสารอาหาร เด็กอ้วน เด็กเตี้ย และเด็กผอม 2. ผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน ครู นักเรียน ภาคีเครือข่าย มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของนักเรียนโรงเรียนบ้านโนนแฝกและพร้อมที่จะให้ความร่วมมือด้านอาหารให้มีความยั่งยืนแก่นักเรียน 3. ผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน ครู นักเรียน ภาคีเครือข่าย มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงานของศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส(ศรร.) โรงเรียนบ้านโนนแฝก ตามข้อเสนอโครงการที่ได้รับการอนุมัติงบประมาณ100,000บาท4. ผู้ปกครองและเครือข่ายทุกภาคส่วนยืนยันที่จะเข้ามาให้ความช่วยเหลือในการดำเนินงานตามแผนการดำเนินการที่บุตรหลานเป็นผู้รับผิดชอบกิจกรรมให้ประสบความสำเร็จ โดยจัดทำแผนปฏิบัติการ ศรร.ตามปฏิทินการปฏิบัติงานที่เสนอต่อผู้สนับสนุนโครงการไว้แล้ว3. ผู้ปกครองแสดงความชื่นชมและขอบคุณที่ผู้อำนวยการโรงเรียน คณะครู เอาใจใส่ดูแลนักเรียนเป็นอย่างดีทุกเรื่อง

     

    216 448

    9. การเพาะเห็ด

    วันที่ 27 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เชื้อเห็ด 200ถุง× 10 บาท
    • ค่าวัสดุจัดทำชั้นวาง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนสามารถเพาะเห็ดนางฟ้า และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

     

    33 38

    10. ขยายจำนวนแม่ไก่พันธ์ไข่

    วันที่ 30 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • แม่พันธ์ไก่ไข่ 50 ตัว ×200 บาท
    • ค่าอาหารไก่ 10 กระสอบ ×500 บาท 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีความรู้ในการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

     

    35 40

    11. อบรมให้ความรู้เรื่อง อย. น้อย

    วันที่ 16 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    3.1 คัดเลือกนักเรียน ผู้ปกครอง แม่ครัว (ระบุจำนวน)           -  แกนนำกลุ่ม ผู้ปกครอง และกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
    รวมจำนวน 50คน           -  นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6  จำนวน 100 คน ครู จำนวน 16 คน           -  วิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพราน จำนวน 3 คน           -  แม่ครัวในโรงเรียน จำนวน 2 คน
    3.2 เชิญวิทยากรให้ความรู้ให้กับทีม อย. น้อย โดยมีเรื่องความรู้ที่ได้รับ
    ดังต่อไปนี้           -  สารปนเปื้อนในอาหาร
              -  โทษของสารต้องห้ามในเครื่องสำอาง           -  ความรู้เรื่องยา           -  โทษและพิษภัยของยาชุด           -  ยาปฏิชีวนะที่จำหน่ายในร้านชำ           -  วัตถุอันตราย           -  ฉลากอาหาร           -  จัดทำป้ายและเดินรณรงค์การลดดื่มน้ำอัดลม รับประทานลูกอม และขนมกรุบกรอบ ติดป้ายนิเทศ แจกแผ่นพับ 3.3 ให้ อย. น้อย ได้ปฏิบัติกิจกรรมปฏิบัติตามแผนงาน  ดังนี้           -  สุ่มตรวจอาหารในโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน บ้านโนนแฝก           -  สุ่มอาหารในร้านค้าหมู่บ้านโนนแฝก โนนแฝกใหม่ และหมู่บ้านขี้เหล็ก           -  จัดทำแผ่นป้ายรณรงค์ เรื่อง  อาหารปลอดภัยไร้สารพิษ การลดดื่มน้ำอัดลม รับประทานลูกอม และขนมกรุบกรอบ ติดป้ายนิเทศ แจกแผ่นพับในหมู่บ้านโนนแฝก และในโรงเรียน -  จัดตั้งกลุ่ม อย.ในโรงเรียน           -  วางแผนงานร่วมกัน  ว่าจะดำเนินการในเรื่องอะไรบ้างตามที่ได้รับความรู้ จากการเข้ารับการอบรม  -  สรุปผลการปฏิบัติงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      • นักเรียนและผู้ปกครองได้รับความรู้เกี่ยวกับการหาสารปนเปื้อนในอาหาร โดยวิธีการต่างๆ จากการลงมือปฏิบัติสุ่มตรวจอาหารในโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียนและในร้านค้าของหมู่บ้าน นอกจากนี้นักเรียน และร่วมกันรณรงค์ เรื่อง  อาหารปลอดภัยไร้สารพิษ การลดดื่มน้ำอัดลม รับประทานลูกอม และขนมกรุบกรอบติดป้ายนิเทศ แจกแผ่นพับให้แก่นักเรียนในโรงเรียนและหมู่บ้านอย่างทั่วถึง

     

    116 171

    12. อบรมให้ความรู้เรื่องอาหารที่ปลอดภัยไร้สารพิษ

    วันที่ 4 กันยายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กำหนดผู้เข้ารับการอบรม  โดยมีผู้ปกครอง ครู นักเรียน           -  ผู้ให้ความรู้ ในเรื่องโทษของการดื่มน้ำอัดลม ลูกอมและขนมกรุบกรอบต่างๆ           -  กำหนดเรื่อง เนื้อหาความรู้ของการอบรม           -  ระยะเวลาในการอบรม           -  กิจกรรมการปฺฏิบัติร่วมกับการอบรมให้ความรู้ และ เดินรณรงค์ลดดื่มน้ำอัดลม รับประทานลูกอม และขนมกรุบกรอบ ติดป้ายนิเทศ แจกแผ่นพับ 2.2 การเลือกซื้ออาหารที่ปลอดภัยไร้สารพิษ 2.3 การผลิตอาหารปลอดภัยไร้สารพิษไว้บริโภคในครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

              -  มีความรู้ ในเรื่องโทษของการดื่มน้ำอัดลม ลูกอมและขนมกรุบกรอบต่างๆ         - สามารถเลือกซื้ออาหารที่ปลอดภัยไร้สารพิษ - การผลิตอาหารปลอดภัยไร้สารพิษไว้บริโภคในครัวเรือน

     

    216 448

    13. ค่าจัดทำรูปเล่มสรุปรายงานความก้าวหน้าและรายงานฉบับสมบูรณ์ของโครงการฯ

    วันที่ 30 กันยายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ค่าจัดทำรูปเล่มสรุปรายงานความก้าวหน้าและรายงานฉบับสมบูรณ์ของโครงการฯ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สามารถติดตามกำกับให้การดำเนินกิจกรรมโครงการเป็นไปตามแผน และได้รูปเล่มรายงาน และการเผยแพร่ผลงานสู่โรงเรียนเครือข่ายและชุมชน

     

    2 16

    14. การประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1 และขอเบิกงวดที่ 2

    วันที่ 24 ตุลาคม 2016 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ปฏิบัติการจัดทำรายงานศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1 และขอเบิกงวดที่ 2

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ปฏิบัติการจัดทำรายงานศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1 และขอเบิกงวดที่ 2

     

    2 2

    15. ปราชญ์ชาวบ้านสอนการเกษตรอินทรีย์

    วันที่ 20 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตารางการฝึกอบรมการปุ๋ยหมักชีวภาพ ณ โรงเรียนบ้านโนนแฝก อำเภอขุนหาญจังหวัดศรีสะเกษ วันเสาร์ที่20พฤศจิกายน2559 08.00 น.-08.30 น. สมาชิกลงทะเบียน 09.00 น. ประธานกล่าวเปิดการอบรมวิทยาการบรรยายชี้แจงเกี่ยวปุ๋ยหมักชีวภาพ
    10.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง
    10.10 น-11.30 น. ขั้นตอนและวิธีการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ และให้สมาชิกซักถามเกี่ยวกับการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
    12.00 น.พักรับประทานอาหารกลางวัน
    13.00 น.ลงมือทำปุ๋ยหมักโดยการปฏิบัติจริง มีการแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 27 คน จำนวน 10 กลุ่ม
    14.30 น.พักรับประทานอาหารว่าง
    14.40 น.ลงมือทำปุ๋ยหมัก(ต่อ)
    16.00 น.ปิดการอบรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประโยชน์ที่ได้รับ 1.  ผู้เข้ารับการอบรมสามารถดำเนินการผลิตปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพได้ 2.  ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้และความเข้าใจเรื่องประโยชน์และการใช้ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพแนะนำแก่บุคคลทั่วไปได้

     

    281 282

    16. คืนเงินดอกเบี้ยธนาคารเพื่อปิดโครงการ

    วันที่ 23 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คืนเงินดอกเบี้ยธนาคารเพื่อปิดโครงการ

     

    1 1

    17. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชนที่ร่วมโครงการ

    วันที่ 31 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รายละเอียดกิจกรรมตามแผน การจัดนิทรรศการ การจำหน่ายผลผลิตนักเรียนและผู้ปกครอง การประกวดแปรรูปอาหาร รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชนที่ร่วมโครงการ 08.00-09.00ผู้เข้าร่วมประชุมลงทะเบียน 09.00-09.30พิธีเปิด 10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง 10.45-12.00 ชมนิทรรศการ 12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-14.30 สรุปผลการจัดกอจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียน ผู้ปกครอง และผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ในการจัดนิทรรศการ ในการจำหน่ายผลผลิตนักเรียนและผู้ปกครอง  การประกวดการแปรรูปอาหาร

     

    216 448

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนานักเรียนทุกคนให้มีความรู้ ทักษะ ทัศนคติที่ดี และปลูกฝังให้นักเรียนมีคุณธรรมต่อการเกษตรซึ่งเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิต
    ตัวชี้วัด : นักเรียนโรงเรียนบ้านโนนแฝก ร้อยละ 80 มีความรู้ ทักษะ ทัศนคติที่ดี และปลูกฝังให้นักเรียนมีคุณธรรมต่อการเกษตรซึ่งเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิต

     

    2 เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสะอาดปลอดภัยบริโภคตลอดปี การศึกษาและมีสุขนิสัยที่พึงปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร
    ตัวชี้วัด : นักเรียนโรงเรียนบ้านโนนแฝก ร้อยละ 90 มีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสะอาดปลอดภัยบริโภคตลอดปีการศึกษาและมีสุขนิสัยที่พึงปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร

     

    3 เพื่อติดตามและแก้ไขเด็กนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด : นักเรียนโรงเรียนบ้านโนนแฝก เจริญเติบโตสมวัยโดยมี ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกิน 7 % ภาวะผอม ไม่เกิน 7 % ภาวะเตี้ย ไม่เกิน 7 % ดูส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ(กรณีที่ภาวะโภชนาการไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดให้ลดลงจากเดิมไม่น้อยกว่า 0.5 ต่อปี)

     

    4 เพื่อขยายเครือข่ายสู่ชุมชน โรงเรียน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
    ตัวชี้วัด : โรงเรียนบ้านโนนแฝก มีเครือข่ายสู่ชุมชน โรงเรียน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนานักเรียนทุกคนให้มีความรู้ ทักษะ ทัศนคติที่ดี และปลูกฝังให้นักเรียนมีคุณธรรมต่อการเกษตรซึ่งเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิต (2) เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสะอาดปลอดภัยบริโภคตลอดปี การศึกษาและมีสุขนิสัยที่พึงปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร (3) เพื่อติดตามและแก้ไขเด็กนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนอย่างต่อเนื่อง (4) เพื่อขยายเครือข่ายสู่ชุมชน โรงเรียน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

    ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านโนนแฝก

    รหัสโครงการ ศรร.1312-081 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.35 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

    วันที่เริ่มประเมิน

    1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    (ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    1. การเกษตรในโรงเรียน

    มีแหล่งผลิตเกษตรปลอดสารพิษในโรงเรียน 7 ฐานการเรียนรู้ ฐานการเรียนรู้ ที่ 1 สวนครัวพอเพียง ฐานการเรียนรู้ ที่ 2 แปลงผักรักเด็ก ฐานการเรียนรู้ ที่ 3 นางสาวพันธุ์ไข่ ฐานการเรียนรู้ ที่ 4 เห็ดนางฟ้า ฐานการเรียนรู้ ที่ 5 หมูพอเพียง ฐานการเรียนรู้ ที่ 6 การเลี้ยงปลาดุก ฐานการเรียนรู้ ที่ 7 สวนผักเปรี้ยวหวาน

    มีการเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์เลี้ยงหมูเพาะเห็ดนางฟ้าปลูกผักเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ ทำปุ๋ยหมัก โดยรับผิดชอบเป็นระดับชั้น ตั้งแต่เริ่มต้น การดูแล การเก็บผลผลิตและจำหน่ายผลผลิต จำหน่ายผ่านระบบสหกรณ์นักเรียน ส่งต่อไปยังอาหารกลางวันนักเรียน

    จะทำเป็นโครงการต่อเนื่องในปีต่อๆไป

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    2. สหกรณ์นักเรียน

    สหกรณ์นักเรียนมี 3 รูปแบบ สหกรณ์การผลิต ,สหกรณ์การค้า, และโรงเรียนธนาคารโดยมีนักเรียนดำเนินกิจกรรมเป็นคณะกรรมการในการทำงานอย่างเป็นระบบโดยมีครูคอยกำกับให้คำแนะนำปรึกษา

    ระดมทุน สมัครสมาชิกสหกรณ์ แต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบ จัดกิจกรรมการเรียนรู้สหกรณ์ จัดกิจกรรมสหกรณ์ในรูปแบบร้านค้าเพื่อส่งเสริมการขายผลผลิตทางการเกษตรและจำหน่ายสินค้าคุณภาพและสินค้าที่เอื้อต่อโครงการอาหารกลางวัน

    ขยายเนื้อที่ร้านค้าสหกรณ์นักเรียน ระดมทุนให้เพิ่มขึ้น เพิ่มสินค้าในร้านสหกรณ์

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

    ครูรับผิดชอบอาหารกลางวันร่วมกับเด็กนักเรียนในการกำหนดเมนูอาหารกลางวันร่วมกันวางแผนจัดเมนูอาหารกลางวัน ตามมาตรฐานโภชนาการอาหารหมุนเวียนจากผลผลิตที่ได้จากการเกษตรในโรงเรียน

    อบรมนักเรียนผู้รับผิดชอบในการลงข้อมูล รายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch ผู้รับผิดชอบจัดทำรายการอาหารกลางวัน เสนอรายการอาหารกลางวันต่อครูผู้รับผิดชอบเพื่อครวจสอย ลงรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch)ที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน นำรายการวัตถุดิบที่ต้องซื้อไปให้แม่ครัว ตักอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของโภชนาการที่เหมาะสมกับวัยโดยให้นักเรียนแต่ละชั้นรับผิดชอบในการตักอาหารเอง สำรวจความพึงพอใจ

    ขยายผลการโปรแกรม Thai School Lunch ไปยังครูอื่นๆ

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

    ครูและผู้นำนักเรียนแต่ละระดับชั้น ชั่งน้ำหนัก- วัดส่วนสูง ทุกๆเดือน เพื่อทราบข้อมูลนำไปเฝ้าระวังและติดตามสิ้นปีการศึกษาเด็กได้ทดสอบ สมรรถภาพทางกายโดยครูพลศึกษา

    จัดทำฐานข้อมูลน้ำหนักส่วนสูงสมรรถภาพทางกาย และภาวะดูแลสุขภาพของนักเรียนทุกคนและการแปรผลภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกาย และนำข้อมูลไปใช้ในการแก้ไขปัญหาโดยครอบครัวมีส่วนร่วม แก้ปัญหาเด็กอ้วนโดยกิจกรรมแรลลี่ลดพุง โดยนักเรียนกลุ่มเสี่ยงออกกำลังกาย (ตะลุย 9 ด่าน พิชิตโรค) / ควบคุมการรับประทานอาหาร โดยให้นักเรียนบันทึกรายการอาหารและขนมที่รับประทานในแต่ละวัน ส่งให้เจ้าหน้าที่และครูตรวจสอบว่าควรรับประทานหรือไม่ เพราะเหตุใด ออกเยี่ยมบ้านนักเรียนกลุ่มเสื่ยง เพื่อรู้ปัญหาพฤติกรรมของนักเรียน ขณะที่อยู่ที่บ้าน พร้อมทั้งให้ความรู้และขอความร่วมมือจากผู้ปกครองนักเรียนในการแก้ไขปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นกับเด็กนักเรียนแค่ละคน ติดตามเด็กกลุ่มเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง

    ลดจำนวนนักเรียนกลุ่มเสี่ยงให้เหลือน้อยที่สุด

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

    นักเรียนได้แปรงฟันวันละ 2 ครั้ง, ล้างมือ 7 ขั้นตอน, วิ่งวันละ 2 รอบสนาม, เดินวันละ 2,000 ก้าว/วัน เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพที่ดี ที่แข็งแรง

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

    เด็กและครูร่วมกันลงมือปฎิบัติกิจกรรมส้วมสุขสันต์, อย.น้อย ทำให้สิ่งแวดล้อมน่าดู น่าอยู่ น่าเรียน

    จัดป้ายนิเทศให้ความรู้ด้านสุขภาพกับนักเรียน พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้สะอาดปลอดภัย เช่น น้ำดื่มที่สะอาด / ที่ล้างมือ / ห้องส้วม / การจัดการขยะ

    ดำเนินงานพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

    ผู้นำนักเรียนและครู ตรวจความสะอาดของนักเรียน สัปดาห์ละ 1 ครั้ง, ตรวจเหา 1 ครั้ง/เดือน , ชั่งน้ำหนัก 1 ครั้ง/เดือน ตลอดจนจัดหาจัดทำสื่อวัสดุอุปกรณ์มาใช้ในการจัดกิจกรรม

    ตรวจสุขภาพนักเรียนโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและผู้นำนักเรียน เยี่ยมบ้านนักเรียน กลุ่มเสี่ยงในชุมชน เพื่อศึกษาการบริโภค ครัวเรือนพร้อมทั้งให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคแก่ผู้ปกครอง นักเรียนกลุ่มเสี่ยง จัดประชุม / อบรมให้ความรู้กับผู้ปกครองเรื่องสุขภาพดีไม่มีขายและการบริโภคผักปลอดสารพิษ ติดตามนักเรียนกลุ่มเสี่ยงเพื่อดูพัฒนาการ

    นำส่งนักเรียนที่มีปัญหาด้านสุขภาพและภาวะเสี่ยงส่งต่อไปยังหน่วยงานภายนอก

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

    ครูจัดประสบการณ์ให้กับนักเรียนในห้องเรียนทุกระดับชั้น เรื่องเกษตรปลอดสารพิษ , สหกรณ์ ,สุขาภิบาลอาหาร, สุขบัญญัติ, การออกกำลังกาย

    จัดทำเอกสารเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู้ เช่น แผนการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับฐานการเรียนรู้แต่ละฐานการเรียนรู้และได้จัดทำแผ่นพับเรื่องเกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

    ประชาสัมพันธ์เผยแพร่เอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เรื่องฐานการเรียนรู้ และสหกรณ์นักเรียนแก่ผู้สนใจทั่วไป

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    9. อื่น ๆ

     

     

     

    2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

    1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

    1.การเกษตรในโรงเรียน ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาคีเครือข่าย ดังนี้ - หน่วยงานต้นสังกัด ให้งบประมาณในการจัดโครงการเรียนรู้นอกห้องเรียน 2. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัยได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาคีเครือข่าย 5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

    2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

    สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อมีพื้นที่ และแหล่งน้ำในการทำการเกษตรที่เพียงพอความเข้มแข็งของผู้บริหาร ครู บุคลากร และชุมชนมีภาคีเครือข่ายหลายหน่วยงานที่ให้การสนับสนุนในการขับเคลื่อนโครงการ

    3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

    มีกระบวนการสร้างวิถีชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC)การบริหารจัดการโดยให้ทุกคนมีส่วนร่วมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับภาคีเครื่องข่าย และชุมชน

    4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

    มีการประชุมครู นักเรียนและแม่ครัวทุกวันศุกร์และร่วมกันจัดกระบวนการเรียนรู้ถอดประสบการการเรียนรู้ร่วมกัน(AAR) และขยายแนวทางการดำเนินงานโครงการ โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน

    5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

    มีการประชุมผู้ปกครองอย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้งจัดกระบวนการเรียนรู้ถอดประสบการการเรียนรู้ร่วมกันปีละ 1 ครั้งขยายแนวทางการดำเนินงานโครงการสู่ชุมชน โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

     

     

     

    5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

    มีการจัดเมนูอาหารกลางวันด้วยโปรแกรม Thai School Lunch โดยจัดแบบเมนูอาหาร 2 เดือนไม่ซ้ำรายการ

    รายงานคุณค่าสารอาหารจาก Thai School Lunch รายงานปริมาณวัตถุดิบจาก Thai School Lunch

    ส่งเสริมการจัดบริการอาหารกลางวันให้ได้คุณค่าโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch อย่างเป็นระบบ โดยเน้นการให้ความรู้การรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ แก่นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา แม่ครัว ผู้ปกครองและชุมชน และส่งเสริมให้มีการผลิตพิชผลทางการเกษตรที่สด สะอาด และปลอดภัย เพื่อนำเข้าสู่ระบบการจัดบริการอาหารกลางวันอย่างดพอเพียงและยั่งยืน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

    มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง สรุปผลภาวะโภชนาการโดยครูอนามัยโรงเรียน ภาคเรียนละ 1 ครั้ง

    รายงานภาวะโภชนาการนักเรียน ด้วยโปรแกรม Thai Growth ของมหาวิทยาลัยมหิดล

    พัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อควบคุมและลดอัตรา นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการ เกินเกณฑ์ และต่ำกว่าเกณฑ์ ให้มีคุณภาพและเป็นระบบ

    3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

    สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

    ภาวะ2559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/2
    เตี้ย 0.00 0.00% 0.00 0.00% 1.14 1.14% 0.00 0.00% 9.75 9.75% 8.05 8.05% 6.78 6.78% 5.93 5.93% 2.74 2.74% 4.93 4.93% 4.98 4.98% 4.98 4.98%
    เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 1.12 1.12% 0.00 0.00% 4.94 4.94% 3.80 3.80% 18.64 18.64% 16.10 16.10% 14.83 14.83% 13.98 13.98% 8.22 8.22% 11.66 11.66% 10.41 10.41% 10.41 10.41%
    ผอม 8.46 8.46% 8.46 8.46% 2.65 2.65% 0.00 0.00% 8.47 8.47% 5.51 5.51% 2.54 2.54% 1.69 1.69% 15.53 15.53% 12.11 12.11% 10.91 10.91% 10.86 10.86%
    ผอม+ค่อนข้างผอม 18.08 18.08% 18.08 18.08% 7.58 7.58% 4.18 4.18% 16.95 16.95% 10.17 10.17% 11.44 11.44% 6.78 6.78% 24.20 24.20% 20.18 20.18% 18.18 18.18% 18.10 18.10%
    อ้วน 1.15 1.15% 1.15 1.15% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 2.97 2.97% 2.54 2.54% 3.81 3.81% 2.54 2.54% 2.28 2.28% 2.69 2.69% 2.73 2.73% 2.71 2.71%
    เริ่มอ้วน+อ้วน 2.69% 2.69% 2.69% 2.69% 0.76% 0.76% 1.14% 1.14% 4.24% 4.24% 6.36% 6.36% 6.78% 6.78% 7.20% 7.20% 5.02% 5.02% 6.73% 6.73% 8.18% 8.18% 8.60% 8.60%
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

    โรงเรียนมีการควบคุมกิจกกรรมการรับประทานอาหารของกลุ่มนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์ที่เข้มงวดมากขึ้น โดยส่งเสริมให้รับประทานผักผลไม้มากขึ้น ลดอาหารจำพวกแป้งและไขมัน และควบคุมปริมาณการตักอาหารและส่งเสริมการออกกำลังกายที่ถูกต้องและสม่ำเสมอ

    รายงานภาวะโภชนาการนักเรียน ด้วยโปรแกรม Thai Growth ของมหาวิทยาลัยมหิดล

    ร่วมมือกับชุมชนในการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพต่างๆ อย่างสม่ำเสมอ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

    ครูให้ความรู้ในการเลือกรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะแก่นักเรียนในกลุ่มที่มีภาวะโภชนาการต่ำว่าเกณฑ์ ส่งเสริมการบริโภคผักและผลไม้ที่พอเหมาะ พอดี และเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย เพิ่มปริมาณการตักอาหารที่มีคุณค่ามากขึ้น ส่งเสริมการออกกำลังกายที่ถูกต้องและสม่ำเสมอ

    รายงานภาวะโภชนาการนักเรียน ด้วยโปรแกรม Thai Growth ของมหาวิทยาลัยมหิดล

    ส่งเสริมและให้ความรู้ในการเลือกรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะแก่นักเรียน แล้้วขยายผลการดำเนินงานไปยังผู้ปกครอง และชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

    ส่งเสริมให้นักเรียนได้รับสารอาหารที่มีคุณค่าในปริมาณที่พอเพียงและเหมาะสม แต่ไม่สามารถควบคุมปัจจัอื่นๆ ได้ เช่น กรรมพันธุ์ พฤติกรรมการบริโภคอาหารเมื่ออยู่ที่บ้าน และการดูแลเอาใจใส่ของพ่อแม่ผู้ปกครอง

    รายงานภาวะโภชนาการนักเรียน ด้วยโปรแกรม Thai Growth ของมหาวิทยาลัยมหิดล

    ขยายการส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภขที่ถูกสุขลักษณะไปยังพ่อแม่ ผู้ปกครอง และชุมชน เพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลเอาใจใส่คุณภาพชีวิตของบุตรหลานตนเอง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

    ส่งเสริมการควบคุมพฤติกรรมการรับประทานอาหารแแก่นักเรียนทุกคน และเน้นเด็กกลุ่มเสี่ยงเป็นพิเศษ

    ส่งเสริมให้รับประทานผักผลไม้มากขึ้น ลดอาหารจำพวกแป้งและไขมัน แก่เด็กทุกกลุ่ม

    ส่งเสริมการออกกำลังกายที่ถูกต้องและสม่ำเสมอ โดยจัดโปรแกรมการออกกำลังกายสำหรับกลุ่มเด็กอ้วน แยกออกมาจากกลุ่มเด็กปกติ

    ทะเบียนนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์

    ทะเบียนนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์

    ทะเบียนนักเรียนที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้า

    โปรแกรมการออกกำลังกายสำหรับนักเรียนกลุ่มปกติ กลุ่มอ้วน/ค่อนข้างอ้วน กลุ่มผอม/ค่อนข้างผอม

    รายการเมนูอาหารเพื่อสุขภาพสำหรับนักเรียนกลุ่มอ้วน/ค่อนข้างอ้วน กลุ่มผอม/ค่อนข้างผอม กลุ่มเตี้ย/ค่อนข้างเตี้ย และนักเรียนกลุ่มปกติ

    ส่งเสริมและพัฒนาทุกกิจกรรมให้เป็นระบบและยั่งยืน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

    ผู้ปกครองรับทราบปัญหา และร่วมปริกษาหารือกับโรงเรียน เพื่อหาทางแก่ไขร่วมกัน

    ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการผลิตพืชผลทางการเกษตรที่สด สะอาด ปลอดภัย เพื่ออาหารกลางวันนักเรียน

    ผลการดำเนินงานของเครือข่ายสร้างสุขภาพของชุมชนอย่างต่อเนื่อง

    บันทึกการประชุมผู้ปกครองและเครือข่ายชุมชน

    ภาพกิจกรรมต่างๆ

    ส่งเสริมการพัฒนาและขยายเครือข่ายการผลิดพืชผลทางการเกษตรที่ สด สะอาด ปลอดภัย เพื่ออาหารกลางวันนักเรียน ในท้องถิ่นอย่างกว้างขวางและเข้มแข็ง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

    1.การเกษตรในโรงเรียน ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาคีเครือข่าย ดังนี้ - หน่วยงานต้นสังกัด ให้งบประมาณในการจัดโครงการเรียนรู้นอกห้องเรียน 2. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัยได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาคีเครือข่าย 5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

    หมายเหตุ *

    • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    โรงเรียนบ้านโนนแฝก จังหวัด ศรีสะเกษ

    รหัสโครงการ ศรร.1312-081

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายนพรัตน์ สายลุน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด