ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนชุมชนวัดรวง

รหัสโครงการ ศรร.1312-062 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.16 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

เครือข่ายชุมชนร่่วมใจ ปลูกผักปลอดภัยบริโภคร่วมกัน

จากการที่โรงเรียนมีพื้นที่เกษตรน้อย ไม่เพียงพอกับการผลิตวัตถุดิบป้อนโรงอาหารของทางโรงเรียน ทางโรงเรียนจึงได้ดำเนินการดังนี้ 1.ร่วมกันวางแผนผลผลิต โดยใช้เมล็ดพันธุ์ผักส่วนหนึ่งที่ได้รับแจกจาก สำนักงานเกษตรและสหกรณ์ แจกจ่ายให้นักเรียนไปปลูกที่บ้าน
2.วางแผนการผลิตร่วมกับชุมชนเกษตรอินทรีย์ หมู่บ้านโนนด่านหมู่ที่ 11 ต.โตนด อ.โนนสูง จ.นครราชสีมา 3. ออกเยี่ยมแปลงเกษตรในชุมชน และที่บ้านของนักเรียน 4. รับซื้อผลผลิตเกษตรจากครอบครัวของนักเรียน ชุมชน สู่โครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน 5. ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน

เพิ่มเครือข่ายให้มากขึ้น

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

สหกรณ์อ่อนหวาน

  1. สหกรณ์นักเรียนสร้างข้อตกลงไม่จำหน่ายขนมกรุบกรอบ อาหาร และเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลเกิน 5%
  2. สหกรณ์นักเรียนรณรงค์ให้สมาชิกบริโภคอาหารอ่อนหวาน เช่น น้ำสมุนไพร หรือน้ำเปล่า แทนน้ำอัดลม

ขยายผล การบริโภคอาหาร เครื่องดื่มอ่อนหวาน สู่ชุมชน ครอบครัวของนักเรียน เพื่อให้เกิดผลยั่งยืน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

จัดบริการอาหารกลางวันให้นักเรียนทุกคน โดยใช้โปรแกรม Thai school lunch

จัดประชุมคณะครูและบุคลากร รวมผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดเมนูอาหารกลางวันของโรงเรียน เพื่อกำหนดเมนูอาหารกลางวัน ล่วงหน้า 1 เดือน โดยคำนึงถึงวัตถุดิบที่มีอยู่ในกิจกรรมเกษตรในโรงเรียนและผลผลิตที่มีอยู่ในชุมชนเป็นหลัก เมื่อได้รายการอาหารเสร็จแล้ว นำมาคำนวณเข้ากับโปรแกรมThai school lunch เพื่่อให้ได้สารอาหารครบถ้วน

ขยายผลการบริหารจัดการสู่ผู้ปกครองนักเรียน โดยเน้นให้ผู้ปกครองนักเรียนจัดเมนูอาหารเช้าและเย็นอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานธงโภชนาการ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

กิจกรรมออกกำลังกายลดพุงลดโรค

  1. จัดนักเรียนแกนนำ ฝึกฝนด้านการออกกำลังกายแบบแอโรบิก
  2. นักเรียนทั้งกลุ่มเป้าหมายคือนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ อ้วน ท้วม และค่อนข้างอ้วน มาออกกำลังกายโดยการเต้นแอโรบิกสัปดาห์ละ 3 ครั้ง
  3. นักเรียนทุกคนร่วมออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิกทุกวันพุธ ช่วงเย็น

ให้นักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ได้ออกกำลังกายโดยการเต้นแอโรบิกทุกวัน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

การล้างมือ 7 ขัั้นตอน

1.ฝึกปฏิบัติให้นักเรียนได้ฝึกล้างมือ 7 ขั้นตอน โดยผู้นำนักเรียน (อสร.) 2. ปฏิบัติจริงในชีวิตประจำวัน

เน้นย้ำให้นักเรียนปฏิบัติจริงและบอกต่อให้ผู้ปกครองนักเรียนได้รับทราบและเน้นย่้ำ ร่วมปฏิบัติจนเกิดเป็นนิสัย

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

โซนนิ่งความสะอาด

แบ่งเขตให้แต่ละระดับชั้น ตั้งแต่ อนุบาลปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ดูแลความสะอาดบริเวณโรงเรียน รวมทั้งเขตพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ โดยมีครูประจำชั้น และคณะกรรมการนักเรียนเป็นผู้ร่วมประเมินผลเพื่อปรับปรุงงาน

พัฒนาให้มีความต่อเนื่อง ยั่งยืน เป็นต้นแบบ เพื่อเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ และดูงาน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

การจัดห้องพยาบาลเพื่อใช้เป็นศูนย์บริการด้านสาธารณสุขมูลฐานในโรงเรียนที่พร้อมต่อการบริการสุขภาพนักเรียน

จัดห้องพยาบาลให้มีความพร้อม สะดวก ในการบริการการปฐมพยาบาลเบื้องต้น รวมทั้งให้การประสานความร่วมมือ ช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

การพัฒนาเจ้าหน้าที่ อาสาสมัครสาธารณสุขในโรงเรียน (อสร.) ให้มีความพร้อม มีความรู้ ความสามารถ และความคล่องตัว ในการด้านการบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐาน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ "สุขภาพดีชีวีมีสุข"

  1. จัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้เกี่ยวกับสุขภาพ
    ที่หลากหลาย ในแต่ละระดับชั้น
  2. ประเมินผลการจัดกิจกรรมร่วมกัน และพัฒนากิจกรรมให้มีลักษณะที่เน้นให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง

จัดทำรูปแบบกิจกรรมให้ชัดเจน และขยายผลสู่โรงเรียนเครือข่าย

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

1.หน่วยงานที่สนับสนุนงบประมาณ ได้แก่ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาพ(สสส.) องค์การบริหารส่วนตำบลหนองงูเหลือม
2. หน่วยงานที่สนับสนุนด้านเกษตรในโรงเรียน คือ กลุ่มชุมชนเกษตรอินทรีย์ หมู่บ้านโนนด่าน หมู่ 11 ต.โตนด หมอดินในชุมชนองค์การบริหารส่วนตำบลหนองงูเหลือม และ สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครราชสีมา ที่สนับสนุนเมล็ดพันธุ์ผัก 3. หน่วยงานที่สนับสนุนด้านสุขภาพอนามัย ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาตาวงษ์ (รพ.สต.นาตาวงษ์) โรงพยาบาลอำเภอเฉลิมพระเกียรติ
4. หน่วยงานที่สนับสนุนด้านสุขศึกษาในโรงเรียน ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาตาวงษ์ (รพ.สต.นาตาวงษ์) โรงพยาบาลอำเภอเฉลิมพระเกียรติ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์เชาวลิตกุล และยังมีกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ที่ให้ความช่วยเหลือและแนะนำด้านสุขภาพอนามัยให้กับครูและบุคลากร 5. กลุ่มเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน ให้ความร่วมมือ ดูแลสุขภาพกาย ใจ ของนักเรียนทุกคน

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

โรงเรียนจัดโรงอาหารและโรงครัวที่ถูกสุขบัญญัติและโภชนาการ โรงเรียนมีสนามกีฬาและสนามเด็กเล่นที่เอื้อต่อการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนมีสหกรณ์โรงเรียนและธนาคารโรงเรียนที่เป็นเอกเทศ โรงเรียนมีห้องพยาบาลที่สะอาด ปลอดภัย เพียงพอต่อการใช้บริการ โรงเรียนมีที่ดื่มน้ำ อ่างล้างมือ ที่แปรงฟัน เพียงพอต่อการใช้งาน

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

ผู้บริหารที่มีความรู้ ความเข้าใจ และพร้อมที่จะขับเคลื่อนกระบวนการดำเนินงาน เพื่อก้าวไปสู่ความสำเร็จนอกจากนี้ทีมทำงานยังมีความตระหนัก มีความสามัคคี ร่วมมือ ร่วมใจกันในการขับเคลื่อนกระบวนการดำเนินงาน

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

โรงเรียนบมีกระบวนการเรียนรู้ให้ครูโดยใช้วิธีการสร้างความตระหนักในความสำคัญของการพัฒนาด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน โดยให้ถือว่าเป็นหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติอย่างจริงจัง จริงใจ เป็นผู้ให้การเสริมแรงตรวจสอบ ผลการดำเนินงานของนักเรียน ซึ่งจะทำให้นักเรียนเกิดทักษะในการดำเนินชีวิตโดยมีครูเป็นที่ปรึกษา ส่วนกระบวนการเรียนรู้ของแม่ครัว คือ ประชุมชี้แจง เปิดใจแม่ครัวให้พร้อมรับสิ่งดีๆ ที่เปลี่ยนแปลงในด้านการจัดและบริการอาหารกลางวันให้กับนักเรียน บุตรหลานของตนเอง ยอมรับสิ่งใหม่ๆที่ไม่เคยรู้มาก่อน นำแม่ครัวมาอบรม พูดคุย ฝึกปฏิบัติจริงเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจมากขึ้นและนำไปปฏิบัติได้จริง

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินโครงการโดยประชุมเพื่อรับทราบข้อมูลและกิจกรรม ที่โรงเรียนจะดำเนินงานร่วมกัน ตลอดจนให้แสดงความคิดเห็นด้านต่างๆที่จะพัฒนาร่วมกัน จัดอบรมให้ความรู้กับผู้ปกครองเรื่องการจัดบริการอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการแก่ผู้ปกครองให้ได้ม่ีความรู้และสามารถนำไปจัดในมื้อเช้าและมื้อเย็นได้อย่างมีคุณภาพ รวมทั้งสร้างเครือข่ายด้านการเกษตรปลอดภัยให้แก่ผู้ปกครองและชุมชน เพื่อให้นำผลิตภัณฑ์เกษตรมาจำหน่ายให้กับโรงเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

โรงเรียนจัดซื้อจากเครือข่ายชุมชนปลูกผักปลอดสารพิษเพิ่มเติม

ภาพกิจกรรมเครือข่ายชุมชนปลูกผักปลอดสารพิษ แปลงผักหมู่บ้านโนนด่าน ม.11

  1. ขยายเครือข่ายชุมชนเพิ่มเติมให้มากขึ้น
  2. ส่งเสริมให้ผู้ปกครองนักเรียนปลูกผักปลอดสารพิษทุกครัวเรือน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

โรงเรียนจัดซื้อจากเครือข่ายชุมชนกลุ่มเลี้ยงไก่ไข่ เขียงหมูหมู่บ้านโนนด่าน

บัญชีการซื้้ออาหารโปรตีนในชุมชน

ขยายเครือข่ายให้มากขึั้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

โรงเรียนจัดซื้อจากชุมชน และจากตลาดสด

บัญชี รายการซื้ออาหารโปรตีน ปลา ในตลาดชุมชน

ขยายเครือข่ายให้มากขึ้น
เน้นย้ำให้เครือข่ายเลี้ยงสัตว์น้ำแบบธรรมชาติ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

สหกรณ์นักเรียนได้จัดบริการขายอาหารว่าง เช่น ซาลาเปา แซนด์วิช นมสด และผลไม้ที่ให้พลังงานสูงเช่น กล้วยน้ำว้าจำหน่ายในร้านสหกรณ์

ภาพถ่ายกิจกรรม การสัมภาษณ์สอบถาม

สหกรณ์นักเรียนจัดทำข้าวต้มจำหน่ายในช่วงเช้า

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

-โรงเรียนจัดอาหารที่มีผักเป็นส่วนประกอบทุกวัน ในปริมาณเฉลี่ยคนละประมาณ 40 กรัม และจัดผลไม้ให้นักเรียนอาทิตย์ละ 3-5 วัน ในปริมาณ ประมาณ 60 กรัม

ใช้โปรแกรม Thai School lunch ในการคำนวณ

เน้นย้ำการรับประทานผักให้ผู้ปกครองมาร่วมกิจกรรม เช่น จัดสาธิตเมนูผักแปลงร่าง ให้ผู้ปกครองนักเรียนได้ทำให้นักเรียนรับประทานที่บ้าน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

-โรงเรียนจัดอาหารที่มีผักเป็นส่วนประกอบทุกวัน ในปริมาณเฉลี่ยคนละประมาณ 60 กรัม และจัดผลไม้ให้นักเรียนอาทิตย์ละ 3-5 วัน ในปริมาณ ประมาณ 80 กรัม

ใช้โปรแกรม Thai School Lunch ในการคำนวณ

เน้นย้ำการรับประทานผักให้ผู้ปกครองมาร่วมกิจกรรม เช่น จัดสาธิตเมนูผักแปลงร่าง ให้ผู้ปกครองนักเรียนได้ทำให้นักเรียนรับประทานที่บ้าน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

โรงเรียนไม่มีนักเรียนอายุ13-18 ปี

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

โรงเรียนสร้างเครือข่ายเพื่อเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษจากชุมชน หน่วยงาน ดังนี้ 1. มีกลุ่มเครือข่ายผักปลอดสารพิษบ้านโนนด่าน ต.โตนด อ.โนนสูง จ.นครราชสีมา 2. กลุ่มผู้ปกครองเกษตรอินทรีย์
3. กลุ่มเลี้ยงไก่ไข่บ้านโนนกราด

  1. มีกลุ่มเครือข่ายผักปลอดสารพิษบ้านโนนด่าน ต.โตนด อ.โนนสูง จ.นครราชสีมา
  2. กลุ่มผู้ปกครองเกษตรอินทรีย์
  3. กลุ่มเลี้ยงไก่ไข่บ้านโนนกราด

ขยายความร่วมมือกับเครือข่ายให้เพิ่มมากขึ้น โดยการสร้างความตระหนักให้เครือข่ายเน้นการผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษ 100%

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

โรงเรียนได้มีการกำหนดรายการอาหารกลางวันล่วงหน้า 1 เดือนโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch ในการควบคุมปริมาณอาหาร จากโครงการเด็กไทยแก้มใส

รายการอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunch รายการจัดซื้อวัตถุดิบ ภาพกิจกรรม

ขยายผลให้กับโรงเรียนเครือข่าย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง ในแต่ละระดับชั้น และมีการประมวลโดยครูประจำชั้น ภาคเรียนละ 2 ครั้ง

บันทึกภาวะโภชนาการ

ส่งต่อข้อมูลให้ผู้ปกครองได้รับทราบถึงภาวะโภชนาการของนักเรียน และหาแนวทางร่วมในการพัฒนานักเรียนที่มีภาวะทุโภชนาการ

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/2
เตี้ย 2.19 2.19% 2.21 2.21% 2.19 2.19% 2.18 2.18% 1.51 1.51% 1.13 1.13% 1.48 1.48% 1.48 1.48% 1.08 1.08% 1.45 1.45% 1.79 1.79% 1.98 1.98%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 6.20 6.20% 5.15 5.15% 6.57 6.57% 5.82 5.82% 5.28 5.28% 4.91 4.91% 4.43 4.43% 5.54 5.54% 4.69 4.69% 5.80 5.80% 4.66 4.66% 6.72 6.72%
ผอม 6.57 6.57% 5.88 5.88% 5.15 5.15% 3.27 3.27% 3.77 3.77% 3.40 3.40% 1.85 1.85% 1.11 1.11% 2.17 2.17% 2.53 2.53% 1.79 1.79% 1.44 1.44%
ผอม+ค่อนข้างผอม 16.42 16.42% 15.07 15.07% 12.87 12.87% 10.55 10.55% 10.57 10.57% 9.81 9.81% 7.75 7.75% 6.27 6.27% 10.47 10.47% 10.11 10.11% 8.96 8.96% 7.91 7.91%
อ้วน 5.47 5.47% 5.88 5.88% 5.51 5.51% 5.09 5.09% 5.66 5.66% 5.66 5.66% 5.17 5.17% 5.17 5.17% 5.78 5.78% 5.78 5.78% 5.73 5.73% 5.04 5.04%
เริ่มอ้วน+อ้วน 8.39% 8.39% 9.93% 9.93% 8.82% 8.82% 9.09% 9.09% 8.68% 8.68% 7.92% 7.92% 7.01% 7.01% 6.64% 6.64% 9.39% 9.39% 8.30% 8.30% 8.24% 8.24% 8.63% 8.63%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง
  1. นักเรียนรวมตัวกันเดินเร็วทุกวันหลังเข้าแถวเคารพธงชาติ
  2. ควบคุมอาหารเที่ยงให้ความรู้และภาวะเสี่ยงเรื่องโรคอ้วน
  3. เข้าค่ายรักษ์สุขภาพ

ภาพถ่ายกิจกรรม แบบบันทึกผลการชั่งน้ำหนัก

ส่งต่อให้ผู้ปกครองร่วมส่งเสริมในการควบคุมอาหาร และส่งเสริมการออกกำลังกาย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

1.จัดอาหารที่มีคุณค่าทางสารอาหารครบถ้วนให้กับเด็กนักเรียนทุกคน โดยคำนวณตามโปรแกรม TSL 2.ประสานงานกับผู้ปกครองของนักเรียนในการรับประทานอาหารเมื่ออยู่ที่บ้าน

แบบบันทึกการออกกำลังกาย /เมนูอาหาร /บันทึกการชั่งน้ำหนัก

เน้นย้ำให้นักเรียนติดตามภาวะโภชนการของตนเองอย่างต่อเนื่อง และแจ้งผลการประเมินให้ผู้ปกครองรับทราบเป็นระยะ เพื่อร่วมหาแนวทางพัฒนาร่วมกัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง
  1. ประชุมชี้แจง ทำความเข้าใจกับผู้ปกครองในการติดภาวะโภชนการนักเรียนอย่างต่อเนื่อง 2.ส่งเสริมการกินอาหารตามหลักโภชนาการ
  2. เน้นย้ำให้นักเรียนดื่มนมเพิ่มขึ้น
  3. ส่งเสริมการออกกำลังกาย

สมุดบันทึกการติดตามภาวะโภชนาการโรงเรียน

ส่งเสริมให้ผู้ปกครองดูแลนักเรียนเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการดื่มนมเพิ่มขึ้นเมื่ออยู่ที่บ้าน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร
  1. จัดกลุ่มนักเรียนที่ภาวะทุพโภชนาการ
  2. แนะนำ อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนและผู้ปกครองในการรับประอาหารที่มีประโยชน์ มีคุณค่าทางโภชนาการ หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้ปัญหาทวีความหนักขึ้น เช่น การหลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง มีเกลือโซเดียมสูง และอาหารหวาน สำหรับนักเรียนอ้วน และเริ่มอ้วน
  3. ส่งเสริมให้มีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

ภาพถ่ายกิจกรรม สรุปผลการดำเนินงาน

ประชุมผู้ปกครองนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการเพื่อสร้างความตระหนักร่วมกัน และหาวิธีการแก้ปัญหา เฝ้าระวัง และลงมือปฏิบัติอย่างจริงจัง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

มีการอบรมให้ความรู้กับผู้ปกครองนักเรียนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคอ้วน ซึ่งเป็นปัญหาที่มีแนวโน้มสูงขึ้น

กิจกรรมประชุมผู้ปกครอง อบรมผู้ปกครองนักเรียนที่มีปัญหาและมีแนวโน้มเสี่ยงต่อภาวะโรคอ้วน

ควรให้ผู้ปกครอง ควบคุมการรับประทานอาหารตอนอยู่ที่บ้าน ของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

1.หน่วยงานที่สนับสนุนงบประมาณ ได้แก่ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาพ(สสส.) องค์การบริหารส่วนตำบลหนองงูเหลือม
2. หน่วยงานที่สนับสนุนด้านเกษตรในโรงเรียน คือ กลุ่มชุมชนเกษตรอินทรีย์ หมู่บ้านโนนด่าน หมู่ 11 ต.โตนด หมอดินในชุมชนองค์การบริหารส่วนตำบลหนองงูเหลือม และ สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครราชสีมา ที่สนับสนุนเมล็ดพันธุ์ผัก 3. หน่วยงานที่สนับสนุนด้านสุขภาพอนามัย ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาตาวงษ์ (รพ.สต.นาตาวงษ์) โรงพยาบาลอำเภอเฉลิมพระเกียรติ
4. หน่วยงานที่สนับสนุนด้านสุขศึกษาในโรงเรียน ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาตาวงษ์ (รพ.สต.นาตาวงษ์) โรงพยาบาลอำเภอเฉลิมพระเกียรติ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์เชาวลิตกุล และยังมีกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ที่ให้ความช่วยเหลือและแนะนำด้านสุขภาพอนามัยให้กับครูและบุคลากร 5. กลุ่มเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน ให้ความร่วมมือ ดูแลสุขภาพกาย ใจ ของนักเรียนทุกคน

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh