แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 36 (บ้านบะตากา)
“ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 36 (บ้านบะตากา) ”
ถนนโพนทอง - กุฉินารายณ์ ตำบลหนองใหญ่ อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด
หัวหน้าโครงการ
นายพิชิต พลเยี่ยม
ชื่อโครงการ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 36 (บ้านบะตากา)
ที่อยู่ ถนนโพนทอง - กุฉินารายณ์ ตำบลหนองใหญ่ อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัด ร้อยเอ็ด
รหัสโครงการ ศรร.1312-054 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.8
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 36 (บ้านบะตากา) จังหวัดร้อยเอ็ด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ถนนโพนทอง - กุฉินารายณ์ ตำบลหนองใหญ่ อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 36 (บ้านบะตากา) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 36 (บ้านบะตากา)
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 36 (บ้านบะตากา) " ดำเนินการในพื้นที่ ถนนโพนทอง - กุฉินารายณ์ ตำบลหนองใหญ่ อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด รหัสโครงการ ศรร.1312-054 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 36 (บ้านบะตากา) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 301 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๓๖ (บ้านบะตากา) จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาสุขนิสัยและส่งเสริมสุขภาพนักเรียน
- โรงเรียน หน่วยงาน และองค์กรในชุมชนมีความสามารถในการบริหารจัดการอาหาร โภชนาการ และสุขภาพ อย่างเป็นระบบ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดภัยจากสารพิษ เพื่อใช้ในโครงการอาหารกลางวัน
- เด็กนักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
- โรงเรียนเป็นศูนย์การเรียนโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
- ผู้ปกครอง ชุมชนเห็นความสำคัญของการพัฒนา
สุขนิสัย การส่งเสริมสุขภาพ มีความตระหนักในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครอง เพื่อชี้แจงโครงการ
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.นายพิชิต พลเยี่ยม ผู้อำนวยการโรงเรียนเป็นประธานในพิธีการประชุมผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษา ชี้แจงเหตุผลและความจำเป็นในการดำเนินกิจกรรมพัฒนานักเรียนตามโครงการโรงต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
2.นางสมเพชร จิตจักร์ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการ ชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการ และขอความอนุเคราะห์ผู้ปกครองให้ความสนับสนุนโครงการเพื่อพัฒนานักเรียนด้านสุขอนามัย ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาด้านสติปัญญา และด้านการเรียนรู้
3.นางพิสมัย ศรีตระกูล เจ้าหน้าที่อาหารกลางวัน ให้ความรู้เกี่ยวกับหลักโภชนาการอาหาร สุขอนามัยส่วนตัว และความสำคัญในการพัฒนาการเจริญเติบโตของบุตรหลานให้สมวัย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ครูผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใสและยินดีให้ความร่วมมือในการดำเนินงานกิจกรรมตามโครงการ
15
164
2. การปลูกผักปลอดสารพิษ
วันที่ 27 กรกฎาคม 2559 เวลา 15:30 น.กิจกรรมที่ทำ
1.อบรมนักเรียนให้ความรู้การเตรียมดิน การทำปุ๋ยหมัก การปลูก การดูแลรักษา การใส่ปุ๋ย การขยายพันธ์พืช การเก็บเกี่ยวผลผลิตพืช ผัก ผลไม้้ เกษตรอินทรีย์บผสแบมผสาน
2.ให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ได้แก่ การเตรียมดิน การปลูกผัก เช่น ผักบุ้ง คะน้า ผักกาดหอม ผักชี น้ำเต้า
3. การดูแลรักษาระหว่างปลูก เช่น การใส่ปุ๋ย การให้น้ำ การกำจัดวัชพืชศัตรูพืช
4.การเก็บเกี่ยวผลผลิตและสรุปกิจกรรมตามแผน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการเตรียมดิน การปลูก การดูแลรักษา การใส่ปุ๋ย การขยายพันธ์พืช การให้น้ำ การกำจัดวัชพืชศัตรูพืช การดูแลใส่ปุ๋ย การเก็บเกี่ยวผลผลิตและจำหน่าย
2.นักเรียนได้ปลูกพืช ผัก เกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน
3.เป็นแหล่งเรียนรู้และนำผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวัน
4.นักเรียนมีความรับผิดชอบ มีความซื่อสัตย์สุจริต
5.นักเรียนมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
161
157
3. ขยายจำนวนแม่ไก่พันธุ์ไข่
วันที่ 4 สิงหาคม 2559 เวลา 15:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.อบรมนักเรียนให้ความรู้เกี่ยวกับ การเลี้ยงไก่ไข่ การดูแลรักษา การให้อาหาร ลักษณะของโรงเรือน อุปกรณ์ที่ใช้ในโรงเรือน การทำความสะอาดโรงเรือน ภาชนะและอุปกรณ์ต่างๆ การเก็บไข่
2.ให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ได้แก่ การนำไก่ไข่ไว้ในกรง การให้อาหาร อุปกรณ์ที่ใช้ในโรงเรือน การทำความสะอาดโรงเรือน การเก็บไข่
3.การดูแลรักษา เช่น การล้างโรงเรือน การให้น้ำ การทำความสะอาดภาชนะและอุปกรณ์ต่างๆ 4.การจำหน่ายผลผลิต
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการเลี้ยงไก่ไข่ ได้แก่ การดูแลรักษา การให้อาหาร ลักษณะของโรงเรือน อุปกรณ์ที่ใช้ในโรงเรือน การทำความสะอาดโรงเรือน ภาชนะและอุปกรณ์ต่างๆ การเก็บไข่
2.เป็นแหล่งเรียนรู้และนำผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวัน
3.นำไปประกอบอาชีพที่บ้านมีรายได้ระหว่างเรียน
19
19
4. การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก
วันที่ 9 สิงหาคม 2559 เวลา 15:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.อบรมให้ความรู้ในการเลี้ยงปลาในบ่อดิน 2. เตรียมสถานที่ อุปกรณ์ และวัสดุที่ใช้ในการเลี้ยงปลาในบ่อดิน อาหารการเลี้ยงปลาในบ่อดิน 3. อธิบายและสาธิตการเลี้ยงปลาในบ่อดิน 4. ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติจริงตามกระบวนการ 5. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปผลการเลี้ยงปลาในบ่อดิน
-วันที่ 28 กรกฏาคม 2559 ขุดบ่อปลา ใช้ผ้าพลาสติก ปูรองพื้น
-วันที่ 2 สิงหาคม 2559 นำกระสอบลูกแหวางทับรอบบ่อ ปล่อยน้ำลงบ่อ
- วันที่ 5 สิงหาคม 2559 นำเอ็นกรงไก่ล้อมรอบบ่อ
-วันที่ 8 สิงหาคม 2559 ปล่อยพันธ์ุปลาดุกลงในบ่อ
-วันที่ 9 สิงหาคม 2559 ซื้ออาหารปลาดุก มาให้ปลา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการเลี้ยงปลาในบ่อดิน ได้แก่ การคัดเลือกพันธุ์ปลา การให้อาหาร การถ่ายเทน้ำ การป้องกันโรคของปลา การจับปลา การจำหน่าย การดูแลรักษา
2.เป็นแหล่งเรียนรู้และนำผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวัน
3.นักเรียนนำความรู้ ประสบการณ์ที่ได้รับนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ
18
18
5. การทำน้ำหมักชีวภาพ
วันที่ 11 สิงหาคม 2559 เวลา 15:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- วิทยากรจากกรมพัฒนาที่ดิน อบรมให้ความรู้และปฏิบัติแก่นักเรียนเกี่ยวกับการทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ
- การทำปุ๋ยน้ำชีวภาพเตรียมวัสดุอุปกรณ์ ได้แก่ เศษผัก เศษอาหารกลางวัน กากน้ำตาลและอีเอ็ม หัวเชื้อ นำมาผสมกันด้วยอัตราส่วน หมักไว้ในถังพลาสติก
- นำถังหมักน้ำชีวภาพไปเก็บไว้ในโรงเรียนในอุณหภูมิที่เหมาะสมเมื่อครบ 7 วัน สามารถนำมาใช้ได้ โดยผสมน้ำในอัตราส่วนที่กำหนด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.นักเรียนมีความรู้ มีทักษะ ในการทำปุ๋ยหมักน้ำชีวภาพ
2.นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติเกี่ยวกับการทำปุ๋ยหมักน้ำชีวภาพโรงเรียน
3.เป็นแหล่งเรียนรู้
4.นำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปประกอบอาชีพในอนาคต
5.ได้ผลที่คุ้มค่า ประหยัด ปลอดภัย เนื่องจากนำเศษวัสดุ ปุ๋ยคอก เศษผัก เศษผลไม้ ที่เหลือใช้มาทำปุ๋ยหมักน้ำชีวภาพ
6.นักเรียนมีความรู้ มีทักษะ ในการทำปุ๋ยหมักน้ำชีวภาพ ไปเผยแพร่ และขยายผลต่อชุมชน
158
155
6. ปรับปรุงห้องพยาบาล ศูนย์การเรียนรู้เพื่อสุขภาพ
วันที่ 31 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประชุมครูเพื่อกำหนดแนวทางจัดบริการสุขภาพอนามัยนักเรียน 2.ปรับปรุงห้องพยาบาลให้เป็นเอกเทศ 3.จัดนิทรรศการ ฐานข้อมูลด้านสุขภาพนักเรียน 4.จัดหาการเวชภัณฑ์และอุปกรณ์ประจำห้องพยาบาล 5.บริการปฐมพยาบาลเบื้องต้นุ6.ประสานกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองใหญ่ ส่งต่อรักษา 7.ประเมินความพึงพอใจผู้ใช้บริการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- โรงเรียนมีห้องพยาบาลเป็นเอกเทศเป็นแหล่งบริการความรู้เรื่องสุขภาพ
- ห้องพยาบาล มีเวชภัณฑ์และอุปกรณ์ที่จำเป็นไว้บริการนักเรียน
บุคลากรเมื่อเจ็บป่วย
3
32
26
7. อบรมนักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพ(การตรวจฟัน,การปฐมพยาบาล)
วันที่ 1 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
วันที่ 1 กันยายน 2559 จัดเตรียมเอกสารประกอบการอบรม
วันที่ 2 กันยายน 2559 ดำเนินการจัดอบรมตามขั้นตอนดังนี้
1. ลงทะเบียน
2.พิธีเปิดอบรมอบรมผู้นำนักเรียน
3.อบรมเรื่องการปฐมพยาบาลการตรวจสุขภาพเบื้องต้น การแปรงฟัน การปฏิบัตตัวในวัยรุ่น
4. ทำแบบทดสอบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ผู้นำนักเรียนนำความรู้และทักษะในการตรวจสุขภาพด้วยตนเอง การปฐมพยาบาล การแปรงฟัน การปฏิบัติตัวในวัยรุ่น และนักเรียนคนอื่นๆได้
2.นักเรียนมีสุขนิสัยในการพัฒนาสุขภาพของตัวเอง
34
34
8. การเพาะเห็ด
วันที่ 9 กันยายน 2559 เวลา 15:30 น.กิจกรรมที่ทำ
1.อบรมให้ความรู้และปฏิบัติเกี่ยวกับการเพาะเห็ดขอนดำ ได้แก่ การพักก้อนเชื้อการวางก้อนเชื้อ การรดน้ำ การเก็บเห็ด การดูแลรักษา การจำหน่ายเห็ด
2.การเตรียมวัสดุอุปกรณ์การเพาะเห็ดขอนดำได้แก่ โรงเรือน ก้อนเชื้อ สายยางผ้าพลาสติก
3. ขั้นตอนการปฏิบัติเพาะเห็ดขอนดำ นำก้อนเชื้อไปบ่มไว้ในโรงเรือน เมื่อเชื้อวิ่งเต็มก้อนเชื้อซึ่งใช้เวลาประมาณ 25-28 วัน ก็เปิดฝาจุกรดน้ำวันละ 3 ครั้ง ประมาณ 3-5 วัน เห็ดก็งอกสามารถเก็บเกี่ยวได้
4. นักเรียนร่วมกันรุปและและแสดงผลงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการเพาะเห็ดขอนดำ ได้แก่ การพักก้อนเชื้อ การวางก้อนเชื้อ การรดน้ำ การเก็บเห็ด การดูแลรักษา การป้องกันเชื้อราที่เกิดขึ้นในก้อนเชื้อ การกำจัดศัตรูที่มาทำลายก้อนเห็ด
การทำโรงเรีอน การจำหน่ายเห็ด
2.เป็นแหล่งเรียนรู้และนำผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวัน
3. นำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปประกอบอาชีพในอนาคต
4. นักเรียนมีความรับผิดชอบและมีความซื่อสัตย์สุจริต
18
19
9. การทำรายงานศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1
วันที่ 20 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม
2.แยกกลุ่มตามโรงเรียน โดยแต่ละโรงเรียนจะได้รับความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ของส่วนกลาง
3.บันทึกรายละเอียดในระบบ
4.ตรวจสอบความถูกต้อง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ครูในโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติงาน ตามรูปแบบที่ สสส. กำหนด
2. ครูสามารถบันทึกความก้าวหน้าของกิจกรรมได้อย่างถูกต้อง
2
2
10. การจัดหา ผลิตสื่อนวัตกรรมการสอนแบบบูรณาการด้านการเกษตร โภชนาการและสุขภาพ
วันที่ 20 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.จัดหาวัสดุ สำหรับผลิตสื่อการเรียนการสอน เช่น กระดาษหมึกแฟ้ม
2.ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ โดยจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการเกี่ยวกับ ธงโภชนาการ การกินผักผลไม้ การลดหวานมันเค็ม การลดอ้วน
3.วัดและประเมินผลผู้เรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.นักเรียนเกิดการเชื่อมโยงการเรียนรู้ ช่วยให้ผู้เรียนได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในลักษณะองค์รวม
2. มีสื่อและนวัตกรรมใหม่ ๆ
3. นักเรียนมองเห็นประโยชน์ในสิ่งที่เรียนและนำไปใช้จริงได้
12
13
11. กิจกรรมฟันสวย ยิ้มใส
วันที่ 22 ธันวาคม 2559 เวลา 12:30 น.กิจกรรมที่ทำ
1.บันทึกขอจัดกิจกรรม 2.จัดหาแปรงสีฟัน ยาสีฟัน3.ให้ความรู้เรื่องการแปรงฟันที่ถูกวิธีโดยทันตแพทย์จากโรงพยาบาลโพนทอง 4.ฝึกนักเรียนแปรงฟันให้ถูกวิธี และมีการตรวจสุขภาพฟันโดยครู ผู้นำนักเรียนในการส่งเสริมสุขภาพทุกวันและมีทันตแพทย์เข้ามาตรวจสุขภาพฟันทุกภาคเรียน5.ประเมินผลความรู้ ความเข้าใจ ในการแปรงฟันุ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากการติตตามประเมินผล1. นักเรียนแปรงฟันอย่างถูกวิธีและทำเป็นกิจวัตร2. นักเรียนมีสุขภาพฟันที่ดีขึ้น 3. จากการตรวจสุขภาพฟันของทันตแพทย์นักเรียนที่ฟันผุ มีจำนวนลดลง
161
158
12. ขยายแหล่งดื่มน้ำ
วันที่ 22 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมเพื่อแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
- จัดหาวัสดุสำหรับทำแหล่งน้ำดื่ม
- จัดหาช่างดำเนินการและลงมือปฏิบัติงาน
- ตรวจสอบความเรียบร้อยและตรวจรับงาน
- รายงานผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนแหล่งน้ำดื่มอยู่ใกล้อาคารเรียน ไม่ต้องเสียเวลาในการเดินไปดื่มในจุดเดิมซึ่งอยู่ไกลอาคารเรียน
- มีแหล่งน้ำดื่มที่เพียงพอกับจำนวนนักเรียน
109
109
13. การอบรมผู้ปกครองนักเรียนกลุ่มเสี่ยง
วันที่ 23 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมคณะครูเพื่อวางแผนการทำงาน
- คัดเลือกนักเรียนกลุ่มเสี่ยงและทำหนังสือเชิญผู้ปกครองเข้าอบรม
- จัดทำเอกสารประกอบการอบรม
4.ดำเนินการจัดกิจกรรมตามแผนที่กำหนด
5.ติดตามประเมินผลและจัดทำรายงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ปกครองและครู ได้ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาร่วมกันและนำความรู้ที่ได้ไปช่วยแก้ปัญหาร่วมกับทางโรงเรียนเช่นการจัดการอาหาร การส่งเสริมการออกกำลังกาย การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ
42
22
14. อบรมนักเรียนแกนนำดำเนินงานสหกรณ์ 5 กลุ่ม
วันที่ 10 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.จัดทำเอกสารประกอบการอบรมคณะกรรมการบริหารสหกรณ์นักเรียน
2.เลือกคณะกรรมการบริหารสหกรณ์
3.จัดอบรมแนวทางดำเนินงานสหกรณ์นักเรียนโครงสร้างการบริหารงานหลักการของสหกรณ์ระเบียบสหกรณ์นักเรียนการประชุมสมาชิกการทำบัญชีรับจ่าย การปันผล
4.ประเมินผลการอบรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนแกนนำจำนวน 30คนมีความรู้ ความเข้าใจสามารถบริหารกิจการสหกรณ์นักเรียนได้
33
33
15. อบรมให้ความรู้ครู ผู้ประกอบอาหาร ผู้ปกครองเกี่ยวกับการจัดการอาหารนักเรียน
วันที่ 13 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดทำกำหนดการอบรมจัดหาวัสดุที่เกี่ยวข้องกับการอบรม
- เชิญวิทยากรคือ นักโภชนการจากโรงพยาบาลโพนทองมาบรรยายเพื่อให้ความรู้
- จัดอบรมตามกำหนดการ
- สอบถามความพึงพอใจ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ผู้ปกครอง แม่ครัวและครูได้แนวทางร่วมกันในการจัดอาหารให้ถูกหลักโภชนาการ การตักอาหารได้เหมาะสม และสามารถนำไปปรับใช้ในครอบครัวเพื่อดูแลสุขภาพของนักเรียนและคนในครอบครัว
2. นักเรียนได้รับการบริการด้านอาหารอย่างถูกต้องและเหมาะสม
161
146
16. โรงเรียนสะอาดบรรยากาศสดชื่น
วันที่ 16 มกราคม 2560 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดประชุมครูสภานักเรียน เพื่อกำหนดแนวทางพัฒนาสภาพแวดล้อมในโรงเรียน
- มอบหมายเขตพื้นที่รับผิดชอบดูแลความสะอาดบริเวณ ห้องเรียน อาคารเรียนและห้องสุขา
- ให้ความรู้เรื่องสิ่งแวดล้อม การจัดการขยะ สร้างความตระหนักให้มีจิตสาธาณะ
- จัดหาอุปกรณ์การทำความสะอาด
ประเมินผลการจัดทำความสะอาด การพัฒนาสภาพแวดล้อม
จัดทำธนาคารขยะ
นำขยะจำหน่าย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนเกิดความตระหนัก ให้ความร่วมมมือ พัฒนาสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้น่าดู น่าอยู่ น่าดู น่าเรียน
- โรงเรียนเป็นศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ที่มีความสะอาด ร่มรื่น สวยงาม เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนและโรงเรียนอื่นๆ
161
157
17. ฐานการเรียนรู้แบบบูรณาการ
วันที่ 26 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
๑. ค้นหาความรู้เกี่ยวกับผลิตผลทางการเกษตร เช่นการปลูกเห็ดการเลี้ยงไก่ การเลี้ยงปลา(การปลูกผักให้นักเรียนช่วยกันแต่งกลอนสุภาพเกี่ยวกับสรรพคุณของผัก)
๒. คัดเลือกเนื้อหาที่สำคัญเพื่อนำไปทำเป็นป้ายไวนิล
๓. นำป้ายที่ทำเสร็จแล้วมาติดตามฐานการเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาหาความรู้
๔. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มรับผิดชอบนำเสนอเกี่ยวกับกิจกรรมที่ตัวเองรับผิดชอบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- มีป้ายไวนิลสำหรับให้ความรู้ในแต่ละฐานไ่่ด้แก่การปลูกฟักข้าวมะนาว เลี้ยงไก่เลี้ยงปลาบวบหอมฟักน้ำเต้า เพาะเห็ดและปลูกผัก
- นักเรียนแกนนำสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับเพื่อน ชุมชน ผู้ที่เข้ามาศึกษาดูงานในโรงเรียน และนักเรียนได้ความรู้จากป้ายความรู้
0
73
18. จัดทำฐานข้อมูลระบบสารสนเทศภาวะโภชนาการนักเรียน
วันที่ 27 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประชุมครูเพื่อแจ้งแนวทางดำเนินงาน
2. ชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูง ภาคเรียนละ 2 ครั้ง คือ ต้นเทอม และปลายเทอม
3.กรอกข้อมูลเข้าในโปรแกรมประเมินภาวะโภชนาการ
4.นำผลการวิเคราะห์มาสรุปรายชั้น
5.ช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาด้านภาวะโภชนาการ ประสานงานกับผู้ปกครอง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้การสนับสนุนการแก้ปัญหาผู้เรียน
6.สรุปผล รายงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย มีสุขภาพกายที่แข็งแรง เด็กกลุ่มเสี่ยงได้รับการแก้ปัญหาอย่างถูกต้อง
161
0
19. การทำน้ำยาเอนกประสงค์
วันที่ 27 มกราคม 2560 เวลา 15:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดหาวัสดุที่เกี่ยวข้องในการผลิต
- คัดเลือกนักเรียนที่รับผิดชอบ
- ผลิตน้ำยาเอนกประสงค์เช่น น้ำยาล้างจาน น้ำยาล้างห้องน้ำ น้ำยาถูพื้นสบู่เหลวฯลฯ รายละเอียดกิจกรรมให้ความรู้นักเรียนในการผลิตน้ำยาเอนกประสงค์ ตลอดจนการบรรจุผลิตภัณฑ์ลงในบรรจุภัณฑ์ นักเรียนนำน้ำยาเอนกประสงค์ไปจำหน่ายให้กับโรงเรียนโดยผ่านระบบสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน
- การจัดทำรายรับรายจ่ายต่างๆในกิจกรรมการผลิต
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.นักเรียนได้เรียนรู้ และได้ลงมือปฏิบัติจริงในการทำน้ำยาล้างจาน และน้ำยาล้างห้องน้ำ -
2. นักเรียนได้รับความรู้ และสามารถทำน้ำยาล้างจาน และน้ำยาล้างห้องน้ำได้
3. มีความรู้เกี่ยวกับการจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย
63
0
20. การจัดค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม “สมาร์ทคิดส์ สมาร์ทเฮลท์”
วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.แบ่งกิจกรรมออกเป็นฐานการเรียนรู้ จำนวน5 ฐานได้แก่1. สุขบัญญัติแห่งชาติ2.ธงโภชนาการ 3. การปฐมพยาบาลเบื้องต้น 4.การปรับพฤติกรรมการบริโภค 5. การออกกำลังกายตามวัย
2.แบ่งนักเรียนออกเป็น5 กลุ่ม เข้าเรียนตามฐานการเรียนรู้
3.นักเรียนร่วมกันสรุปและและแสดงผลงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับสุขบัญญัติแห่งชาติ 10 ประการ,ธงโภชนการ
- นักเรียนมีทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
- นักเรียนรู้จักปรับพฤติกรรมการบริโภค และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
- นักเรียนรู้จักออกกำลังกายตามวัยเพื่อสุขภาพ
161
156
21. การแก้ปัญหาเด็กอ้วน
วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 15:30 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมครูเพื่อวางแผนการทำงาน
- คัดแยกนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ เพื่อเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายหลังเลิกเรียนทุกวัน
3ั.จัดหาอุปกรณ์สำหรับออกกำลังกาย เช่น เชือกกระโดด
- จัดกิจกรรมเต้นแอโรบิกหลังเลิกเรียนทุกวัน
- จัดหาอุปกรณ์วัดมาตรฐานเครื่องชั่ง
- จัดให้มีการชั่งน้ำหนักนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินทุกสัปดาห์
- ประเมินผลการดำเนินงานม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรงรักการออกกำลังกายรู้จักเฝ้าระวังภาะโภชนาการของตัวเองนักเรียนที่อยู่ในกลุ่มอ้วนลดลงแต่เริ่มอ้วนเพิ่มขึ้น เนื่องจากในภาคเรียนที่ 2 ทางโรงเรียนมีกิจกรรมต้องดำเนินการมากจึงทำให้ขาดความต่อเนื่องในการออกกำลังกาย
42
53
22. กิจกรรมศึกษาดูงานด้านการจัดการเรียนรู้ เกษตร โภชนาการและสุขภาพ
วันที่ 9 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
- ติดต่อประสานงานกับโรงเรียนที่ไปศึกษาดูงาน
- ทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครอง
- นำนักเรียนไปศึกษาดูงานที่โรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้องต.ทะเมนชัยอ.ลำปลายมาศจ.บุรีรัมย์ โดยศึกษาดูงานเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ด้านเกษตรโภชนาการ และสุขภาพตามวันเวลาที่กำหนด
- รายงานผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คณะครู นักเรียนได้รับประสบการณ์ที่หลากหลายเช่น การบูรณาการด้านเกษตรเกี่ยวกับการจัดการสิ่งที่เหลือใช้จากอาหารกลางวันมาใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยนำมาเลี้ยงหมูป่า การพัฒนาระบบน้ำด้วยพลังงานทดแทน (โซล่าเซลล์) ธนาคารขยะ กองทุนข้าวเปลือกกิจกรรมออมทรัพย์ทางโรงเรียนจะนำมาปรับใช้ตามบริบทของโรงเรียนต่อไป
73
73
23. ทำปุ๋ยหมักจากเศษใบไม้
วันที่ 10 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ศึกษาวิธีการทำปุ๋ยหมักจากเศษใบไม้ จากผู้มีประสบการณ์ จากแหล่งความรู้ในอินเทอร์เน็ต
- จัดหาวัสดุที่จะใช้ในการจัดทำปุ๋ยหมัก เช่น สายยาง ถังน้ำ ปุ๋ยยูเรีย น้ำหมักชีวภาพ สารเร่งการย่อยสลาย (พด.2)
- นำเศษใบไม้ที่อยู่ในบ่อเก็บออกมากองไว้ด้านนอกก่อน
- ทำการฉีดน้ำให้ทั่วบริเวณ หลังจากนั้นนำปุ๋ยยูเรีย น้ำหมักชีวภาพ สารเร่งการย่อยสลาย (พด.2) ผสมน้ำลงในถัง คนให้เข้ากัน
- น้ำส่วนผสมราดให้ทั่ว โดยทำเป็นชั้น ๆ
- ควรหมั่นรดน้ำทุกวันเพื่อให้มีความชื้นพอเหมาะ
- ประมาณ 2 เดือน ก่อนที่จะนำมาใช้ ให้สังเกตความร้อนภายในกองปุ๋ยว่าอุณหภูมิใกล้เคียงกับภายนอกกอง หรือมีพืชเจริญบนกองปุ๋ยหมักก็ถือว่าสามารถนำมาใส่ต้นไม้ ได้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียน ครู มีความรู้เกี่ยวกับการทำปุ๋ยหมักจากใบไม้ เป็นการนำเศษใบไม้ที่มีอยู่ในโรงเรียนมาใช้ในเกิดประโยชน์ นอกจากนี้ยังสามารถนำไปประยุกต์ใช้ครอบครัวได้
38
44
24. กิจกรรมรณรงค์พัฒนาสิ่งแวดล้อม
วันที่ 13 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประชุมครูเพื่อมอบหมายงานนักเรียนแต่ละชั้น 2.จัดทำแผ่นป้ายรณรงค์สำหรับนักเรียนและผู้ปกครอง 3.ประชาสัมพันธ์ให้ผู้ปกครองทราบ น 4.นักเรียนเดินรณรงค์ สร้างความตระหนักให้ชุมชนให้ความสำคัญในการพัฒนาสิ่งแวดล้อม 5.นักเรียนเก็บขยะรีไซเคิลและร่วมกันเก็บขยะในชุมชนวัด6.ประเมินผลความพึงพอใจนักเรียนและสร้างความตระหนัก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนผู้ปกครองมีความตระหนักในเรื่องการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและช่วยกันพัฒนาสิ่งแวดล้อมให้น่าอยุ่
161
79
25. การทำรายงานศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 2
วันที่ 31 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
๑.ประชุมคณะครู ๑๐ คน เพื่อกำหนดแนวทางนิเทศ กำกับติดตามและสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล
๒.จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน ๕ ชุด
๓. รายการดำเนินงานตามกรอบที่ สสส.กำหนด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
๑. ผู้รับผิดชอบโครงการทราบแนวทางดำเนินและสามารถรายงานผลการดำเนินงาน
๒. โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน
2
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาสุขนิสัยและส่งเสริมสุขภาพนักเรียน
ตัวชี้วัด : โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการพัฒนาสุขนิสัยและส่งเสริมสุขภาพ
2
โรงเรียน หน่วยงาน และองค์กรในชุมชนมีความสามารถในการบริหารจัดการอาหาร โภชนาการ และสุขภาพ อย่างเป็นระบบ
ตัวชี้วัด : ผู้เรียน บุคลากรและคนในชุมชนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
3
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 36 (บ้านบะตากา) จังหวัด ร้อยเอ็ด
รหัสโครงการ ศรร.1312-054
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายพิชิต พลเยี่ยม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 36 (บ้านบะตากา)
“ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 36 (บ้านบะตากา) ”
ถนนโพนทอง - กุฉินารายณ์ ตำบลหนองใหญ่ อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ดหัวหน้าโครงการ
นายพิชิต พลเยี่ยม
ชื่อโครงการ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 36 (บ้านบะตากา)
ที่อยู่ ถนนโพนทอง - กุฉินารายณ์ ตำบลหนองใหญ่ อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัด ร้อยเอ็ด
รหัสโครงการ ศรร.1312-054 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.8
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 36 (บ้านบะตากา) จังหวัดร้อยเอ็ด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ถนนโพนทอง - กุฉินารายณ์ ตำบลหนองใหญ่ อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 36 (บ้านบะตากา) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 36 (บ้านบะตากา)
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 36 (บ้านบะตากา) " ดำเนินการในพื้นที่ ถนนโพนทอง - กุฉินารายณ์ ตำบลหนองใหญ่ อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด รหัสโครงการ ศรร.1312-054 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 36 (บ้านบะตากา) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 301 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๓๖ (บ้านบะตากา) จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาสุขนิสัยและส่งเสริมสุขภาพนักเรียน
- โรงเรียน หน่วยงาน และองค์กรในชุมชนมีความสามารถในการบริหารจัดการอาหาร โภชนาการ และสุขภาพ อย่างเป็นระบบ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดภัยจากสารพิษ เพื่อใช้ในโครงการอาหารกลางวัน
- เด็กนักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
- โรงเรียนเป็นศูนย์การเรียนโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
- ผู้ปกครอง ชุมชนเห็นความสำคัญของการพัฒนา สุขนิสัย การส่งเสริมสุขภาพ มีความตระหนักในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครอง เพื่อชี้แจงโครงการ |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.นายพิชิต พลเยี่ยม ผู้อำนวยการโรงเรียนเป็นประธานในพิธีการประชุมผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษา ชี้แจงเหตุผลและความจำเป็นในการดำเนินกิจกรรมพัฒนานักเรียนตามโครงการโรงต้นแบบเด็กไทยแก้มใส 2.นางสมเพชร จิตจักร์ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการ ชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการ และขอความอนุเคราะห์ผู้ปกครองให้ความสนับสนุนโครงการเพื่อพัฒนานักเรียนด้านสุขอนามัย ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาด้านสติปัญญา และด้านการเรียนรู้ 3.นางพิสมัย ศรีตระกูล เจ้าหน้าที่อาหารกลางวัน ให้ความรู้เกี่ยวกับหลักโภชนาการอาหาร สุขอนามัยส่วนตัว และความสำคัญในการพัฒนาการเจริญเติบโตของบุตรหลานให้สมวัย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นครูผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใสและยินดีให้ความร่วมมือในการดำเนินงานกิจกรรมตามโครงการ
|
15 | 164 |
2. การปลูกผักปลอดสารพิษ |
||
วันที่ 27 กรกฎาคม 2559 เวลา 15:30 น.กิจกรรมที่ทำ1.อบรมนักเรียนให้ความรู้การเตรียมดิน การทำปุ๋ยหมัก การปลูก การดูแลรักษา การใส่ปุ๋ย การขยายพันธ์พืช การเก็บเกี่ยวผลผลิตพืช ผัก ผลไม้้ เกษตรอินทรีย์บผสแบมผสาน
2.ให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ได้แก่ การเตรียมดิน การปลูกผัก เช่น ผักบุ้ง คะน้า ผักกาดหอม ผักชี น้ำเต้า ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการเตรียมดิน การปลูก การดูแลรักษา การใส่ปุ๋ย การขยายพันธ์พืช การให้น้ำ การกำจัดวัชพืชศัตรูพืช การดูแลใส่ปุ๋ย การเก็บเกี่ยวผลผลิตและจำหน่าย 2.นักเรียนได้ปลูกพืช ผัก เกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน 3.เป็นแหล่งเรียนรู้และนำผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวัน 4.นักเรียนมีความรับผิดชอบ มีความซื่อสัตย์สุจริต 5.นักเรียนมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
|
161 | 157 |
3. ขยายจำนวนแม่ไก่พันธุ์ไข่ |
||
วันที่ 4 สิงหาคม 2559 เวลา 15:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.อบรมนักเรียนให้ความรู้เกี่ยวกับ การเลี้ยงไก่ไข่ การดูแลรักษา การให้อาหาร ลักษณะของโรงเรือน อุปกรณ์ที่ใช้ในโรงเรือน การทำความสะอาดโรงเรือน ภาชนะและอุปกรณ์ต่างๆ การเก็บไข่ 2.ให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ได้แก่ การนำไก่ไข่ไว้ในกรง การให้อาหาร อุปกรณ์ที่ใช้ในโรงเรือน การทำความสะอาดโรงเรือน การเก็บไข่ 3.การดูแลรักษา เช่น การล้างโรงเรือน การให้น้ำ การทำความสะอาดภาชนะและอุปกรณ์ต่างๆ 4.การจำหน่ายผลผลิต ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการเลี้ยงไก่ไข่ ได้แก่ การดูแลรักษา การให้อาหาร ลักษณะของโรงเรือน อุปกรณ์ที่ใช้ในโรงเรือน การทำความสะอาดโรงเรือน ภาชนะและอุปกรณ์ต่างๆ การเก็บไข่ 2.เป็นแหล่งเรียนรู้และนำผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวัน 3.นำไปประกอบอาชีพที่บ้านมีรายได้ระหว่างเรียน
|
19 | 19 |
4. การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก |
||
วันที่ 9 สิงหาคม 2559 เวลา 15:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.อบรมให้ความรู้ในการเลี้ยงปลาในบ่อดิน 2. เตรียมสถานที่ อุปกรณ์ และวัสดุที่ใช้ในการเลี้ยงปลาในบ่อดิน อาหารการเลี้ยงปลาในบ่อดิน 3. อธิบายและสาธิตการเลี้ยงปลาในบ่อดิน 4. ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติจริงตามกระบวนการ 5. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปผลการเลี้ยงปลาในบ่อดิน -วันที่ 28 กรกฏาคม 2559 ขุดบ่อปลา ใช้ผ้าพลาสติก ปูรองพื้น ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการเลี้ยงปลาในบ่อดิน ได้แก่ การคัดเลือกพันธุ์ปลา การให้อาหาร การถ่ายเทน้ำ การป้องกันโรคของปลา การจับปลา การจำหน่าย การดูแลรักษา 2.เป็นแหล่งเรียนรู้และนำผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวัน 3.นักเรียนนำความรู้ ประสบการณ์ที่ได้รับนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ
|
18 | 18 |
5. การทำน้ำหมักชีวภาพ |
||
วันที่ 11 สิงหาคม 2559 เวลา 15:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.นักเรียนมีความรู้ มีทักษะ ในการทำปุ๋ยหมักน้ำชีวภาพ 2.นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติเกี่ยวกับการทำปุ๋ยหมักน้ำชีวภาพโรงเรียน 3.เป็นแหล่งเรียนรู้ 4.นำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปประกอบอาชีพในอนาคต 5.ได้ผลที่คุ้มค่า ประหยัด ปลอดภัย เนื่องจากนำเศษวัสดุ ปุ๋ยคอก เศษผัก เศษผลไม้ ที่เหลือใช้มาทำปุ๋ยหมักน้ำชีวภาพ 6.นักเรียนมีความรู้ มีทักษะ ในการทำปุ๋ยหมักน้ำชีวภาพ ไปเผยแพร่ และขยายผลต่อชุมชน
|
158 | 155 |
6. ปรับปรุงห้องพยาบาล ศูนย์การเรียนรู้เพื่อสุขภาพ |
||
วันที่ 31 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประชุมครูเพื่อกำหนดแนวทางจัดบริการสุขภาพอนามัยนักเรียน 2.ปรับปรุงห้องพยาบาลให้เป็นเอกเทศ 3.จัดนิทรรศการ ฐานข้อมูลด้านสุขภาพนักเรียน 4.จัดหาการเวชภัณฑ์และอุปกรณ์ประจำห้องพยาบาล 5.บริการปฐมพยาบาลเบื้องต้นุ6.ประสานกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองใหญ่ ส่งต่อรักษา 7.ประเมินความพึงพอใจผู้ใช้บริการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
32 | 26 |
7. อบรมนักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพ(การตรวจฟัน,การปฐมพยาบาล) |
||
วันที่ 1 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำวันที่ 1 กันยายน 2559 จัดเตรียมเอกสารประกอบการอบรม
วันที่ 2 กันยายน 2559 ดำเนินการจัดอบรมตามขั้นตอนดังนี้
1. ลงทะเบียน
2.พิธีเปิดอบรมอบรมผู้นำนักเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ผู้นำนักเรียนนำความรู้และทักษะในการตรวจสุขภาพด้วยตนเอง การปฐมพยาบาล การแปรงฟัน การปฏิบัติตัวในวัยรุ่น และนักเรียนคนอื่นๆได้ 2.นักเรียนมีสุขนิสัยในการพัฒนาสุขภาพของตัวเอง
|
34 | 34 |
8. การเพาะเห็ด |
||
วันที่ 9 กันยายน 2559 เวลา 15:30 น.กิจกรรมที่ทำ1.อบรมให้ความรู้และปฏิบัติเกี่ยวกับการเพาะเห็ดขอนดำ ได้แก่ การพักก้อนเชื้อการวางก้อนเชื้อ การรดน้ำ การเก็บเห็ด การดูแลรักษา การจำหน่ายเห็ด 2.การเตรียมวัสดุอุปกรณ์การเพาะเห็ดขอนดำได้แก่ โรงเรือน ก้อนเชื้อ สายยางผ้าพลาสติก 3. ขั้นตอนการปฏิบัติเพาะเห็ดขอนดำ นำก้อนเชื้อไปบ่มไว้ในโรงเรือน เมื่อเชื้อวิ่งเต็มก้อนเชื้อซึ่งใช้เวลาประมาณ 25-28 วัน ก็เปิดฝาจุกรดน้ำวันละ 3 ครั้ง ประมาณ 3-5 วัน เห็ดก็งอกสามารถเก็บเกี่ยวได้ 4. นักเรียนร่วมกันรุปและและแสดงผลงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการเพาะเห็ดขอนดำ ได้แก่ การพักก้อนเชื้อ การวางก้อนเชื้อ การรดน้ำ การเก็บเห็ด การดูแลรักษา การป้องกันเชื้อราที่เกิดขึ้นในก้อนเชื้อ การกำจัดศัตรูที่มาทำลายก้อนเห็ด การทำโรงเรีอน การจำหน่ายเห็ด 2.เป็นแหล่งเรียนรู้และนำผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวัน 3. นำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปประกอบอาชีพในอนาคต 4. นักเรียนมีความรับผิดชอบและมีความซื่อสัตย์สุจริต
|
18 | 19 |
9. การทำรายงานศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 |
||
วันที่ 20 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม 2.แยกกลุ่มตามโรงเรียน โดยแต่ละโรงเรียนจะได้รับความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ของส่วนกลาง 3.บันทึกรายละเอียดในระบบ 4.ตรวจสอบความถูกต้อง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ครูในโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติงาน ตามรูปแบบที่ สสส. กำหนด 2. ครูสามารถบันทึกความก้าวหน้าของกิจกรรมได้อย่างถูกต้อง
|
2 | 2 |
10. การจัดหา ผลิตสื่อนวัตกรรมการสอนแบบบูรณาการด้านการเกษตร โภชนาการและสุขภาพ |
||
วันที่ 20 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.จัดหาวัสดุ สำหรับผลิตสื่อการเรียนการสอน เช่น กระดาษหมึกแฟ้ม 2.ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ โดยจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการเกี่ยวกับ ธงโภชนาการ การกินผักผลไม้ การลดหวานมันเค็ม การลดอ้วน 3.วัดและประเมินผลผู้เรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.นักเรียนเกิดการเชื่อมโยงการเรียนรู้ ช่วยให้ผู้เรียนได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในลักษณะองค์รวม
2. มีสื่อและนวัตกรรมใหม่ ๆ
|
12 | 13 |
11. กิจกรรมฟันสวย ยิ้มใส |
||
วันที่ 22 ธันวาคม 2559 เวลา 12:30 น.กิจกรรมที่ทำ1.บันทึกขอจัดกิจกรรม 2.จัดหาแปรงสีฟัน ยาสีฟัน3.ให้ความรู้เรื่องการแปรงฟันที่ถูกวิธีโดยทันตแพทย์จากโรงพยาบาลโพนทอง 4.ฝึกนักเรียนแปรงฟันให้ถูกวิธี และมีการตรวจสุขภาพฟันโดยครู ผู้นำนักเรียนในการส่งเสริมสุขภาพทุกวันและมีทันตแพทย์เข้ามาตรวจสุขภาพฟันทุกภาคเรียน5.ประเมินผลความรู้ ความเข้าใจ ในการแปรงฟันุ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการติตตามประเมินผล1. นักเรียนแปรงฟันอย่างถูกวิธีและทำเป็นกิจวัตร2. นักเรียนมีสุขภาพฟันที่ดีขึ้น 3. จากการตรวจสุขภาพฟันของทันตแพทย์นักเรียนที่ฟันผุ มีจำนวนลดลง
|
161 | 158 |
12. ขยายแหล่งดื่มน้ำ |
||
วันที่ 22 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
109 | 109 |
13. การอบรมผู้ปกครองนักเรียนกลุ่มเสี่ยง |
||
วันที่ 23 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ปกครองและครู ได้ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาร่วมกันและนำความรู้ที่ได้ไปช่วยแก้ปัญหาร่วมกับทางโรงเรียนเช่นการจัดการอาหาร การส่งเสริมการออกกำลังกาย การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ
|
42 | 22 |
14. อบรมนักเรียนแกนนำดำเนินงานสหกรณ์ 5 กลุ่ม |
||
วันที่ 10 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.จัดทำเอกสารประกอบการอบรมคณะกรรมการบริหารสหกรณ์นักเรียน
2.เลือกคณะกรรมการบริหารสหกรณ์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนแกนนำจำนวน 30คนมีความรู้ ความเข้าใจสามารถบริหารกิจการสหกรณ์นักเรียนได้
|
33 | 33 |
15. อบรมให้ความรู้ครู ผู้ประกอบอาหาร ผู้ปกครองเกี่ยวกับการจัดการอาหารนักเรียน |
||
วันที่ 13 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ผู้ปกครอง แม่ครัวและครูได้แนวทางร่วมกันในการจัดอาหารให้ถูกหลักโภชนาการ การตักอาหารได้เหมาะสม และสามารถนำไปปรับใช้ในครอบครัวเพื่อดูแลสุขภาพของนักเรียนและคนในครอบครัว 2. นักเรียนได้รับการบริการด้านอาหารอย่างถูกต้องและเหมาะสม
|
161 | 146 |
16. โรงเรียนสะอาดบรรยากาศสดชื่น |
||
วันที่ 16 มกราคม 2560 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
161 | 157 |
17. ฐานการเรียนรู้แบบบูรณาการ |
||
วันที่ 26 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ๑. ค้นหาความรู้เกี่ยวกับผลิตผลทางการเกษตร เช่นการปลูกเห็ดการเลี้ยงไก่ การเลี้ยงปลา(การปลูกผักให้นักเรียนช่วยกันแต่งกลอนสุภาพเกี่ยวกับสรรพคุณของผัก) ๒. คัดเลือกเนื้อหาที่สำคัญเพื่อนำไปทำเป็นป้ายไวนิล ๓. นำป้ายที่ทำเสร็จแล้วมาติดตามฐานการเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาหาความรู้ ๔. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มรับผิดชอบนำเสนอเกี่ยวกับกิจกรรมที่ตัวเองรับผิดชอบ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 73 |
18. จัดทำฐานข้อมูลระบบสารสนเทศภาวะโภชนาการนักเรียน |
||
วันที่ 27 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประชุมครูเพื่อแจ้งแนวทางดำเนินงาน 2. ชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูง ภาคเรียนละ 2 ครั้ง คือ ต้นเทอม และปลายเทอม 3.กรอกข้อมูลเข้าในโปรแกรมประเมินภาวะโภชนาการ 4.นำผลการวิเคราะห์มาสรุปรายชั้น 5.ช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาด้านภาวะโภชนาการ ประสานงานกับผู้ปกครอง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้การสนับสนุนการแก้ปัญหาผู้เรียน 6.สรุปผล รายงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย มีสุขภาพกายที่แข็งแรง เด็กกลุ่มเสี่ยงได้รับการแก้ปัญหาอย่างถูกต้อง
|
161 | 0 |
19. การทำน้ำยาเอนกประสงค์ |
||
วันที่ 27 มกราคม 2560 เวลา 15:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.นักเรียนได้เรียนรู้ และได้ลงมือปฏิบัติจริงในการทำน้ำยาล้างจาน และน้ำยาล้างห้องน้ำ -
2. นักเรียนได้รับความรู้ และสามารถทำน้ำยาล้างจาน และน้ำยาล้างห้องน้ำได้
|
63 | 0 |
20. การจัดค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม “สมาร์ทคิดส์ สมาร์ทเฮลท์” |
||
วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.แบ่งกิจกรรมออกเป็นฐานการเรียนรู้ จำนวน5 ฐานได้แก่1. สุขบัญญัติแห่งชาติ2.ธงโภชนาการ 3. การปฐมพยาบาลเบื้องต้น 4.การปรับพฤติกรรมการบริโภค 5. การออกกำลังกายตามวัย
2.แบ่งนักเรียนออกเป็น5 กลุ่ม เข้าเรียนตามฐานการเรียนรู้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
161 | 156 |
21. การแก้ปัญหาเด็กอ้วน |
||
วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 15:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนมีสุขภาพแข็งแรงรักการออกกำลังกายรู้จักเฝ้าระวังภาะโภชนาการของตัวเองนักเรียนที่อยู่ในกลุ่มอ้วนลดลงแต่เริ่มอ้วนเพิ่มขึ้น เนื่องจากในภาคเรียนที่ 2 ทางโรงเรียนมีกิจกรรมต้องดำเนินการมากจึงทำให้ขาดความต่อเนื่องในการออกกำลังกาย
|
42 | 53 |
22. กิจกรรมศึกษาดูงานด้านการจัดการเรียนรู้ เกษตร โภชนาการและสุขภาพ |
||
วันที่ 9 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคณะครู นักเรียนได้รับประสบการณ์ที่หลากหลายเช่น การบูรณาการด้านเกษตรเกี่ยวกับการจัดการสิ่งที่เหลือใช้จากอาหารกลางวันมาใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยนำมาเลี้ยงหมูป่า การพัฒนาระบบน้ำด้วยพลังงานทดแทน (โซล่าเซลล์) ธนาคารขยะ กองทุนข้าวเปลือกกิจกรรมออมทรัพย์ทางโรงเรียนจะนำมาปรับใช้ตามบริบทของโรงเรียนต่อไป
|
73 | 73 |
23. ทำปุ๋ยหมักจากเศษใบไม้ |
||
วันที่ 10 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียน ครู มีความรู้เกี่ยวกับการทำปุ๋ยหมักจากใบไม้ เป็นการนำเศษใบไม้ที่มีอยู่ในโรงเรียนมาใช้ในเกิดประโยชน์ นอกจากนี้ยังสามารถนำไปประยุกต์ใช้ครอบครัวได้
|
38 | 44 |
24. กิจกรรมรณรงค์พัฒนาสิ่งแวดล้อม |
||
วันที่ 13 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประชุมครูเพื่อมอบหมายงานนักเรียนแต่ละชั้น 2.จัดทำแผ่นป้ายรณรงค์สำหรับนักเรียนและผู้ปกครอง 3.ประชาสัมพันธ์ให้ผู้ปกครองทราบ น 4.นักเรียนเดินรณรงค์ สร้างความตระหนักให้ชุมชนให้ความสำคัญในการพัฒนาสิ่งแวดล้อม 5.นักเรียนเก็บขยะรีไซเคิลและร่วมกันเก็บขยะในชุมชนวัด6.ประเมินผลความพึงพอใจนักเรียนและสร้างความตระหนัก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนผู้ปกครองมีความตระหนักในเรื่องการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและช่วยกันพัฒนาสิ่งแวดล้อมให้น่าอยุ่
|
161 | 79 |
25. การทำรายงานศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 2 |
||
วันที่ 31 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ๑.ประชุมคณะครู ๑๐ คน เพื่อกำหนดแนวทางนิเทศ กำกับติดตามและสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล ๒.จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน ๕ ชุด ๓. รายการดำเนินงานตามกรอบที่ สสส.กำหนด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น๑. ผู้รับผิดชอบโครงการทราบแนวทางดำเนินและสามารถรายงานผลการดำเนินงาน ๒. โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน
|
2 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาสุขนิสัยและส่งเสริมสุขภาพนักเรียน ตัวชี้วัด : โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการพัฒนาสุขนิสัยและส่งเสริมสุขภาพ |
||||
2 | โรงเรียน หน่วยงาน และองค์กรในชุมชนมีความสามารถในการบริหารจัดการอาหาร โภชนาการ และสุขภาพ อย่างเป็นระบบ ตัวชี้วัด : ผู้เรียน บุคลากรและคนในชุมชนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี |
||||
3 | ตัวชี้วัด : |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 36 (บ้านบะตากา) จังหวัด ร้อยเอ็ด
รหัสโครงการ ศรร.1312-054
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายพิชิต พลเยี่ยม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......