ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 63 (ชุมชนบ้านคำแดง)


“ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 63 (ชุมชนบ้านคำแดง) ”

ตำบลเดิด อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร

หัวหน้าโครงการ
นายพรชัย ภาพันธ์

ชื่อโครงการ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 63 (ชุมชนบ้านคำแดง)

ที่อยู่ ตำบลเดิด อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร จังหวัด ยโสธร

รหัสโครงการ ศรร.1311-076 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.30

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2016 ถึง 30 เมษายน 2017


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 63 (ชุมชนบ้านคำแดง) จังหวัดยโสธร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเดิด อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 63 (ชุมชนบ้านคำแดง) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 63 (ชุมชนบ้านคำแดง)



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 63 (ชุมชนบ้านคำแดง) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเดิด อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร รหัสโครงการ ศรร.1311-076 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 63 (ชุมชนบ้านคำแดง) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 101 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๖๓(ชุมชนบ้านคำแดง) จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพนักเรียนและกำหนดแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ ในด้านการเกษตร สหกรณ์ โภชณาการและสุขภาพ มีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะชีวิต ที่นำไปใช้ในชีวิตจริงได้
  3. เพื่อขยายผลโครงการสูชุมชนและสร้างเครือข่าย โดยได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครอง ชุมชนและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สร้างความยั่งยืนของโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะชีวิตที่นำไปใช้ ในชีวิตจริงได้
    2. โรงเรียนลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพนักเรียนลงได้ มีความรู้ แนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    3. ผู้ปกครองและคนในชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการและสุขภาพนักเรียน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. พัฒนาครูเพื่อจัดกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน

    วันที่ 9 สิงหาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ครู 13 คน เพื่อร่วมกันกำหนดแนวทางดำเนินงานสหกรณ์นักเรียน โดยดำเนินการดังนี้

    1. แจ้งแนวทางดำเนินงานสหกรณ์ นักเรียน โดยจัดตั้งกลุ่มสหกรณ์นักเรียน 3 กลุ่ม กลุ่มออมทรัพย์กลุ่มร้านค้าและกลุ่มการผลิต
    2. มอบหมายครูรับผิดชอบเป็นที่ปรึกษาทั้ง 3 กลุ่ม
    3. รับสมัครสมาชิก
    4. สรรหากรรมการบริหารกลุ่มสหกรณ์นักเรียน
    5. ดำเนินการจัดกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน
    6. ตรวจสอบการจัดทำบัญชี
    7. จัดประชุมใหญ่
    8. รายงานการจัดกิจการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    ครู 13 คนมีความรู้ ความเข้าใจ มีส่วนร่วมในการวางแผนและรับผิดชอบในการจัดกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน

    ผลลัพธ์

    ครูเป็นที่ปรึกษาให้คำแนะนำนักเรียนในการดำเนินงานสหกรณ์นักเรียนได้บรรลุวัตถุประสงค์

     

    13 34

    2. ประชุมครูจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้สหกรณ์นักเรียน

    วันที่ 10 สิงหาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551
    2. กำหนดรูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้
    3. จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้สหกรณ์นักเรียน
    4. จัดทำสื่อการเรียนและแบบประเมินผลการเรียน
    5. นิเทศการสอน
    6. ประเมินผลการเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1. ครูจัดการเรียนรู้สหกรณ์นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
    2. นักเรียนร้อยละ 100 ได้เรียนรู้ หลักการสหกรณ์นักเรียน

    ผลลัพธ์

    1. ครูจัดการเรียนรู้สหกรณ์นักเรียนโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้เป็นคู้มือจัดการเรียนรู้
    2. นักเรียนมีความรู้ทักษะด้านสหกรณ์นักเรียน

     

    101 0

    3. จัดประชุมครู นักเรียน ผู้ปกครอง ประกาศนโยบายและแนวทางดำเนินงานศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

    วันที่ 11 สิงหาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมครูเพื่อวางแผนจัดการประชุม
    2. จัดทำเอกสารประกอบการประชุม
    3. จัดจ้างผู้จัดทำอาหารว่าง
    4. เชิญวิทยากร
    5. เชิญผู้เข้าร่วมประชุม
    6. จัดประชุม ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ประกาศนโยบายและแนวทางดำเนินงงานโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
    7. วิทยากรบรรยายให้ความรู้แนวทางพัฒนาสุขภาพอนามัยนักเรียน
    8. อภิปราย แลกเปลี่ยน สรุปผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ครูทุกคนรับทรายนโยบายและรับทราบแนวทางดำเนินงานโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
    2. นักเรียน ผู้ปกครอง รับทราบนโยบาย แนวทางดำเนินงงานและมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพอนามัยตนเอง

     

    101 190

    4. การเลี้ยงไก่พันธ์พื้นบ้าน

    วันที่ 11 สิงหาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ปรับปรุงโรงเรือนสำหรับเลี้ยงไก้พันธุ์พื้นบ้าน
    2. เชิญนักวิชาการปศุสัตว์อบรมนักเรียนในการเลี้ยงไก่
    3. จัดหาพันธุ์ไก้พื้นเมือง
    4. มอบหมายครูนักเรียนฝึกปฏิบัติการเลี้ยงไก้พันธุ์พื้นเมือง
    5. จำหน่ายไก้สนับสนุนอาหารกลางวัน
    6. จัดทำบัญชีรายรับจ่าย
    7. สรุปผลการดำเนินงาน ถอดบทเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 3 จำนวน 17คนได้ฝึกปฏิบัติการเลี้ยงไก้พันธุ์พื้นบ้าน

    ผลลัพธ์

    1. นักเรียนมีความรู้ ทักษะ การเลี้ยงไก้พันธุ์พื้นเมือง
    2. นักเรียนจำหน่ายไก่สนับสนุนอาหารกลางวัน
    3. นักเรียนจัดการ มีบัญชีรับจ่าย

     

    22 20

    5. ออกกำลังกายเพื่อให้ได้สมรรถภาพที่แข็งแรง

    วันที่ 15 สิงหาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมครูเพื่อเก็บข้อมูลสมรรถภาพทางกายนักเรียน
    2. เชิญนักวิทยาศาสตร์การกีฬามาให้ความรู้และฝึกสมรรถภาพ
    3. ทดสอบสมรรถภาพนักเรียน
    4. บันทึกผลการทดสอบสมรรถภาพ
    5. พัฒนานักเรียนที่ไม่ผ่านการทดสอบสมรรถภาพ
    6. ทดสอบสมรรถภาพ
    7. รายงานผลการทดสอบสมรรถภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 -ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 67 คน ได้รับการฝึกสมรรถภาพทางกาย จากนักวิทยาศาสตร์การกีฬา

    ผลลัพธุ์

    นักเรียนมีกล้ามเนื้อที่แข็งแรง คล่องแคล่ว มีความอ่อนตัว

     

    82 82

    6. จัดทำระบบสารสนเทศภาวะโภชนาการนักเรียน

    วันที่ 15 สิงหาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมครูเพื่อแจ้งแนวทางดำเนินงาน
    2. วิเคราะห์ผลการชั่งน้ำหนักส่วนสูง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
    3. ชั่งน้ำหนัก ส่วนสูง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
    4. วิเคราะห์ผลการชั่งน้ำหนักและส่วนสูงเปรียบเทียบเกณฑ์มาตรฐาน
    5. ช่วยเหลือ แก้ปัญหา นักเรียนที่มีการเจริญเติบโตไม่สมส่วน
    6. ประสานงานกับผู้ปกครอง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้การสนับสนุนการแก้ปัญหาผู้เรียน ึ7. สรุปผล รายงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1. นักเรียน 75 คน ได้รับการชั่งน้ำหนัก ส่วนสูง เปรียบเทียบเกณฑ์การเจริญเติบโต
    2. นักเรียน 75 คน ได้รับการตรวจสุขภาพ
    3. นักเรียน 75 คน ได้รับการฝึกสุขบัญญัติ

    ผลลัพธ์

    นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่สมวัย

     

    100 163

    7. ห้องพยาบาล ฐานการเรียนรู้เรืองสุขภาพ

    วันที่ 15 สิงหาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมครูเพื่อกำหนดแนวทางจัดบริการสุขภาพอนามัยนักเรียน
    2. ปรับปรุงห้องเรียนให้เป็นห้องพยาบาลเอกเทศ
    3. จัดนิทรรศการ ฐานข้อมูลด้านสุขภาพนักเรียน
    4. จัดหาการเวชภัณฑ์แลละอุปกรณ์ประจำห้องพยาบาล
    5. บริการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
    6. ดูแลนักเรียนที่เจ็บป่วย
    7. ประสานกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคำแดง ส่งต่อรักษา
    8. ประเมินความพึงพอใจผู้ใช้บริการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1. นักเรียน 75 คน ผู้ปกครอง 75 คน ได้รับบริการสุขภาพเมื่อเจ็บป่วย
    2. นักเรียน 75คน ผู้ปกครอง 75 คน ได้เรียนรู้เรื่องสุขอนามัย สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้

    ผลลัพธ์

    นักเรียนและผู้ปกครองได้รับบริการเมื่อเจ็บป่วย มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองได้

     

    289 189

    8. โรงเรียนสวยด้วยมือเรา

    วันที่ 16 สิงหาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดประชุมครูเพื่อกำหนดแนวทางพัฒนาสภาพแวดล้อมในโรงเรียน
    2. มอบหมายเขตพื้นที่รับผิดชอบดูแลความสะอาดบริเวณ ห้องเรียน อาคารเรียนและห้องสุขา
    3. ให้ความรู้เรื่องสิ่งแวดล้อม การจัดการขยะ สร้างความตระหนักให้มีจิตสาธาณะ
    4. จัดหาอุปกรณ์การทำความสะอาด
    5. ประเมินผลการจัดทำความสะอาด การพัฒนาสภาพแวดล้อม
    6. จัดทำธนาคารขยะ
    7. นำขยะจำหน่าย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    นักเรียน 75 คน ครู 13 คน เกิดความตระหนัก ให้ความร่วมมมือ พัฒนาสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้น่าดู น่าอยู่ น่าดู น่าเรียน น่าทำงาน

    ผลลัพธ์

    โรงเรียนเป็นศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ที่มีความสะอาด ร่มรื่น สวยงาม เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนและโรงเรียนอื่นๆ นักเรียนได้เคลื่อนไหวร่างกาย

     

    327 164

    9. การเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่

    วันที่ 16 สิงหาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมครูเพื่อวางแผนดำเนินงาน
    2. จัดทำโรงเรือนเลี้ยงไก่พันธู์ไข่
    3. นักวิชาการจากปศุสัตว์จังหวัดยโสธรให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงไก่
    4. จัดซื้อไก่พันธ์ูไข่พร้อมไข่
    5. นักเรียนฝึกปฏิบัติการเลี้ยงไก่
    6. จำหน่ายไขไก่ผ่านสหกรณ์นักเรียน
    7. ทำบัญชีรายจ่าย
    8. สรุปผล ถอดบทเรียนเลี้ยงไก่พันธู์ไข่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลลัพธ์
              ผู้บริหาร หน่วยงาน นักวิชาการ หน่วยงานละ 2 คน รวม 30 คน เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวดำเนินงาน ศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส ผลที่เกิดขึ้นจริง           นักเรียนชั้น ป.3-ป.6 จำนวน 34 คน ได้ฝึกปฏิบัติการเลี้ยงไก่ไข่ จำนวน 50 ตัว
    ผลลัพธ์
              1.  นักเรียนมีความรู้ทักษะด้านการเกษตร การเลี้ยงไก่พันธ์ูไข่           2. นักเรียนมีไข่สนับสนุนอาหารกลางวัน           3. นักเรียนมีความรับผิดชอบ ขยันอดทน

     

    2 38

    10. นักเรียน ๘๘ คน รณรงค์ให้ชุมชนเกิดความตระหนัก ในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

    วันที่ 30 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมครูเพื่อมอบหมายงานนักเรียนแต่ละชั้น 2.จัดทำแผ่นพับให้ความรู้เรื่องการรักษาสิ่งแวดล้อม สำหรับนักเรียนและผู้ปกครอง 3.ประชาสัมพันธ์ให้ผู้ปกครองทราบทางหอกรจายข่าวในชุมชน 4.นักเรียนเดินรณรงค์ สร้างความตระหนักให้ชุมชนให้ความสำคัญในการรักษาสิ่งแวดล้อม 5.นักเรียนเก็บขยะรีไซเคิลมรจัดทำธนาคารขยะ 6.ประเมินผลความพึงพอใจนักเรียนและสร้างความตรระหนัก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียน ผู้ปกครองทุกครอบครัวเกิดความตระหนักในการรักษาสิ่งแวดล้อม

     

    189 189

    11. การเลี้ยงปลาดุก

    วันที่ 26 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ครูนักเรียนเรียนรู้วิธิการเลี้ยงปลาดุก 2.ขุดบ่อดินเลี้ยงปลา 3.จัดซื้อพันธุ์ปลาดุก 1400  ตัว 4.จัดซื้ออาการปลา 5.มอบหมายนักเรียนเลี้ยงปลา จัดเวรให้อาหาร บันทึกการเลี้ยงปลา 6.จำหน่ายปลาให้สหกรณ์โรงเรียน 7.สรุปผลการเรียนรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น 21  คน มีความรู้ ทักษะ ในการเลี้ยงปลาดุก

     

    24 57

    12. การเพาะเห็ดฟาง โดยมีผู้ปกครองมีส่วนร่วมดูแล

    วันที่ 26 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมครู นักเรียน ผู้ปกครอง ให้ทราบนโยบายกิจกรรมเพาะเห็ดฟางในตะกร้า
    2. ครูระดับอนุบาลจัดซื้ออุปกรณ์ในการดำเนินกิจกรรม 3.ครู ผู้ปกครองดำเนินกิจกรรมด้วยกันโดยให้นักเรียนระดับอนุบาลได้เรียนรู้ร่วมด้วย
    3. ครู นักเรียนช่วยกันดูแลจนเสร็จสิ้นกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครู นักเรียน ชั้นอนุบาล 1-2 ได้ฝึกปฏิบัติการเพาะเห็ดฟาง โดยมีผู้ปกครองมีส่วนร่วมดูแล

     

    43 43

    13. ปลูกพืชผักสวนครัวตามฤดูกาล ทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน

    วันที่ 26 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมครู เพื่อมอบหมายเขตพื้นที่การปลูกพืชสวนครัว 2.ให้ความรู้นักเรียนในการปลูก บำรุงรักษาและประโยชน์ที่ได้ 3.จัดซื้อพันธุ์ผัก 4.จัดซื้อปุยคอก 5.จัดซื้ออุปกรณ์การเกษตร 6.จัดทำแปลงปลูกผักสวนครัว 7.ปลูกผักสวนครัวที่โรงเรียน 8.ปลูกผักสวนครัวที่บ้านนักเรียน 9.นำผลผลิตไปประกอบอาหาร 10.ประเมินผลความรู้และทักษะนักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียน ทุกคน มีความรู้ ทักษะ ด้านการเกษตร ได้รับประทานผักที่ปลอดภัยต่อสสุขภาพ

     

    104 104

    14. อบรมคณะกรรมการดำเนินงานสหกรณ์นักเรียน 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มออมทรัพย์ กลุ่มร้านค้า กลุ่มการผลิต กลุ่มละ 10 คน รวม 30 คน

    วันที่ 9 มกราคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดทำเอกสารประกอบการอบรมคณะกรรมการบริหารสหกรณ์นักเรียน 2.เลือกคณะกรรมการบริหารสหกรณ์ 3.จัดอบรมแนวทางดำเนินงานสหกรณ์นักเรียน   3.1 การรับสมัครสมาชิก   3.2 การจัดทำระเบียบ   3.3 การจัดทำบัญชี   3.4 การบันทึกการประชุม 4.ประเมินผลการอบรม 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนแกรนำสหกรณ์นักเรียน 30  คนมีความรู้ ความเข้าใจ  สามารถบริหารกิจการสหกรณ์นักเรียนได้

     

    34 46

    15. อบรมนักเรียน 88 คน ให้ตรวจฟันด้วยตนเองได้

    วันที่ 10 มกราคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมครูเพื่อทำความเข้าใจการดำเนินงาน 2.ขออนุมัติดำเนินงาน 3.จัดทำใบยืมเงินทดรองจ่าย 4.จัดทำเอกสารแผ่นพับ 5.เชิญวิทยากร 6.อบรมนักเรียน 88 คนให้ตรวจฟันด้วยตนเองได้ 7.ประเมินผลและติดตามผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียน 75  คน สามารถตรวจฟันด้วยตนเอง

     

    189 178

    16. อบรมนักเรียน ๘๘ คน ให้แปรงฟันได้ถูกวิธี

    วันที่ 12 มกราคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.บันทึกขอจัดกิจกรรม 2.จัดทไใบยืมเงินทดรองจ่าย 3.จัดหาแก้วนำแปรงฟัน 4.จัดทำเอกสารใบความรู้เรื่องการแปรงฟันที่ถูกวิธี 5.ฝึกนักเรียนแปรงฟันให้ถูกวิธี 6.ประเมินผลความรู้ ความเข้าใจ ในการแปรงฟัน 7.ส่งใบคืนเงินยืมทดรองจ่าย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียน 75  คนแปรงได้ถูกวิธี มีสุขภาพฟันที่ดี

     

    102 99

    17. ประชุมครูจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้โภชนาการสมวัยเด็กไทยแก้มใส

    วันที่ 18 มกราคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมครูเพื่อสร้างความเข้าใจ ในการบูรณาการการเรียนรู้โภชนาการสมวัยเด็กไทยแก้มใส 2.จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ 5  เรื่อง ดังนี้   (1)ธงโภชนาการ   (2) ผักผลไม้   (3) ลดหวานมันเค็ม   (4) โรคอ้วน   (5) ทันตสุขภาพ 3.จัดทำสื่อใบงานประกอบการเรียนรู้ 4.จัดการเรียนรู้โภชนาการสมวัย เด็กไทยแก้มใส 5.นิเทศ กำกับติด การจัดการเรียนรู้ ุ6.ประเมินผลการเรียนรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียน ทุกคน มีความรู้ ทักษะและเจตคติที่ดีต่อการเรียนและนำไปใช้ในการดำรงชีวิต

     

    82 82

    18. ประชุมครูจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้การเกษตร

    วันที่ 20 มกราคม 2017 เวลา 16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 2.กำหนดรูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ 3.จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ด้านการเกษตร 4.จัดทำสื่อและแบบประเมินการเรียน 5.นิเทศการสอนสหกรณ์นักเรียน 6.ประเมินผลการเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียน 68  คน มีความรู้และทักษะด้านการเกษตร

     

    101 101

    19. รณรงค์ ให้ความรู้เรื่องการดูแลร่างกายกายและวิธีกำจัดเหา

    วันที่ 23 มกราคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมครูเพื่อกำหนดแนวทางแก้ไขปัญหานักเรียนมีเหา 2.ให้ความรู้เรื่องการดูแลรักษาความสะอาดร่างกายแลละวิธีกำจัดเหา 3.จัดกิจกรรมรณงค์ให้นักเรียนร่วมกันกำจัดเหา 4.ตรวจสุขภาพนักเรียน ตรวจเหานักเรียน 5.กำจัดเหาสำหรับนักเรียนที่ตรวจพบเหา 6.สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนทุกคนไม่มีเหา

     

    91 89

    20. อบรมนักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพ 20 คน เพื่อประเมินมาตรฐานสุขาภิบาลสำหรับโรงอาหาร

    วันที่ 25 มกราคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมครูเพื่อกำหนดแนวทางดำเนินงานพัฒนาสุขาภิบาลสำหรับโรงอาหาร 2.จัดทำคู่มือประเมินมาตรฐานสุขาภิบาลสำหรับโรงอาหาร 3.เชิญวิทยาการให้ความรู้และแนวทางประเมินมาตรฐานสุขภิบาลสำหรับโรงอาหาร 4.อบรมนักเรียนแกนนำ เพื่อ ทำหน้าที่ประเมินมาตรฐานสุขาภิบาลสำหรับโรงอาหาร 5.ประเมินมาตรฐานสุขาภิบาลสำหรับโรงอาหาร 6.รายงานผลการประเมินเพื่อพัฒนาสุขาภิบาล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครูและนักเรียนสามารถประเมินมาตรฐานสุขาภิบาลสำหรับโรงอาหารได้

     

    22 34

    21. อบรมนักเรียนแกนนำ ๒๐ คน ฝึกตรวจสุขภาพ 10 ท่า

    วันที่ 27 มกราคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมครูเพื่อคัดเลือกนักเรียนแกนนำ 2. จัดทำเอกสารอบรม 3. จัดอบรมนักเรียนแกนนำจำนวน 20 คน 4. จัดทำบันทึกการตรวจสุขภาพ 10 ท่า 5. มอบหมายให้นักเรียนแกนนำตรวจสุขภาพนักเรียน 6.สรุปผลการตรวจสุขภาพ 7. รายงานผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.นักเรียนจำนวน 75 คน ได้รับการตรวจสุขภาพและมีสุขภาพที่ดี

     

    110 110

    22. ประชุมเชิงปฏิบัติการทำพันธสัญญา(MOU)กับหน่วยงานประสานความร่วมมือ

    วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมครูเพื่อมอบหมายให้ประสานงานกับบุคคลหรือหน่วยงานที่จะร่วมสนับสนุนทำพันธสัญญาให้ความร่วมมือ 2.จัดทำหนังสือเชิญ 3.จัดประชุมเชิงปฏิบัติการทำความเข้าใจโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส 4.บันทึกข้อตกลง ลงนามในพันธสัญญา  2 ฉบับ โรงเรียนเก็บ 1 ฉบับ ผู่สนับสนุน 1 ฉบับ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ครู นักเรียน ผู้ปกครอง มีความเข้าใจและยินดีสนับสนุน แนวทางดำเนินงานศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใสโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๖๓(ชุมชนบ้านคำแดง) 2.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคำแดง ยินดีร่วมขับเคลื่อนกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ 3.สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดยโสธร ได้ส่งนักวิชาการมาให้ความรู้และฝึกทักษะนักเรียนในการเลี้ยงไก่ 4.ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขายโสธร สนับสนุนทุนเพื่อดำเนินงานอาหารกลางวัน 5,000  บาท 5.โรงเรียนในเครือข่ายคุณภาพการศึกษายศบดินทร์ สพป.ยโสธร เขต 1 จำนวน 11  โรงเรียน สมัครเข้าร่วมเป็นโรงเรียนเครือข่าย และส่งนักเรียนมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้

     

    53 40

    23. นำนักเรียนในเครือข่ายคุณภาพยศบดินทร์ 10 โรงเรียน มาร่วมเรียนรู้กิจกรรมตามศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

    วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมครูเพื่อวางแผน จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้"เปิดบ้านแก้มใส สร้างเครือข่ายเรียนรู้" 2.มอบหมายงานให้ครู ฝึกนักเรียนให้เป็นวิทยากร ใน 8 ฐาน 3.แจ้งโรงเรียนในเครือข่ายคุณภาพการศึกษายศบดินทร์ 11  โรงเรียน ให้นำนักเรียนมาร่่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้ใส 4.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส 8 ฐาน 5.ถอดบทเรียนสรุปองค์ความรู้ที่ได้รับจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ุ6.ประเมินผลการจัดกิจกรรม"เปิดบ้านแก้มใส  สร้างเครือข่ายเรียนรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.นักเรียนจากเครือข่ายคุณภาพการศึกษายศบดินทร์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1 จำนวน 170 คน มีความรู้  ทักษะ ตามฐานกิจกิจกรรมตามโครงการศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส 8 กิจกรรม

     

    110 215

    24. ประชุมคณะครู 13 คน เพื่อสร้างเครื่องมือนิเทศ กำกับ ติดตามโครงการ

    วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมชี้แจงให้ครูทราบ
    2. มอบหมายให้คณะครูสร้างเครื่องมือนิเทศ
    3. คณะครูช่วยกันสร้างเครื่องมือ
    4. ผู้บริหารโรงเรียนดำเนินการนิเทศ
    5. สรุปผลการนิเทศ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ครูมีเครื่องมือในการนิเทศ ทั้ง 13 คน 2.  ครูได้รับการนิเทศ ทั้ง 13 คน

     

    13 13

    25. เรียนรู้งานเกษตรอินทรีย์ จากภูมิปัญญาชาวบ้าน

    วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมชี้แจง คณะครู นักเรียน
    2. กำหนด วัน เวลา สถานที่
    3. ออกหนังสือเชิญวิทยากร
    4. อบรมตามกำหนด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต         1. นักเรียน 88 คน ครู 13 คน เรียนรู้งานเกษตรจากภูมิปัญญาชาวบ้าน ผลลัพธ์         1. ครู นักเรียนได้รับความรู้เกษตรอินทรีย์ มีอาหารปลอดภัยรับประทาน

     

    102 101

    26. อบรมครู นักเรียน เรื่องการเลือกรับประทานอาหารทที่เกิดประโยชน์ต่อสุขภาพ

    วันที่ 1 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมครูเพื่อกำหนดแนวทางอบรมเรื่องการรับประทานอาหารที่เกิดประโยชน์ต่อสุขภาพ 2.เชิญวิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคำแดง 3.จัดอบรมเรื่องการรับประทานอาหารที่เกิดประโยชน์ต่อสุขภาพ 4.ติดตามสอบถามพฤติกรรมการเลือกรับประทานอาหาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียน 88 คน สามารถเลือกรับประทานอาหารที่เกิดประโชน์ต่อสุขภาพได้ นักเรียนมีร่างกายสมส่วน

     

    102 102

    27. สร้างเครือข่ายผู้ปกครองร่วมใจพัฒนาสุขนิสัยนักเรียน

    วันที่ 2 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต         1. ผู้ปกครองจำนวน 88 คน นักเรียนแกนนำ 10 คน ติดตามประเมินผล ปฏิบัติตามสุขนิสัยของนักเรียน ผลลัพธ์           1. นักเรียนมีสุขนิสัยที่พึงประสงค์

     

    99 99

    28. นักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน 20 คน ครู 2 คน ได้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการการปฐมพยาบาลเบื้องต้น

    วันที่ 3 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมชี้แจงให้นักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน 20 คน ครู 2 คน ได้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
    2. กำหนดวัน สถานที่่ในการประชุม
    3. ทำหนังสือเชิญวิทยากรจาก รพสต.คำแดง
    4. ดำเนินการอบรมตามหัวข้อที่กำหนด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน 20 คน ครู 2 คน มีความรู้ ความเข้าใจ เกิดทักษะ ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
    2. นักเรียนเจ็บป่วย ได้รับการช่วยเหลือและปฐมยาบาลถูกวิธี

     

    22 22

    29. อบรมนักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขในโรงเรียน

    วันที่ 6 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมชี้แจง
    2. กำหนดวัน เวลา สถานที่ในการอบรม 3.เชิญวิทยากร 4.จัดทำเอกสารประกอบการอบรม
    3. ดำเนินการอบรมตามที่กำหนด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต         1. นักเรียน 20 คน ครู 1 คน มีความรู้ความเข้าในในการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ผลลัพธ์         1. นักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน เป็นผู้นำนักเรียนในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียนทำให้นักเรียนมีสุขภาพดี

     

    22 23

    30. จัดประชุมครู 10 คน นักเรียน 10 คน แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องสุขาภิบาล และกำหนดแนวทางจัดการสุขาภิบาลในโรงเรียน

    วันที่ 7 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้นักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพเรื่องสุขาภิบาล
    2. จัดกิจกรรมรณรงค์เยาวชนร่วมใจห่วงใยสิ่งแวดล้อม
    3. สร้างจิตอาสา โรงเรียนสวยด้วยมือเรา นักเรียนร่วมรักษาความสะอาดบริเวณโรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. โรงเรียนสะอาดขึ้น
    2. มีความเป็นระเบียบขึ้น
    3. โรงเรียนน่าอยู่ น่าดู น่าเรียน

     

    21 21

    31. ประชุมเชิงปฏิบัติการ การทำรายงานศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1 และขอเบิกเงินงวดที่ 2

    วันที่ 8 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ผู้จัดการโครงการแจ้งกำหนดการให้ผุ้บริหารโรงเรียนแจ้งผุ้รับผิดชอบ
    2. โรงเรียนแจ้งตอบรับผู้เข้าร่วมประชุม
    3. ประชุมเชิงปฏิบัติการ การทำรายงานศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1 และขอเบิกเงินงวดที่ 2 4.แก้ไขและส่งรายงานการเงินงวดที่ 1 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครูที่รับผิดชอบ 2  คน มีความเข้าใจ แนวทางการใช้เงินและรายงานการเงินได้ถูกต้อง

     

    2 2

    32. จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ จำนวน 10 ชุด

    วันที่ 10 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมครูกำหนดแนงทางจัดทำรายงาน 2.กรอกข้อมูลรายงานออนไลน์ 3.ผู้รับผิดชอบกิจกรรมรายงานตามแบบรายที่กำหนด 4.จัดทำรายงานกิจกรรมตามโครงการ 5.จัดจ้างทำรายงานฉบับสมบูรณ์ จำนวน 10  ชุด
    6.เผยแพร่ประชาสัมพันธ์โครงการให้หน่วยงงานที่เกี่ยวข้องราบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    หน่วยงานจำนวน 30  หน่วยงาน ทราบผลการดำเนินงาน ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส 

     

    13 43

    33. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ครู นักเรียน ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้อง ถอดบทเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โครงการเด็กไทยแก้มใส เพื่อประเมินผล

    วันที่ 10 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมครู เพื่อมอบหมายำิจกรรมที่จะถอดบทเรียน 2.ให้ความรู้ นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนในกิจกรรมศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส 3.เชิญหน่วยงาน บุคคลที่เกี่ยวข้อง ร่วมเวทีแลกเปลี่ยน 4.จัดกิจกรรมถอดบทเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ก่อนทำ (BAR:Before Action Rewiew) หลังทำ(AAR: After Action Rewiew) 5.สรุป จุดเด่น จุดด้อย ปัญหา อุปสรรค 6.กำหนดแนวทางพัฒนาในอนาคต 7.จัดทำรายงานประชาสัมพันธ์ให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ครู นักเรียน ผู้ปกครองและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมมือกันดำเนินงาน ทราบปัญหา อุปสรรค และร่วมกันกำหนดแนวทางในอนาคต

     

    189 195

    34. คืนดอกเบี้ยโครงการ

    วันที่ 21 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    24 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพนักเรียนและกำหนดแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด : 1.ภาวะอ้วน ผอม ไม่เกิน ไม่เกิน 7 % (ทั้งนี้ดูตามเกณฑ์ของโรงเรียนเป็นหลัก) ภาวะเตี้ย ไม่เกิน 7 % 2.เด็กมีการปรับพฤติกรรมการกิน โดยกินผักและผลไม้ เฉลี่ยในมื้อกลางวันประมาณ 40-100 กรัม (อาจดูตามเกณฑ์ของแต่ละโรงเรียน ที่แยกเป็น ช่วงอนุบาล และ ช่วงปฐม) 3.มีการนำโปรแกรม Thai school lunch มาใช้ในการกำหนดเมนูอาหารกลางวัน 4.มีกระบวนการติดตาม ประเมินสุขภาวะของนักเรียน โดยเด็กและเยาวชน ครู และผู้ปกครอง ร่วมกัน

    1.ภาวะอ้วน ผอม ไม่เกิน ไม่เกิน 7 % (ทั้งนี้ดูตามเกณฑ์ของโรงเรียนเป็นหลัก) ภาวะเตี้ย ไม่เกิน 7 %

    2.เด็กมีการปรับพฤติกรรมการกิน โดยกินผักและผลไม้ เฉลี่ยในมื้อกลางวันประมาณ 40-100 กรัม (อาจดูตามเกณฑ์ของแต่ละโรงเรียน ที่แยกเป็น ช่วงอนุบาล และ ช่วงปฐม)

    3.มีการนำโปรแกรม Thai school lunch มาใช้ในการกำหนดเมนูอาหารกลางวัน

    4.มีกระบวนการติดตาม ประเมินสุขภาวะของนักเรียน โดยเด็กและเยาวชน ครู และผู้ปกครอง ร่วมกัน

    2 เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ ในด้านการเกษตร สหกรณ์ โภชณาการและสุขภาพ มีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะชีวิต ที่นำไปใช้ในชีวิตจริงได้
    ตัวชี้วัด : 1. นักเรียน มีความรู้ ทักษะ ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการและสุขภาพ ระดับดี - ดีมาก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 2. จัดทำรายงานการเจริญเติบโตและสมรรถภาพทางกายของนักเรียนทุกคนภาคเรียนละ 1 ครั้ง 3.เด็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินผักและผลไม้เพิ่มขึ้น เฉลี่ยประมาณ 40-100 กรัม ในมื้ออาหารเย็น และอาหารว่าง (ติตตามผลโดยครูและผู้ปกครอง) 4.นักเรียนประมาณ 80% มีพฤติกรรมสุขภาวะที่ดี ได้แก่ การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร มีการแปรงฟันหลังทานอาหาร รวมทั้งแปรงฟันก่อนเข้านอน และมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถัง 5.ทางโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมออกกำลังกาย ก่อนเลิกเรียน (อาจจะเน้นที่เด็กมีภาวะอ้วนเป็นพิเศษ)

    นักเรียน มีความรู้ ทักษะ ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการและสุขภาพ ระดับดี - ดีมาก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

    3 เพื่อขยายผลโครงการสูชุมชนและสร้างเครือข่าย โดยได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครอง ชุมชนและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สร้างความยั่งยืนของโครงการ
    ตัวชี้วัด : 1. ชุมชนมีความตระหนักมีความตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการและสุขภาพนักเรียน 2. จำนวนกิจกรรมที่มีส่วนร่วมของครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนเพิ่มขึ้น 40% 3.โรงเรียนมีระดับความสำเร็จในด้านการเชื่อมโยงอาหารและสุขภาพ อยู่ในระดับ 4 4.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้การสนับสนุนองค์ความรู้ วัสดุอุกรณ์และกระบวนการทำงาน ทำให้โครงการเกิดความยั่งยืน

    โรงเรียนได้ประชาสัมพันธ์ สร้างความตระหนักผ่านหลักสูตรสื่อมวลชนศึกษา

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพนักเรียนและกำหนดแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ ในด้านการเกษตร สหกรณ์ โภชณาการและสุขภาพ มีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะชีวิต ที่นำไปใช้ในชีวิตจริงได้ (3) เพื่อขยายผลโครงการสูชุมชนและสร้างเครือข่าย โดยได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครอง ชุมชนและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สร้างความยั่งยืนของโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

    ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 63 (ชุมชนบ้านคำแดง)

    รหัสโครงการ ศรร.1311-076 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.30 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

    วันที่เริ่มประเมิน

    1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    (ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    1. การเกษตรในโรงเรียน

    1.โรงเรียนได้นำรูปแบบการปลูกพืชในพื้นที่แคบ เพราะมีพื้ที่การเกษตรน้อย โดยการปลูกในกระสอบปุ๋ย ล้อยางรถยนต์ จัดสวนหย่อมกินได้

    1.ประชุมครูกำหนดแนวทางบูรณาการการเรียนรู้เกษตรเพื่อชีวิตฟื้นฟูเศรษฐกิจชุมชน 2.มอบหมายครุดำเนินการจัดกิจกรรมตามเขตพื้นที่โรงเรียน 3.จัดกิจกรรมการเรียนรู้การเกษตรอินทรีย์ 4.นิเทศการจัดการเรียนรู้เกษตร 5.ประเมินความรู้ทักษะด้านการเกษตร ุ6.ขยายผลสู้ชุมชน

    1.นำผู้ปกครองมาร่วมจัดการเรียนรู้ 2.ให้นักเรียนนำไปปฏิบัติที่บ้าน 3.สร้างความตระหนักให้ผู้ปกครองบริโภคผลผลิตที่ปลอดภัย 4.ใช้กิจกรรมสื่อมวลชนศึกษาบูรณาการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    2. สหกรณ์นักเรียน

    1.กิจกรรมเจ้าสัวน้อย 2.กิจกรรมยอดนักขาย

    1.ให้ความรู้เรื่องสหกรณ์นักเรียน 2.อบรมนักเรียนแกนนำสหกรณ์เพื่อนำระบบสหกรณ์นักเรียนมาใช้ในการดำเนินชีวิต 3.จัดกิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์ 4.จัดกิจกรรมกลุ่มการผลิต 5.จัดกิจกรรมกลุ่มร้านค้า 6.ประชุมใหญ่สามัญประจำปี 7.ปันผลเฉลี่ยคืน

    1.นำระบบสหกรณ์มาสร้างวิถีชีวิตประชาธิปไตย ตามหลักสหกรณ์ 2.นำผลผลิตจำหน่ายโครงการอาหารกลางวัน 3.สร้างตลาดนัดนักเรียนจำหน่ายผลผลิตจากโครงการ

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

    Thai school Lunch สานฝันสุขภาพ

    1.ประชุมครูผู้ ผู้ปกครอง เพื่อประกาศนโยบายศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส 2.พัฒนาครูเพื่อนำโปรแกรม Thai School Lunch 3.จัดบริการอาหารกลางวัน 4.ชั่งน้ำหนักและส่วนสูง

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

    สุขภาพสมวัยเด็กไทยแก้มใส

    1.โรงเรียนชั่งน้ำหนักและส่วนสูงนักเรียน 2.แปลผลแล้วแจ้งนักเรียน ผู้ปกครองทราบ 3.แก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการนักเรียน

    ให้นักเรียนเป็นผู้นำจัดกิจกรรม

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

    หนูน้อยฟันดี ตรวจฟันฉันทำได้

    ให้ความรู้นักเรียนในดูแลสุขภาพฟัน บันทึกการตรวจสุขภาพ

    นักเรียนนำครอบครัวสร้างสุขนิสัย

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

    โรงเรียนสวยด้วยมือเรา เยาวชนรวมใจห่วงใยสิ่งแวดล้อม

    1.แบ่งเขตนักเรียนรับผิดชอบเขตพื้นที่รักษาความสะอาดในโรงเรียน 2.ให้นักเรียนเรียนรู้การแยกขยะ

    ให้นักเรียนจัดทำธนาคารขยะ ขยะทองคำสร้างรายได้

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

    ห้องพยาบาลฐานการเรียนรู้สุขภาพ

    จัดห้องพยาบาลให้เป็นแหล่งเรียนรู้เรื่องสสุขภาพอนามัย

    ส่งเสริมให้นักเรียนให้ความรู้เรื่องสุขภาพตามแนวทางสื่อมวลชนศึกษา เสียงตามสาย หนังสือพิมพ์หน้าเดียว

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

    1.การเรียนรู้เกษตรด้วยสมองและสองมือ

    จัดทำแผนการเรียนรู้เกษตรในโรงเรียน จัดการเรียนรู้บูรณาการเกษตรในโรงเรียน

    ให้ชุมชนเป็นภูมิปัญญาชาวบ้านร่วมสอนนักเรียน

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    9. อื่น ๆ

    เปิดบ้านแก้มใสสร้างเครือข่ายการเรียนรู้

    1.เชิญโรงเรียนในเครือข่ายคุณภาพการศึกษายศบดินทร์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 10 โรงเรียนเข้าร่วมเรียนรู้โครงการ ศรร.ต้นแบบ 8 กิจกรรมหลัก

    พัฒนาโรงเรียนในเครือข่ายให้ดำเนินการโครงการเด็กไทยแก้มใส ให้ครบ 8กิจกรรมทุกโรงเรียน

    2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

    1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

    1.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ความร่วมมือและสนับสนุนด้านวิชาการ ได้แก่
    (1) สำนังงานปศุสัตว์จังหวัดยโสธร ให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงไก่ (2) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดยโสธร ให้ความรู้เรื่องสหกรณ์และจัดระบบสหกรณ์ (3) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร เป็นวิทยากร การพัฒนานักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพ (4) เทศบาลตำบลเดิด สนับสนุนกิจกรรมสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน (5) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคำแดง ให้บริการสุขภาพนักเรียน 2.โรงเรียนประสานงานกับโรงเรียนเครือข่ายคุณภาพยศบดินทร์ จำนวน 11 โรงเรียน ได้ให้ความสนใจและนำไปพัฒนานักเรียนตามแนวทางเด็กไทยแก้มใส ได้แก่
    (1) โรงเรียนบ้านเดิด (2) โรงเรียนบ้านเชือก (3) โรงเรียนบ้านบาก (4) โรงเรียนบ้านหนองบั่วและโรงเรียนบ้านหนองบั่วสาขาโพนขวาว (5) โรงเรียนบ้านขั้นไดใหญ่โนนค้อ (6) โรงเรียนบ้านใหม่ชุมพร (7) โรงเรียนบ้านนาคำ(นาคำวิทยาคาร) (8) โรงเรียนบ้านคำฮี (9) โรงเรียนบ้านเชือกน้อย (10) โรงเรียนบ้านน้ำโผ่

    2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

    โรงเรียนอยู่ในใจกลางชุมชนจึงได้รับการสนับสนุนในการพัฒนาสิ่งแวดล้อม โรงเรียนได้นำรูปแบบโรงเรียนสุขภาวะ โดยนำจิตศึกษามาพัฒนาปัญญาภายในนักเรียน ทำให้นักเรียนเกิดสมาธิ โรงเรียนปลูกฝังให้นักเรียนเกิดจิตสาธารณะ โดยปลูกฝังนักเรียนให้ภูมิใจในตนเองตามแนวคิดว่า (1) เป็นคนน่ารัก (2) เรารู้จักเวลา (3) เรารักเพื่อน (4) เรารักทุกคน (5) ทุกคนก็รักเรา

    3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

    1.ประชุมแลกเปลี่ยนครูเพื่อร่วมกันแก้ปัญหาการทำงาน 2.สร้างผู้นำการดำเนินงาน

    4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

    กระบวนการเรียนรู้ขิงครู 1.การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประชุมเชิงปฏิบัติการ 2. การค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ กระนวนการเรียนรู้นักเรียน 1.เรียนรู้ด้วยการลงมือทำ 2.เรียนแบบโครงงาน 3.เรียนรู้แบบทดลอง การเรียนรู้ของแม่ครัว เรียนรู้จากการนิเทศครูหัวหน้าโครงการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง

    5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

    ผู้ปกครองร่วมรับรู้การดำเนินงาน ร่วมใจพัฒนาสุขนิสัยนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

    โรงเรียนเริ่มดำเนินงานตามโครงการ จึงมีผลผลิตไม่เพียงพอ

    บันทึกการจัดซื้ออาหาร

    ทำข้อตกลงกับชุมชนผลิตอาหารปลอดภัยส่งโครงการอาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

    โรงเรียนเริ่มดำเนินงานตามโครงการ จึงมีผลผลิตไม่เพียงพอ

    บันทึกการจัดซื้ออาหาร

    ทำข้อตกลงกับชุมชนผลิตอาหารปลอดภัยส่งโครงการอาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

    โรงเรียนเริ่มดำเนินงานตามโครงการ จึงมีผลผลิตไม่เพียงพอ

    บันทึกการจัดซื้ออาหาร

    ทำข้อตกลงกับชุมชนผลิตอาหารปลอดภัยส่งโครงการอาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

    ไม่มีงบประมาณ ไม่มีการสำรวจนักเรียนที่ไม่รับประทานอาหารเช้า

    สรุปภาวะโภชนาการ

    จัดบริการอาหารเช้าจากผลผลิตโครงการเด็กไทยแก้มใส

    5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

    บดผักไม่ให้นักเรียนทราบ

    บันทึกรายการอาหาร

    ประสานผู้ปกครองส่งเสริมเด็กกินผัก

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    จัดกิจกรรมเท่กินผัก น่ารักกินผลไม้

    บันทึกการจัดกิจกรรม

    ให้ความรู้เรื่องประโยชน์ของผักสู่ชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    นักเรียนเป็นผู้นำรุ่นน้องในการกินผัก

    บันทึกการรับประทานอาหาร

    พี่ช่วยน้องต้องกินผักเพื่อสุขภาพดี

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

    ชุมชนกิจกรรมภูมิปัญญาชาวบ้านเล่าประสบการเกษตรอินทรีย์

    กำหนดแหล่งเรียนรู้อาหารปลอดภัยในชุมชน

    ให้นักเรียนจัดการฟาร์มเพื่อเรียนรู้และจัดการฟาร์มที่ปลอดภัย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

    จัดทำโปรแกรมอาการ Thai School Lunch รายเดือน

    ตารางอาหาร

    โรงเรียนนำนักเรียนมาร่วมกำหนดโปรแกรมอาหาร

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

    ชั่งน้ำหนักและส่วนสูงและแปลผล

    สรุปภาวะโภชนาการ

    ให้นักเรียนประเมินความสมส่วนตนเอง

    3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

    สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

    ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12561 1/12561 2/1
    เตี้ย 6.82 6.82% 2.70 2.70% 0.00 0.00% 4.55 4.55% 5.06 5.06% 1.35 1.35% 2.70 2.70% 6.25 6.25% 4.62 4.62% 8.96 8.96% 7.25 7.25%
    เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 11.36 11.36% 8.11 8.11% 8.57 8.57% 5.68 5.68% 8.86 8.86% 9.46 9.46% 9.46 9.46% 6.25 6.25% 7.69 7.69% 19.40 19.40% 15.94 15.94%
    ผอม 9.09 9.09% 16.22 16.22% 9.46 9.46% 4.55 4.55% 6.58 6.58% 4.05 4.05% 4.05 4.05% 0.00 0.00% 6.15 6.15% 1.49 1.49% 2.90 2.90%
    ผอม+ค่อนข้างผอม 17.05 17.05% 29.73 29.73% 20.27 20.27% 9.09 9.09% 14.47 14.47% 20.27 20.27% 12.16 12.16% 1.37 1.37% 9.23 9.23% 2.99 2.99% 4.35 4.35%
    อ้วน 4.55 4.55% 4.05 4.05% 5.41 5.41% 3.41 3.41% 2.63 2.63% 2.70 2.70% 4.05 4.05% 5.48 5.48% 49.23 49.23% 8.96 8.96% 7.25 7.25%
    เริ่มอ้วน+อ้วน 9.09% 9.09% 12.16% 12.16% 12.16% 12.16% 6.82% 6.82% 7.89% 7.89% 12.16% 12.16% 9.46% 9.46% 10.96% 10.96% 52.31% 52.31% 16.42% 16.42% 15.94% 15.94%
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

    นักเรียนอยู่ในวัยเจริญเติบโต

    สรุปภาวะโภชนาการ

    ผู้ปกครองร่วมดูแลภาวะโถชนาการ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

    การสนับสนุนการดื่มนม

    บันทึกการดื่มนม

    ส่งเสริมการออกกำลังกาย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

    ส่งเสริมนักเรียนดื่มนม

    บันทึกการดื่มนม

    ส่งเสริมการออกกำลังกาย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

    จัดทำข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคล

    บัตรบันทึกสุขภาพนักเรียน

    ผู้ปกครองร่วมเฝ้าระวังภาวะสุขภาพนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

    ประชุมผู้ปกครอง

    บันทึกการประชุม

    สร้างความร่วมมือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเพื่อร่วมให้ความรู้นักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

    1.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ความร่วมมือและสนับสนุนด้านวิชาการ ได้แก่
    (1) สำนังงานปศุสัตว์จังหวัดยโสธร ให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงไก่ (2) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดยโสธร ให้ความรู้เรื่องสหกรณ์และจัดระบบสหกรณ์ (3) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร เป็นวิทยากร การพัฒนานักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพ (4) เทศบาลตำบลเดิด สนับสนุนกิจกรรมสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน (5) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคำแดง ให้บริการสุขภาพนักเรียน 2.โรงเรียนประสานงานกับโรงเรียนเครือข่ายคุณภาพยศบดินทร์ จำนวน 11 โรงเรียน ได้ให้ความสนใจและนำไปพัฒนานักเรียนตามแนวทางเด็กไทยแก้มใส ได้แก่
    (1) โรงเรียนบ้านเดิด (2) โรงเรียนบ้านเชือก (3) โรงเรียนบ้านบาก (4) โรงเรียนบ้านหนองบั่วและโรงเรียนบ้านหนองบั่วสาขาโพนขวาว (5) โรงเรียนบ้านขั้นไดใหญ่โนนค้อ (6) โรงเรียนบ้านใหม่ชุมพร (7) โรงเรียนบ้านนาคำ(นาคำวิทยาคาร) (8) โรงเรียนบ้านคำฮี (9) โรงเรียนบ้านเชือกน้อย (10) โรงเรียนบ้านน้ำโผ่

    หมายเหตุ *

    • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 63 (ชุมชนบ้านคำแดง) จังหวัด ยโสธร

    รหัสโครงการ ศรร.1311-076

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายพรชัย ภาพันธ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด