แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โรงเรียนชุมชนวัดรวง
“ โรงเรียนชุมชนวัดรวง ”
ตำบลหนองงูเหลือม อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา
หัวหน้าโครงการ
นายประสงค์ ชูใจ
ชื่อโครงการ โรงเรียนชุมชนวัดรวง
ที่อยู่ ตำบลหนองงูเหลือม อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัด นครราชสีมา
รหัสโครงการ ศรร.1312-062 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.16
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนชุมชนวัดรวง จังหวัดนครราชสีมา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองงูเหลือม อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนชุมชนวัดรวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนชุมชนวัดรวง
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนชุมชนวัดรวง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองงูเหลือม อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา รหัสโครงการ ศรร.1312-062 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนชุมชนวัดรวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 544 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการดำเนินงานเด็กไทยแก้มใสทั้ง 8 องค์ประกอบ ใน 1 ปีที่ผ่านมาของโรงเรียนชุมชนวัดรวง
ได้ดำเนินงานตามกรอบแนวคิดเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ซึ่งผลการดำเนินงานในระยะปีที่ 1 ถือว่ามีผลการดำเนินงานอยู่ในระดับที่น่าพึงพอใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์ประกอบด้านสหกรณ์นักเรียน การจัดการบริหารของโรงเรียนการติดตามภาวะโภชนาการการพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียนการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะการจัดบริการสุขภาพ และการจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย
สำหรับด้านการเกษตรในโรงเรียน มีปัญหาอุปสรรคบ้างคือ เรื่องพื้นที่เกษตรในโรงเรียนไม่เพียงพอต่อการบริหารจัดการด้านเกษตรในโรงเรียน จึงต้องมีการพัฒนาปรับปรุงโดยเพิ่มพื้นที่แปรงเกษตรให้เพียงพอ และขยายผลพื้นที่แปรงเกษตรจากชุมชนสู่โรงเรียน
ในปีดำเนินการที่ 2 ระยะตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2559 – เมษายน 2560 ทางโรงเรียนมุ่งต่อยอด /ต่อทุนเดิมที่มีอยู่ โดยการพัฒนางานทั้ง 8 องค์ประกอบให้ดียิ่งขึ้น เน้นที่การพัฒนาคน พัฒนาคุณภาพอาหาร และเชื่อมโยงการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการพัฒนาโรงเรียนสู่ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาการจัดอาหารกลางวันที่มีคุณภาพให้นักเรียนได้รับประทาน
- เพื่อแก้ปัญหาภาวะโภชนาการ และปรับพฤติกรรมด้านสุขภาพให้กับนักเรียน
- เพื่อให้ครู บุคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการพัฒนางานด้านการบริหารจัดการอาหาร โภชนาการและสุขภาพของนักเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการผลิตพืช การขยายพันธุ์พืช การป้องกันโรค – แมลง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
- สหกรณ์นักเรียนสามารถนำผลิตผลทางการเกษตรมาส่งให้โรงอาหารได้อย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี
- นักเรียนเข้าใจหลักการและทักษะในการทำงานแบบสหกรณ์ นำไปใช้ในการดำเนินชีวิตได้
- นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสะอาดปลอดภัย
- นักเรียนมีการเจริญเติบโตตามมาตรฐาน และไม่มีภาวะทุโภชนาการ
- นักเรียนได้อยู่ในสภาวะสิ่งแวดล้อมที่ดี เอื้อต่อสุขภาพอนามัยที่ดี
- นักเรียนได้รับการช่วยเหลือแก้ไขการเจ็บป่วยเบื้องต้นที่เหมาะสม
- นักเรียนมีลักษะนิสัยที่ดี มีเจตคติที่ดีในเรื่องการเกษตรยั่งยืน โภชนาการ และสุขภาพอนามัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมชี้แจงนโยบาย ความเป็นมา และความสำคัญของโครงการเด็กไทยแก้มใส
วันที่ 19 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- นายประสงค์ชูใจ กล่าวเปิดการประชุม
- แนะนำผู้มีส่วนร่วม ผู้สนับสนุนโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส จากชุมชน อสม. อบต.หนองงูเหลือม รพ.สต.นาตาวงษ์
- แนะนำโครงการ และความสำคัญของโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
- ชี้แจงวัตถุประสงค์ แนวทางการดำเนินงานของโครงการ
- ชมนิทรรศการอาหารปลอดภัย การจัดบริการอาหารของโรงเรียน
- เยี่ยมชมกิจกรรม การประกอบ ปรุงอาหารจากโรงอาหารของโรงเรียน
- ปิดการประชุม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- มีภาคีเครือข่าย ผู้มีส่วนร่วม ผู้สนับสนุน โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสได้รับฟัง รับรู้ และมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมตามโครงการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ที่ตั้งไว้
- ภาคีเครือข่าย ผู้มีส่วนร่วม ผู้สนับสนุน โครงการฯ ได้รับทราบนโยบาย ความเป็นมา และความสำคัญของโครงการ และพร้อมให้ความร่วมมือในการดำเนินโครงการ
19
200
2. อบรมให้ความรู้และทักษะเรื่อง เกษตรปลอดภัย
วันที่ 24 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00-16.00 น.กิจกรรมที่ทำ
เกษตรกร ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตร และผู้ปกครองนักเรียนที่ทำการเกษตร จำนวน 60 คนลงทะเบียนเข้ารับการอบรม รับเอกสารประกอบการอบรม จากนั้นเป็นการกล่าวเปิดการอบรม โดยนายประสงค์ชูใจ ผู้อำนวยการโรงเรียนชุมชนวัดรวง ได้กล่าวเปิดการอบรม ชี้แจงวัตถุประสงค์ และเป้าหมายในการอบรมผู้เข้ารับการอบรมรับฟังการบรรยายเรื่องเกษตรปลอดภัย จากนางสาวผกากรองกุลงูเหลือม ผู้อำนวยการกองส่งเสริมการเกษตร องค์การบริหารส่วนตำบลหนองงูเหลือมและชมการสาธิตการผลิตปุ๋ยอินทรีย์น้ำ โดยใช้สารเร่ง ซุปเปอร์ พด.2 จากวิทยากรภูมิปัญญา หมอดิน ในชุมชน นายดี พิณศิริและได้ฝึกปฏิบัติจริงในการผลิตปุ๋ยอินทรีย์น้ำ ่โดย ละลายสารเร่ง พด.2 ในน้ำ 30 ลิตร ผสมให้เข้ากันนาน 5 นาที จากนั้นผสมเศษผักและเปลือกผลไม้ที่เตรียมไว้และกากน้ำตาลลงในถังหมักแล้วเทสารละลาย พด.2 ในข้อ 1 ผสมลงในถังหมัก คลุกเคล้าส่วนผสมให้เข้ากันอีกครั้งและตั้งในอยู่ที่ร่ม ใช้เวลาประมาณ 7 วัน จากนั้นนำไปใช้ผสมในอัตราส่วนที่กำหนด รดน้ำผักและผลไม้ได้ตามต้องการ หลังจากทดลองทำปุ๋ยเสร็จแล้ว เปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการอบรม ซักถาม ซักถาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ อภิปรายสรุป
และเน้นย้ำให้ผู้เข้ารับการอบรมนำความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ไปใช้ในการส่งเสริมผลผลิตทางการเกษตรปลอดภัย และร่วมเป็นเครือข่ายในการส่งเสริมผลผลิตด้านการเกษตรสู่สหกรณ์นักเรียน และโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียนต่อไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เกษตรกร ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตร และผู้ปกครองนักเรียนที่ทำการเกษตร ได้รับองค์ความรู้เกี่ยวกับการเกษตรที่ปลอดภัย สามารถที่จะนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการผลิต ผลผลิตทางด้านการเกษตรใช้บริโภคในครัวเรือน และสามารถนำมาจำหน่ายให้ร้านค้าสหกรณ์นักเรียนโรงเรียนชุมชนวัดรวงได้
- ผู้เข้ารับการอบรมทุกคนมีส่วนร่วมเป็นเครือข่ายในการส่งเสริมผลผลิตด้านการเกษตรที่ปลอดสารพิษสู่สหกรณ์นักเรียนได้
- ผู้เข้ารับการอบรมมีเจตคติที่ดีต่อการเพิ่มผลผลิตเกษตรปลอดภัยโดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์น้ำ ที่ทำได้ง่ายและปลอดภัยต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม
60
95
3. การเกษตรและสร้างเครือข่าย
วันที่ 29 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ปรับปรุงโรงเรือนการเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐาน โดยจัดทำระบบน้ำ เพิ่มเติมจากโรงเรือนเดิมที่มีอยู่
- จัดซื้อก้อนเชื้อเห็ดนางฟ้าภูฐาน และเห็ดนางฟ้าฮังการี
- เพิ่มจำนวนแปลงเพื่อปลูกพืชผักสวนครัวเพื่อนำมาเป็นอาหารกลางวัน
- ปรับปรุงดิน จัดซื้อปุ๋ยมูลสัตว์ เพื่อบำรุงดิน
- จัดซื้อเมล็ดพันธุ์พืชผักสวนครัวที่จะใช้ปลูก
- เพาะเห็ดนางฟ้า และปลูกพืชผักสวนครัวหมุนเวียนนำไปจำหน่ายที่ร้านค้าสหกรณ์นักเรียน และจำหน่ายให้ชุมชน
- จัดกิจกรรมศึกษาดูงานแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ในชุมชนบ้านโนนด่าน หมู่ 11 ต.โตนด อ.โนนสูง จ.นครราชสีมา เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้ และประสบการณ์ตรงด้านการทำเกษตรปลอดภัย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ครูและนักเรียนได้เรียนรู้เรื่องการเกษตร ปัจจัยการผลิต กระบวนการผลิต การเก็บเกี่ยว การจำหน่าย และการกระจายผลผลิตสู่ผู้บริโภค
- นักเรียนได้บริโภคพืชผักที่ปลอดสารพิษ รักการบริโภคผักมากขึ้น
- นักเรียนมีความรู้ ทักษะ ด้านการเกษตร และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพกสิกรรม และการทำเกษตรอินทรีย์แบบพอเพียง
- นักเรียนภาคภูมิใจในภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านการเกษตร
169
291
4. เยี่ยมบ้านนักเรียน
วันที่ 30 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมชี้แจงคณะครู บุคลากรเกี่ยวกับความสำคัญ วัตถุประสงค์ ขั้นตอนวิธีการ หลักในการเยี่ยมบ้าน บทบาทของผู้เยี่ยมบ้านที่ดี ฯลฯ
- จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ แบบบันทึกการเยี่ยมบ้าน แบบสอบถามเพื่อประเมินสถานการณ์การรับประทานอาหารและการออกกำลังกายเมื่อนักเรียนอยู่ที่บ้าน
- นัดหมายกับผู้ปกครองนักเรียนออกเยี่ยมบ้านตามวันและเวลาที่กำหนด
- นำข้อมูลมาวิเคราะห์ คัดกรองกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มปกติ
- ประชุมสรุปร่วมกับระหว่างผู้ปกครองนักเรียนกลุ่มเสี่ยงที่จะมีปัญหาด้านสุขภาพอนามัย เพื่อหาวิธีการแก้ไขปัญหา
- สรุปรายงานผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนทุกคนได้รับการเยียมบ้าน ได้รับการประเมินสถานการณ์ด้านอาหารและการออกกำลังกายเมื่ออยู่ที่บ้าน
- นักเรียนทุกคนได้รับการดูแลช่วยเหลืออย่างทั่วถึงและตรงสภาพปัญหา
- ผู้ปกครองนักเรียนมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และให้ความร่วมมือทำให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียน ด้านสุขภาพอนามัย มีความชัดเจนเป็นรูปธรรมมากขึ้น
- โรงเรียนได้ข้อมูลพื้นฐานเชิงประจักษ์ จากการพูดคุย สัมภาษณ์ สอบถาม ผู้ปกครองนักเรียน รวมทั้งเห็นสภาพจริงในการดำเนินชีวิตของนักเรียนเมื่ออยู่ที่บ้าน และสามารถนำข้อมูลดังกล่าวมาใช้ในการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลได้
547
547
5. ถอนเงินคืน/เปิดบัญชี
วันที่ 21 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ถอนเงินคืนเปิดบัญชี ธนาคารกรุงไทย สาขาจอหอ จังหวัดนครราชสีมา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
โรงเรียนได้ถอนเงินคืนเปิดบัญชี ธนาคารกรุงไทย สาขาจอหอ จังหวัดนครราชสีมา
0
0
6. ปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน
วันที่ 11 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- แบ่งพื้นที่การเกษตรออกเป็นระดับชั้น
- ผู้ปกครองร่วมกันทำแปลงเกษตรในแต่ละชั้น
- นักเรียน และครูร่วมกันปลูกพืชผักที่ได้รับสนับสนุนเมล็ดพันธุ์จากสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครราชสีมา
- นำผลผลิตส่งจำหน่ายร้านค้าสหกรณ์นักเรียนเพื่อส่งต่อโครงการอาหารกลางวันต่อไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนเกิดความรู้ ทักษะและเจตคติที่ดีต่องานด้านการเกษตร เกิดประสบการณ์ตรง และมีความภาคภูมิใจในผลผลิตของตนเอง และเพื่อนร่วมชั้นเรียน
262
260
7. เครือข่ายเกษตรชุมชน ปลูกผัก ผลไม้ ปลอดสารพิษ
วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- โรงเรียนชี้แจงการดำเนินงานให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย ทราบ
2.ร่วมกันวางแผนผลผลิต โดยใช้เมล็ดพันธุ์ผักส่วนหนึ่งที่ได้รับแจกจาก สำนักงานเกษตรและสหกรณ์ แจกจ่ายให้นักเรียนไปปลูกที่บ้าน
3.วางแผนการผลิตร่วมกับชุมชนเกษตรอินทรีย์ หมู่บ้านโนนด่านหมู่ที่ 11 ต.โตนด อ.โนนสูง จ.นครราชสีมา
- ออกเยี่ยมแปลงเกษตรในชุมชน และที่บ้านของนักเรียน
- รับซื้อผลผลิตเกษตรจากครอบครัวของนักเรียน ชุมชน สู่โครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน
- ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.โรงเรียนได้รับผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดสารพิษจากชุมชน จากครอบครัวของนักเรียน มาใช้ประกอบปรุงอาหารในโครงการอาหารกลางวัน
2. ชุมชนได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาโครงการเด็กไทยแก้มใส ด้านเกษตรในโรงเรียน เพราะโรงเรียนมีพื้นที่จำกัดและขาดทักษะในการเกษตร
3. โรงเรียนและชุมชนมีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน ร่วมพัฒนาโครงการให้มีความยั่งยืน และเกิดความภาคภูมิใจร่วมกันในการพัฒนาสุขภาพของนักเรียนด้านอาหารและโภชนาการปลอดภัย
255
176
8. อบรมให้ความรู้เรื่องการบริการอาหารแก่โรงเรียนภาคีเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส จำนวน 8 โรงเรียน
วันที่ 6 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุม ชี้แจง วัตถุประสงค์ เป้าหมายของกิจกรรมศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส
- ชมวิดีทัศน์ แนะนำโครงการ และวิดิทัศน์การดำเนินงานของโรงเรียน
- ให้ความรู้เรื่องการจัดบริการอาหารกลางวันที่มีคุณค่า แนวทางการจัดอาหารหมุนเวียนที่ได้มาตรฐานอาหารกลางวัน
- อบรมเชิงปฏิบัติการโปรแกรม TSL ฝึกปฏิบัติจริง
- ให้กรอบแนวทางที่ถูกวิธีในการประเมินภาวะโภชนการนักเรียน (การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ที่ถูกวิธี)
- สรุป ซักถาม และเน้นย้่ำการนำไปปฏิบัติจริง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- โรงเรียนเครือข่ายแก้มใส ทั้ง 7 โรงเรียน ได้รับทราบเกี่ยวกับการดำเนินงานศูนย์เรียนรู้โครงการเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนชุมชนวัดรวง และเป็นเครือข่ายด้วยความสมัครใจ
- โรงเรียนเครือข่าย สามารถนำแนวทางของโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ไปปฏิบัติจริงในสถานศึกษา เพื่อพัฒนาการจัดบริการอาหารกลางวันที่มีคุณค่าต่อไป
- โรงเรียนมีการขยายเครือข่ายด้านการจัดบริการอาหารกลางวันตามแนวทางของศูนย์เรียนรู้โรงเรียนเด็กไทยแก้มใส เพิ่มมากขึ้น
16
20
9. อบรมให้ความรู้นักเรียน เกี่ยวกับการสังเกตและการเลือกซื้ออาหารปลอดภัย
วันที่ 10 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- นักเรียนลงทะเบียนเข้ารับการอบรม
- ครูผู้รับผิดชอบโครงการ กล่าวรายงานวัตถุประสงค์ของกิจกรรม รวมทั้งวิธีดำเนินการต่อ ผู้อำนวยการประสงค์ ชูใจ ผู้อำนวยการโรงเรียนชุมชนวัดรวง
- ผู้อำนวยการกล่าวเปิดการอบรมและบรรยายพิเศษ เรื่อง อาหารปลอดภัยในโรงเรียน
4. นักเรียนดูวิดีทัศน์เรื่อง อาหารปลอดภัย การ์ตูนภัยร้ายน้ำอัดลมพร้อมทั้งให้สนทนาพูดคุยเกี่ยวกับน้ำอัดลม
- แบ่งกลุ่มนักเรียนให้ศึกษาใบความรู้ และศึกษาเรื่องอาหารปลอดภัย จากฐานการเรียนรู้
- นักเรียนฝึกปฏิบัติการอ่านฉลากโภชนาการ โดยครูเน้นย้ำให้นักเรียนตระหนักและเห็นความสำคัญของฉลากโภชนาการและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
- นักเรียนเชื่อมโยงประสบการณ์จากองค์ความรู้ที่ได้รับในรูปแบบ การจัดนิทรรศการผลงาน การออกอากาศเสียงตามสาย การแสดงบทบาทสมมติ
8. อภิปรายสรุป ซักถาม
- ปิดการอบรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1. นักเรียนได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัตจริงเรื่องการอ่านฉลากโภชนาการ การเลือกซื้อขนม นม และอาหารปลอดภัย
2. นักเรียนนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปใช้ในเลือกรับประทานอาหารปลอดภัยในชีวิตประจำวัน
3. นักเรียนสามารถถ่ายทอดประสบการณ์โดยการจัดป้ายนิเทศ ออกอากาศเสียงตามสาย การแสดงบทบาทสมมติได้
165
160
10. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการพัฒนาคุณภาพการจัดบริการอาหาร
วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
เวลา08.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมอบรม ทั้งครู ผู้ปกครอง ชุมชน อสม. ฯลฯ จากนั้นเปิดการอบรม โดยผู้รับผิดชอบกิจกรรม นางสาวดาวเรือง ขึงโพธิ์ กล่าวรายงาน ผู้อำนวยการโรงเรียนชุมชนวัดรวง นายประสงค์ ชูใจ กล่าวเปิดการอบรม พร้อมทั้งบรรยายพิเศษให้ความรู้แก่ผู้เข้าอบรมเกี่ยวกับการบริหารจัดการคุณภาพอาหารกลางวันของทางโรงเรียน พร้อมทั้งแนะนำวิธีการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์เพื่อทำให้ร่างกายแข็งแรง จากนั้น รับชมวีดิทัศน์แนะนำโครงการเด็กไทยแก้มใส ของ สสส. และนางสาวดาวเรือง ขึงโพธิ์ บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำโปรแกรมจัดเมนูอาหาร Thai school Lunch เวลา 10.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง จากนั้น ผู้เข้ารับการอบรม ฝึกปฏิบัติการจัดบริการอาหารโดยใช้โปรแกรม เพื่อศึกษาเกี่ยวกับคุณค่าของอาหารที่จัด 12.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00น.แบ่งกลุ่มย่อย ฝึกปฏิบัติการจัดบริการอาหาร การตักอาหารให้ถูกส่วน อาหารปลอดภัยในร้านสหกรณ์นักเรียน และฝึกปฏิบัติคิดค่าดัชนีมวลกาย โดยทีม อสม. โดยเน้นให้ผู้เข้ารับการอบรมปฏิบัติจริงในแต่ละฐานการเรียนรู้ 14.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง และเข้ากลุ่มฐานการเรียนรู้ต่อเนื่อง 15.30 น. เป็นการอภิปราย สรุป ซักถาม และเน้นย้ำให้ผู้เข้ารับการอบรมนำความรู้และทักษะที่ได้รับจากการอบรมไปใช้ในการพัฒนาการจัดบริการอาหารให้แก่นักเรียนเมื่ออยู่ที่บ้าน 16.00 น. พิธีปิดการอบรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้เข้ารับการอบรมทุกคนได้เรียนรู้ และฝึกปฏิบัติจริงเกี่ยวกับการจัดบริการอาหารที่มีคุณภาพ การตักอาหารที่ถูกส่วน อาหารปลอดภัย
- ผู้เข้ารับการอบรมตระหนักและเห็นความสำคัญของอาหารที่ดี มีคุณภาพ ที่มีผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุตรหลาน
- โรงเรียน ชุมชน และภาคีเครือข่ายมีความสัมพันธ์อันดีต่อกันและได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
200
168
11. รายงานสถานการณ์ด้านภาวะโภชนาการของนักเรียน
วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงของนักเรียนทุกคน ครั้งที่ 1 ภายในวันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 และครั้งที่ 2 ภายใน 28 กุมภาพันธ์ 2560
- ลงข้อมูลน้ำหนัก ส่วนสูง ในโปรแกรมคำนวณภาวะโภชนาการ โดยสถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
- บันทึกในโปรแกรมภาวะโภชนาการ รายงานออนไลน์ในโครงการศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส โรงเรียนชุมชนวัดรวง
- ร่วมกันวิเคราะห์ผลการติดตามการเฝ้าระวังน้ำหนัก ส่วนสูง เฝ้าระวังภาวะโภชนาการ
- ประชุมชี้แจงนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการเพื่อเฝ้าระวัง ร่วมกับผู้ปกครอง
- จัดกิจกรรมเสริมเพื่อพัฒนาแก้ปัญหาภาวะโภชนาการให้กับนักเรียนที่มีปัญหา โดยการ ออกกำลังกายเดินเร็ว เต้นแอโรบิก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนมีภาวะโภชนาการ ดังนี้
- นักเรียนมีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ (<-2 SD) จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 0.74
- นักเรียนเตี้ย จำนวน 4 คน คิิดเป็นร้อยละ 1.48
- นักเรียนอ้วน และเริ่มอ้วน จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 6.65
- นักเรียนผอม จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 1.11
2. นักเรียนตระหนักในปัญหาภาวะโภชนาการของตนเอง และสามารถเรียนรู้วิธีการแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง
- ผู้ปกครองและโรงเรียนเกิดความร่วมมือกันอันดี ในการเฝ้าระวังปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
0
283
12. ค่ายรักษ์สุขภาพ (นักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ)
วันที่ 8 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมค่ายสุขภาพ สำหรับนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ (อ้วน เริ่มอ้วน เตี้ย และผอม) โดยเชิญผู้ปกครองนักเรียนกลุ่มดังกล่าวมาเข้าร่วมกิจกรรมกับนักเรียน โดยจัดกิจกรรมส่งเสริมความรู้ ด้านสุขภาพอนามัย พฤติกรรม สุขนิสัย และการสร้างวิถีสุขภาพ โดยการให้ความรู้ของคณะวิทยากร จากความร่วมมือของโรงเรียน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพสต.) หลังจากการรับความรู้ด้านสุขภาพ มีการแบ่งฐานการเรียนรู้ออกเป็นฐาน การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง การประเมินภาวะโภชนาการได้ด้วยตนอง ฐานการจัดและบริการอาหาร ที่พอเหมาะ และเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย ฐานอ่อนหวาน น้ำตาลน้อย และสุดท้ายเป็นการทำสัญญาใจว่าจะพัฒนาสุขภาพของตนเองให้แข็งแรง ไม่มีภาวะทุโภชนาการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน กลุ่มเป้าหมายให้ความร่วมมือในการร่วมกิจกรรม สามารถดำเนินการตามกิจกรรมที่กำหนด นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชนกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ด้านสุขภาพอนามัย สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคเพื่อแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของตนเอง และของนักเรียนในปกครองให้มีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น คือ มีน้ำหนัก และส่วนสูงสัมพันธ์กับอายุ
100
45
13. ุถอนเงินคืน/ดอกเบี้ยธนาคาร
วันที่ 20 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้อำนวยการประสงค์ ชูใจ และคณะครูจำนวนน 3 คน ไปถอนเงินดอกเบี้ยจาก ธนาคารกรุงไทย สาขาจอหอ นครราชสีมา เพื่อนำดอกเบี้ยคืน สสส.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ถอนเงินดอกเบี้ยจากบัญชี ศรร.ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส (โรงเรียนชุมชนวัดรวงจังหวัดนครราชสีมา) จำนวน 41.43 บาท
3
3
14. ตรวจโครงการฯ รายงานความก้าวหน้าและรายงานการเงิน งวด 2
วันที่ 21 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานสรุปการเงินปิดโครงการ (ง.2) และรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ (ส.3)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้อำนวยการโรงเรียนและครูผู้รับผิดชอบโครงการ เดินทางเข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานสรุปการเงินปิดโครงการ (ง.2) และรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ (ส.3) ณ โรงแรมเจริญธานี จังหวัดขอนแก่น ในวันอังคาร ที่ 21 มีนาคม 2560
ผลผลิต ครูและบุคลากรในโรงเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานของโครงการเด็กไทยแก้มใส ผลลัพธ์ โรงเรียนมีรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ที่ถูกต้อง
2
2
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อพัฒนาการจัดอาหารกลางวันที่มีคุณภาพให้นักเรียนได้รับประทาน
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนร้อยละ 100 ได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณภาพ มีคุณค่าทางสารอาหารครบ
2. นักเรียนร้อยละ 100 ได้รับประทานผัก ผลไม้ ตามสัดส่วนมาตรฐาน
3. ผู้ปกครองนักเรียนจัดอาหารให้เด็กรับประทานผักที่บ้านเพิ่มมากขึ้น
4. ครู บุคลากร แม่ครัว ผุู้ปกครองนักเรียน สามารถจัดอาหารที่มีคุณภาพ อาหารปลอดภัยให้กับนักเรียนได้รับประทาน
2
เพื่อแก้ปัญหาภาวะโภชนาการ และปรับพฤติกรรมด้านสุขภาพให้กับนักเรียน
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนมีการเจริญเติบโตสมวัย :น้ำหนักส่วนสูง ภาวะอ้วนผอมเตี้ย ไม่เกินร้อยละ 7
2. นักเรียนได้รับประทานผัก ผลไม้วันละประมาณ 40-100 กรัม และได้รับประทานผลไม้ประมาณ 1 ส่วนต่อมื้อต่อคน
3. นักเรียนทุกคนได้ออกกำลังกายทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน
3
เพื่อให้ครู บุคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการพัฒนางานด้านการบริหารจัดการอาหาร โภชนาการและสุขภาพของนักเรียน
ตัวชี้วัด : นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน มีส่วนร่วมในการพัฒนางานด้านอาหารและโภชนาการร่วมกัน
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โรงเรียนชุมชนวัดรวง จังหวัด นครราชสีมา
รหัสโครงการ ศรร.1312-062
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายประสงค์ ชูใจ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โรงเรียนชุมชนวัดรวง
“ โรงเรียนชุมชนวัดรวง ”
ตำบลหนองงูเหลือม อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมาหัวหน้าโครงการ
นายประสงค์ ชูใจ
ชื่อโครงการ โรงเรียนชุมชนวัดรวง
ที่อยู่ ตำบลหนองงูเหลือม อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัด นครราชสีมา
รหัสโครงการ ศรร.1312-062 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.16
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนชุมชนวัดรวง จังหวัดนครราชสีมา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองงูเหลือม อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนชุมชนวัดรวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนชุมชนวัดรวง
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนชุมชนวัดรวง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองงูเหลือม อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา รหัสโครงการ ศรร.1312-062 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนชุมชนวัดรวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 544 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการดำเนินงานเด็กไทยแก้มใสทั้ง 8 องค์ประกอบ ใน 1 ปีที่ผ่านมาของโรงเรียนชุมชนวัดรวง
ได้ดำเนินงานตามกรอบแนวคิดเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ซึ่งผลการดำเนินงานในระยะปีที่ 1 ถือว่ามีผลการดำเนินงานอยู่ในระดับที่น่าพึงพอใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์ประกอบด้านสหกรณ์นักเรียน การจัดการบริหารของโรงเรียนการติดตามภาวะโภชนาการการพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียนการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะการจัดบริการสุขภาพ และการจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย
สำหรับด้านการเกษตรในโรงเรียน มีปัญหาอุปสรรคบ้างคือ เรื่องพื้นที่เกษตรในโรงเรียนไม่เพียงพอต่อการบริหารจัดการด้านเกษตรในโรงเรียน จึงต้องมีการพัฒนาปรับปรุงโดยเพิ่มพื้นที่แปรงเกษตรให้เพียงพอ และขยายผลพื้นที่แปรงเกษตรจากชุมชนสู่โรงเรียน
ในปีดำเนินการที่ 2 ระยะตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2559 – เมษายน 2560 ทางโรงเรียนมุ่งต่อยอด /ต่อทุนเดิมที่มีอยู่ โดยการพัฒนางานทั้ง 8 องค์ประกอบให้ดียิ่งขึ้น เน้นที่การพัฒนาคน พัฒนาคุณภาพอาหาร และเชื่อมโยงการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการพัฒนาโรงเรียนสู่ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาการจัดอาหารกลางวันที่มีคุณภาพให้นักเรียนได้รับประทาน
- เพื่อแก้ปัญหาภาวะโภชนาการ และปรับพฤติกรรมด้านสุขภาพให้กับนักเรียน
- เพื่อให้ครู บุคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการพัฒนางานด้านการบริหารจัดการอาหาร โภชนาการและสุขภาพของนักเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการผลิตพืช การขยายพันธุ์พืช การป้องกันโรค – แมลง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
- สหกรณ์นักเรียนสามารถนำผลิตผลทางการเกษตรมาส่งให้โรงอาหารได้อย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี
- นักเรียนเข้าใจหลักการและทักษะในการทำงานแบบสหกรณ์ นำไปใช้ในการดำเนินชีวิตได้
- นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสะอาดปลอดภัย
- นักเรียนมีการเจริญเติบโตตามมาตรฐาน และไม่มีภาวะทุโภชนาการ
- นักเรียนได้อยู่ในสภาวะสิ่งแวดล้อมที่ดี เอื้อต่อสุขภาพอนามัยที่ดี
- นักเรียนได้รับการช่วยเหลือแก้ไขการเจ็บป่วยเบื้องต้นที่เหมาะสม
- นักเรียนมีลักษะนิสัยที่ดี มีเจตคติที่ดีในเรื่องการเกษตรยั่งยืน โภชนาการ และสุขภาพอนามัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมชี้แจงนโยบาย ความเป็นมา และความสำคัญของโครงการเด็กไทยแก้มใส |
||
วันที่ 19 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
19 | 200 |
2. อบรมให้ความรู้และทักษะเรื่อง เกษตรปลอดภัย |
||
วันที่ 24 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00-16.00 น.กิจกรรมที่ทำเกษตรกร ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตร และผู้ปกครองนักเรียนที่ทำการเกษตร จำนวน 60 คนลงทะเบียนเข้ารับการอบรม รับเอกสารประกอบการอบรม จากนั้นเป็นการกล่าวเปิดการอบรม โดยนายประสงค์ชูใจ ผู้อำนวยการโรงเรียนชุมชนวัดรวง ได้กล่าวเปิดการอบรม ชี้แจงวัตถุประสงค์ และเป้าหมายในการอบรมผู้เข้ารับการอบรมรับฟังการบรรยายเรื่องเกษตรปลอดภัย จากนางสาวผกากรองกุลงูเหลือม ผู้อำนวยการกองส่งเสริมการเกษตร องค์การบริหารส่วนตำบลหนองงูเหลือมและชมการสาธิตการผลิตปุ๋ยอินทรีย์น้ำ โดยใช้สารเร่ง ซุปเปอร์ พด.2 จากวิทยากรภูมิปัญญา หมอดิน ในชุมชน นายดี พิณศิริและได้ฝึกปฏิบัติจริงในการผลิตปุ๋ยอินทรีย์น้ำ ่โดย ละลายสารเร่ง พด.2 ในน้ำ 30 ลิตร ผสมให้เข้ากันนาน 5 นาที จากนั้นผสมเศษผักและเปลือกผลไม้ที่เตรียมไว้และกากน้ำตาลลงในถังหมักแล้วเทสารละลาย พด.2 ในข้อ 1 ผสมลงในถังหมัก คลุกเคล้าส่วนผสมให้เข้ากันอีกครั้งและตั้งในอยู่ที่ร่ม ใช้เวลาประมาณ 7 วัน จากนั้นนำไปใช้ผสมในอัตราส่วนที่กำหนด รดน้ำผักและผลไม้ได้ตามต้องการ หลังจากทดลองทำปุ๋ยเสร็จแล้ว เปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการอบรม ซักถาม ซักถาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ อภิปรายสรุป และเน้นย้ำให้ผู้เข้ารับการอบรมนำความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ไปใช้ในการส่งเสริมผลผลิตทางการเกษตรปลอดภัย และร่วมเป็นเครือข่ายในการส่งเสริมผลผลิตด้านการเกษตรสู่สหกรณ์นักเรียน และโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียนต่อไป ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
60 | 95 |
3. การเกษตรและสร้างเครือข่าย |
||
วันที่ 29 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
169 | 291 |
4. เยี่ยมบ้านนักเรียน |
||
วันที่ 30 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
547 | 547 |
5. ถอนเงินคืน/เปิดบัญชี |
||
วันที่ 21 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำถอนเงินคืนเปิดบัญชี ธนาคารกรุงไทย สาขาจอหอ จังหวัดนครราชสีมา ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นโรงเรียนได้ถอนเงินคืนเปิดบัญชี ธนาคารกรุงไทย สาขาจอหอ จังหวัดนครราชสีมา
|
0 | 0 |
6. ปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน |
||
วันที่ 11 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนเกิดความรู้ ทักษะและเจตคติที่ดีต่องานด้านการเกษตร เกิดประสบการณ์ตรง และมีความภาคภูมิใจในผลผลิตของตนเอง และเพื่อนร่วมชั้นเรียน
|
262 | 260 |
7. เครือข่ายเกษตรชุมชน ปลูกผัก ผลไม้ ปลอดสารพิษ |
||
วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.โรงเรียนได้รับผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดสารพิษจากชุมชน จากครอบครัวของนักเรียน มาใช้ประกอบปรุงอาหารในโครงการอาหารกลางวัน
2. ชุมชนได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาโครงการเด็กไทยแก้มใส ด้านเกษตรในโรงเรียน เพราะโรงเรียนมีพื้นที่จำกัดและขาดทักษะในการเกษตร
|
255 | 176 |
8. อบรมให้ความรู้เรื่องการบริการอาหารแก่โรงเรียนภาคีเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส จำนวน 8 โรงเรียน |
||
วันที่ 6 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
16 | 20 |
9. อบรมให้ความรู้นักเรียน เกี่ยวกับการสังเกตและการเลือกซื้ออาหารปลอดภัย |
||
วันที่ 10 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1. นักเรียนได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัตจริงเรื่องการอ่านฉลากโภชนาการ การเลือกซื้อขนม นม และอาหารปลอดภัย 2. นักเรียนนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปใช้ในเลือกรับประทานอาหารปลอดภัยในชีวิตประจำวัน 3. นักเรียนสามารถถ่ายทอดประสบการณ์โดยการจัดป้ายนิเทศ ออกอากาศเสียงตามสาย การแสดงบทบาทสมมติได้
|
165 | 160 |
10. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการพัฒนาคุณภาพการจัดบริการอาหาร |
||
วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำเวลา08.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมอบรม ทั้งครู ผู้ปกครอง ชุมชน อสม. ฯลฯ จากนั้นเปิดการอบรม โดยผู้รับผิดชอบกิจกรรม นางสาวดาวเรือง ขึงโพธิ์ กล่าวรายงาน ผู้อำนวยการโรงเรียนชุมชนวัดรวง นายประสงค์ ชูใจ กล่าวเปิดการอบรม พร้อมทั้งบรรยายพิเศษให้ความรู้แก่ผู้เข้าอบรมเกี่ยวกับการบริหารจัดการคุณภาพอาหารกลางวันของทางโรงเรียน พร้อมทั้งแนะนำวิธีการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์เพื่อทำให้ร่างกายแข็งแรง จากนั้น รับชมวีดิทัศน์แนะนำโครงการเด็กไทยแก้มใส ของ สสส. และนางสาวดาวเรือง ขึงโพธิ์ บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำโปรแกรมจัดเมนูอาหาร Thai school Lunch เวลา 10.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง จากนั้น ผู้เข้ารับการอบรม ฝึกปฏิบัติการจัดบริการอาหารโดยใช้โปรแกรม เพื่อศึกษาเกี่ยวกับคุณค่าของอาหารที่จัด 12.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00น.แบ่งกลุ่มย่อย ฝึกปฏิบัติการจัดบริการอาหาร การตักอาหารให้ถูกส่วน อาหารปลอดภัยในร้านสหกรณ์นักเรียน และฝึกปฏิบัติคิดค่าดัชนีมวลกาย โดยทีม อสม. โดยเน้นให้ผู้เข้ารับการอบรมปฏิบัติจริงในแต่ละฐานการเรียนรู้ 14.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง และเข้ากลุ่มฐานการเรียนรู้ต่อเนื่อง 15.30 น. เป็นการอภิปราย สรุป ซักถาม และเน้นย้ำให้ผู้เข้ารับการอบรมนำความรู้และทักษะที่ได้รับจากการอบรมไปใช้ในการพัฒนาการจัดบริการอาหารให้แก่นักเรียนเมื่ออยู่ที่บ้าน 16.00 น. พิธีปิดการอบรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
200 | 168 |
11. รายงานสถานการณ์ด้านภาวะโภชนาการของนักเรียน |
||
วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 283 |
12. ค่ายรักษ์สุขภาพ (นักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ) |
||
วันที่ 8 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมค่ายสุขภาพ สำหรับนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ (อ้วน เริ่มอ้วน เตี้ย และผอม) โดยเชิญผู้ปกครองนักเรียนกลุ่มดังกล่าวมาเข้าร่วมกิจกรรมกับนักเรียน โดยจัดกิจกรรมส่งเสริมความรู้ ด้านสุขภาพอนามัย พฤติกรรม สุขนิสัย และการสร้างวิถีสุขภาพ โดยการให้ความรู้ของคณะวิทยากร จากความร่วมมือของโรงเรียน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพสต.) หลังจากการรับความรู้ด้านสุขภาพ มีการแบ่งฐานการเรียนรู้ออกเป็นฐาน การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง การประเมินภาวะโภชนาการได้ด้วยตนอง ฐานการจัดและบริการอาหาร ที่พอเหมาะ และเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย ฐานอ่อนหวาน น้ำตาลน้อย และสุดท้ายเป็นการทำสัญญาใจว่าจะพัฒนาสุขภาพของตนเองให้แข็งแรง ไม่มีภาวะทุโภชนาการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน กลุ่มเป้าหมายให้ความร่วมมือในการร่วมกิจกรรม สามารถดำเนินการตามกิจกรรมที่กำหนด นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชนกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ด้านสุขภาพอนามัย สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคเพื่อแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของตนเอง และของนักเรียนในปกครองให้มีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น คือ มีน้ำหนัก และส่วนสูงสัมพันธ์กับอายุ
|
100 | 45 |
13. ุถอนเงินคืน/ดอกเบี้ยธนาคาร |
||
วันที่ 20 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้อำนวยการประสงค์ ชูใจ และคณะครูจำนวนน 3 คน ไปถอนเงินดอกเบี้ยจาก ธนาคารกรุงไทย สาขาจอหอ นครราชสีมา เพื่อนำดอกเบี้ยคืน สสส. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ถอนเงินดอกเบี้ยจากบัญชี ศรร.ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส (โรงเรียนชุมชนวัดรวงจังหวัดนครราชสีมา) จำนวน 41.43 บาท
|
3 | 3 |
14. ตรวจโครงการฯ รายงานความก้าวหน้าและรายงานการเงิน งวด 2 |
||
วันที่ 21 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานสรุปการเงินปิดโครงการ (ง.2) และรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ (ส.3) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้อำนวยการโรงเรียนและครูผู้รับผิดชอบโครงการ เดินทางเข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานสรุปการเงินปิดโครงการ (ง.2) และรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ (ส.3) ณ โรงแรมเจริญธานี จังหวัดขอนแก่น ในวันอังคาร ที่ 21 มีนาคม 2560 ผลผลิต ครูและบุคลากรในโรงเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานของโครงการเด็กไทยแก้มใส ผลลัพธ์ โรงเรียนมีรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ที่ถูกต้อง
|
2 | 2 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาการจัดอาหารกลางวันที่มีคุณภาพให้นักเรียนได้รับประทาน ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนร้อยละ 100 ได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณภาพ มีคุณค่าทางสารอาหารครบ 2. นักเรียนร้อยละ 100 ได้รับประทานผัก ผลไม้ ตามสัดส่วนมาตรฐาน 3. ผู้ปกครองนักเรียนจัดอาหารให้เด็กรับประทานผักที่บ้านเพิ่มมากขึ้น 4. ครู บุคลากร แม่ครัว ผุู้ปกครองนักเรียน สามารถจัดอาหารที่มีคุณภาพ อาหารปลอดภัยให้กับนักเรียนได้รับประทาน |
||||
2 | เพื่อแก้ปัญหาภาวะโภชนาการ และปรับพฤติกรรมด้านสุขภาพให้กับนักเรียน ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนมีการเจริญเติบโตสมวัย :น้ำหนักส่วนสูง ภาวะอ้วนผอมเตี้ย ไม่เกินร้อยละ 7 2. นักเรียนได้รับประทานผัก ผลไม้วันละประมาณ 40-100 กรัม และได้รับประทานผลไม้ประมาณ 1 ส่วนต่อมื้อต่อคน 3. นักเรียนทุกคนได้ออกกำลังกายทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน |
||||
3 | เพื่อให้ครู บุคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการพัฒนางานด้านการบริหารจัดการอาหาร โภชนาการและสุขภาพของนักเรียน ตัวชี้วัด : นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน มีส่วนร่วมในการพัฒนางานด้านอาหารและโภชนาการร่วมกัน |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โรงเรียนชุมชนวัดรวง จังหวัด นครราชสีมา
รหัสโครงการ ศรร.1312-062
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายประสงค์ ชูใจ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......