ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนเทศบาลบ้านหนองแวง

รหัสโครงการ ศรร.1322-048 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.2 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

การปลูกผักปลอดสารพิษ

ให้นักเรียนแต่ละชั้นเรียนรับผิดชอบในการปลูกผักปลอดสารพิษที่ใช้ในการประกอบอาหารกลางวัน เพื่อนำผลผลิตที่ได้ส่งให้สหกรณ์โรงเรียน และจำหน่ายต่อให้กับโครงการอาหารกลางวัน เพื่อนำไปประกอบอาหารให้แก่นักเรียน

ขยายการดำเนินการปลูกผักปลอดสารพิษสู่ชุมชน เพื่อให้ผู้ปกครองและชุมชนเป็นผู้ผลิตผักปลอดสารพิษ เพิ่มจากผลผลิตของโรงเรียน มาจำหน่ายให้กับโรงเรียน โดยให้โรงเรียนบริหารจัดการรับผลิตจากชุมชนผ่านสหกรณ์โรงเรียนตามรายการเมนูอาหารกลางวันของโรงเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

การออมทรัพย์นักเรียน

นักเรียนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล ถึงชั้น ป.6 มีการออมทรัพย์ทุกคน โดยให้ครูประจำชั้นรับฝากเงินทุกวัน และให้นำส่งฝ่ายการเงินของโรงเรียนทุกสิ้นเดือนเพื่อนำเงินฝากส่งเข้าธนาคารทุกเดือน และมีข้อแม้ว่านักเรียนจะถอนได้ก็ต่อเมื่อสำเร็จการศึกษา หรือย้ายสถานศึกษา เพื่อให้นักเรียนใช้เป็นทุนในการศึกษาต่อ ช่วยลดภาระผู้ปกครองได้บางส่วน

จัดทำธนาคารในโรงเรียน เพื่อเป็นการจำลองสาขาของธนาคารไว้ในโรงเรียน และเปิดโอกาสให้นักเรียนเป็นผู้ดำเนินการธนาคารด้วยตนเอง ภายใต้การดูแลของธนาคาร ที่ทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงให้คำแนะนำ เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์การทำงานที่เหมือนจริง ในรูปแบบของสถาบันการเงินให้กับนักเรียน และพัฒนาต่อยอดให้เด็กมีนิสัยรักการออม

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ (PBL)

1.สร้างแรงบรรดาลใจการเรียนรู้จากสภาพปัญหา สิ่งแวดล้อมรอบตัว และชุมชน มาวิเคราะห์เกิดเป็นหน่วยการเรียนรู้ ตามกรอมมาตรฐานการเรียนรู้แต่ละช่วงชั้น 2.นักเรียนออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ โดยมีครูเป็นผู้ให้คำแนะนำ
3. วางแผนการเรียนรู้ เป็นปฏิทินการเรียนรู้รายสัปดาห์ วิเคราะห์ชิ้นงาน และภาระงาน ให้สอดคล้องกับเรื่องที่เรียน 4. นักเรียนลงมือปฏิบัติเรียนรู้ตามแผนกิจกรรมที่วางไว้ 5. สรุปองค์ความรู้หลังเรียนทุกสัปดาห์ 6. เมื่อเรียนรู้ครบตามแผน แต่ละชั้นเรียนจะนำเสนอกิจกรรมผ่านนิทรรศการแสดงผลงานนักเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน 7. ครูทำหน้าที่วัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้

จัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ (PBL) ที่เน้นให้นักเรียนสร้างองค์ความรู้ให้เกิดเป็นนวัตกรรมที่สามารถนำไปใช้ได้จริง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

1.การเกษตรในโรงเรียน ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาคีเครือข่าย ดังนี้ - หน่วยงานต้นสังกัด เทศบาลนครขอนแก่น ให้งบประมาณในการจัดโครงการเรียนรู้นอกห้องเรียน
- สถานีพัฒนาที่ดิน จ.ขอนแก่น สนับสนุนแหล่งเรียนรู้ วิทยากรในการให้ความรู้ในเรื่องการจัดทำปุ๋ยและการปรับปรุงดินให้มีปประสิทธิภาพ
- สำนักงานเกษตร อ.ซำสูง จ.ขอนแก่น สนับสนุนวิทยากรในการและเป็นแหล่งเรียนรู้ในการปลูกผักปลอดสารพิษ
- ชุมชนหนองแวงตราชู ให้ความร่วมมือเข้าร่วมกิจกรรมของทางโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง 2. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัยได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาคีเครือข่าย ดังนี้ - เทศบาลนครขอนแก่น ให้การสนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาบบุคลากร - โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา อ.ลำปลายมาศ จ.บุรีรัมย์เป็นวิทยากรณ์ในการให้ความรู้เกี่ยวกับแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบฐุรณาการ (PBL)

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

  • มีพื้นที่ และแหล่งน้ำในการทำการเกษตรที่เพียงพอ
  • ความเข้มแข็งของผู้บริหาร ครู บุคลากร และชุมชน
  • มีภาคีเครือข่ายหลายหน่วยงานที่ให้การสนับสนุนในการขับเคลื่อนโครงการ

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

  • กระบวนการสร้างวิถีชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC)
  • การบริหารจัดการโดยให้ทุกคนมีส่วนร่วม
  • สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับภาคีเครื่องข่าย และชุมชน

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

ครู นักเรียน และแม่ครัว มีส่วนร่วมในการออกแบบกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน จัดอบรมให้ความรู้เพื่อสร้างความเข้าใจ และกำหนดทิศทางการดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายร่วมกัน

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

  • มีการประชุมผู้ปกครองอย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง
  • จัดกระบวนการเรียนรู้ถอดประสบการการเรียนรู้ร่วมกันปีละ 1 ครั้ง
  • ขยายแนวทางการดำเนินงานโครงการสู่ชุมชน โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

การเลี้บงไก่ไข่

ภาพถ่ายการดำเนินการเลี้ยงไก่ และบันทึกการเก็บผลผลิตไข่ในแต่ละวัน

  • เพิ่มปริมาณในการเลี้ยงไก่ไข่ เพื่อเพิมผลผลิต
  • มอบพันธุ์ไก่ให้กับนักเรียนที่มีสภาวะผอม ให้กลับไปเลี้ยงที่บ้าน เพื่อเก็บเก็บไว้รับประทานได้ทุกวัน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

จัดทำโครงการอิ่มท้องมื้อเช้า ไว้บริการให้กับนักเรียนทุกๆเช้า เริ่มให้บริการเวลา 07.00-08.00 น. เมนูอาหารเช้า เช่น ข้าวต้มหมู โจ๊กไก่ ข้าวต้มปลา หรือข้าวผัด

ภาพถ่าย และสมุดลงชื่อบันทึกการรับประทานอาหารทุกวันมีจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

จากผลการดำเนินงานที่ผ่านมา นักเรียนที่รับประทานอาหารเช้าส่วนใหญ่จะมีสมาธิ และสามารถทำกิจกรรมต่างๆ ได้ดีกว่าเด็กที่ไม่กินอาหารเช้า ดังนั้นจึงเน้นให้เรียนทุกคนได้รับประทานอาหารเช้าที่ส่งผลดีต่อทั้งสุขภาพกาย สุขภาพจิต และพลังสมองดีขึ้น

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง พร้อมวิเคราะห์ผลด้วยโปรแกรมติดตามภาวะโภชนาการ ของ ม.มหิดล

บันทึกข้อมูลภาวะโภนาการในระบบติดตามออนไลน์ และแฟ้มเอกบันทึกภาวะโภชนาการตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

นำข้อมูลนักเรียนกลุ่มที่มีภาวะโภชนาการไม่เป็นไปตามเกณฑ์ ต้องมีการติดตามภาวะโภชนาการอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 2/22561 1/12561 2/22562 1/1
เตี้ย 0.54 0.54% 4.64 4.64% 2.52 2.52% 1.90 1.90% 1.90 1.90% 5.04 5.04% 1.02 1.02% 4.65 4.65% 3.94 3.94% 9.32 9.32%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 4.89 4.89% 9.27 9.27% 7.55 7.55% 6.33 6.33% 4.43 4.43% 15.11 15.11% 5.10 5.10% 15.50 15.50% 9.45 9.45% 17.80 17.80%
ผอม 3.26 3.26% 8.61 8.61% 13.21 13.21% 12.66 12.66% 10.13 10.13% 14.29 14.29% 3.06 3.06% 4.55 4.55% 2.36 2.36% 4.24 4.24%
ผอม+ค่อนข้างผอม 9.24 9.24% 15.89 15.89% 22.01 22.01% 24.05 24.05% 18.99 18.99% 27.14 27.14% 8.16 8.16% 10.61 10.61% 9.45 9.45% 15.25 15.25%
อ้วน 2.17 2.17% 4.64 4.64% 0.63 0.63% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 2.14 2.14% 2.04 2.04% 3.03 3.03% 3.94 3.94% 1.69 1.69%
เริ่มอ้วน+อ้วน 4.89% 4.89% 9.27% 9.27% 6.29% 6.29% 4.43% 4.43% 3.80% 3.80% 12.14% 12.14% 11.22% 11.22% 9.09% 9.09% 7.09% 7.09% 6.78% 6.78%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

1.การเกษตรในโรงเรียน ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาคีเครือข่าย ดังนี้ - หน่วยงานต้นสังกัด เทศบาลนครขอนแก่น ให้งบประมาณในการจัดโครงการเรียนรู้นอกห้องเรียน
- สถานีพัฒนาที่ดิน จ.ขอนแก่น สนับสนุนแหล่งเรียนรู้ วิทยากรในการให้ความรู้ในเรื่องการจัดทำปุ๋ยและการปรับปรุงดินให้มีปประสิทธิภาพ
- สำนักงานเกษตร อ.ซำสูง จ.ขอนแก่น สนับสนุนวิทยากรในการและเป็นแหล่งเรียนรู้ในการปลูกผักปลอดสารพิษ
- ชุมชนหนองแวงตราชู ให้ความร่วมมือเข้าร่วมกิจกรรมของทางโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง 2. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัยได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาคีเครือข่าย ดังนี้ - เทศบาลนครขอนแก่น ให้การสนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาบบุคลากร - โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา อ.ลำปลายมาศ จ.บุรีรัมย์เป็นวิทยากรณ์ในการให้ความรู้เกี่ยวกับแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบฐุรณาการ (PBL)

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh